Hormones
Hormones คือสารเคมีท่ส ี ร้างขึ้นมาจาก เซลล์จำาเพาะของต่อมไร้ท่อ (ductless gland) บทบาทต่อร่างกาย : ควบคุม 1. ระบบพลังงานของร่างกาย 2. ปริมาณน้ำา และเกลือแร่ในร่างกาย
คุณสมบัติทั่วๆไปของ hormone
1. ออกฤทธิ ์ > 1 target organ 2. เปล่ย ี นแปลงอัตราการทำางานของเซลล์ตาม process เดิม 3. ออกฤทธิไ์ม่จำากัดเวลา (ชนิดของ hormone) 4. ปริมาณของ hormone ไม่จำากัดจำานวน (ชนิดของ hormone) 5. Protein hormone Steroid hormone
half life สัน ้
half life ยาว
7. Hormone สามารถ - ออกฤทธิต์่อต้านกันเอง (inhibit effect) - ออกฤทธิ ์เสริมกัน (synergistic effect) - ช่วยให้สามารถออกฤทธิไ์ด้ (permissive effect)
8. ขณะท่ีอยู่ท่ีตอ ่ มจะอยู่ในรูปของ prohormone 9. Species specific 10. ในภาวะปกติจะมีอยู่ในภาวะสมดุล 11. จับกับ specific carrier protein
ลักษณะเฉพาะของ endocrine gland
1. ไม่มท ี ่อลำาเลียงสารท่ีสร้างขึน ้ จากต่อม 2. มีเส้นเลือดมาหล่อเลีย ้ งมาก
3. ประกอบด้วยกลุม ่ เซลล์รูปร่างพิเศษแตกต่าง กเซลล์อ่ืนๆ 4. Hormone
Insect Hormones
1. Brain hormone หรือ Prothoracicotropic hormone สร้างจาก Neurosecretory cell เก็บท่ี Corpus cardiacum หน้าท่ี กระตุ้น prothoracic gland 2. Ecdysone หรือ molting hormone สร้างจาก prothoracic gland หน้าท่ี กระตุ้นให้แมลงเกิดการลอกคราบและเจริญต่อไป 3. Juvenile hormone : JH สร้างจาก Corpus allatum
วิธีการศึก ษา
จากสัตว์ทดลองและผู้ป่วยท่เี กิดความผิดป กติของต่อมไร้ท่อ
1. Hyperfunction หรือ Hypersecretion 2. Hypofunction หรือ Hyposecretion
ตัดเอาต่อมใดต่อมหน่ึงออกจากร่างกายแล้วดูกา รเปล่ย ี นแปลง จะทำาให้ทราบถึงหน้าท่ีของต่อมนัน ้ ๆ ได้
ประเภทและคุณสมบัติของฮอร์โมน : 4 ชนิด 1. Peptide hormone; Protein hormone 2. Steriod hormone 3. Amines hormone 4. Glycoprotein
Peptide hormone; Protein hormone
Peptide hormone มีคุณสมบัติคอ ื : 1. สร้างและเก็บไว้ในต่อมท่ส ี ร้างในรูปของ granule 2. ขนส่งทางกระแสโลหิต โดยไม่จับกับ plasma protein 3. ระดับของฮอร์โมนไม่คงท่เี ปล่ียนแปลงอย่างรวดเ ร็ว 4. มี half life สัน ้ ประมาณ 5-10 นาที 5. ไม่ผ่านเข้าเซลล์อวัยวะเป้ าหมาย แต่มี receptor
2. Steriod hormone
Steroid hormone มีคุณสมบัตค ิ ือ : 1. ไม่ถูกเก็บไว้ในต่อมท่ส ี ร้าง 2. ถูกขนส่งทางกระแสโลหิต โดยจับแน่นกับ protein ใน plasma 3. ระดับของ hormone ค่อนข้างคงท่ี 4. มี half life นานเป็ นชั่วโมง 5. เข้าไปในเซลล์ได้ และออกฤทธิโ์ดยไม่ผ่าน cAMP
3. Amines hormone
amino acid มาเช่ ือมกันโดยตัดเอา carboxyl group ออก : ฮอร์โมนในกลุ่มนีไ้ด้แก่ Catecholamine & thyroxine
คุณสมบัติมีคุณสมบัติคือ :
1. หลั่งออกมาเป็ น storage granule 2. ถูกขนส่งทางกระแสโลหิต บางชนิดจับกับ plasma protein (thyroxine) บางชนิดไม่จับกับ plasma protein (catecholamine) 3. ระดับของฮอร์โมนไม่แน่นอน 4. การออกฤทธิบ ์ างตัวก็ผ่าน c-AMP บางตัวก็จับกับ receptor nucleus
4. Glycoprotein hormone มี carbohydrate เป็ นองค์ประกอบของโมเลกุล ซ่งึ เป็ นส่วนท่แ ี สดงบทบาทของฮอร์โมน ฮอร์โมนกลุ่มนีไ้ด้แก่ Gonadotrophine (FSH, LH, HCG & TSH)
กลไกการออกฤทธิข์อง hormone
1. ออกฤทธิท ์ ่ผ ี นังเซลล์ : peptide & amine hormone 2. ออกฤทธิท ์ ่ย ี ีนส์ในนิวเคลียส : steroid
การควบคุมการสร้างและการหลั่ง hormone 1. Feed back : การท่ีอวัยวะเป้ าหมายสร้างสารขึน ้ มากระตุ้นหรือยับยัง้การทำาง านของต่อมไร้ท่อให้หลัง่ hormone มากขึน ้ หรือน้อยลง แบ่งได้เป็ น - Negative feedback : ยับยัง้ - Positive feedback : กระตุ้น 2. การควบคุมทางประสาท -- ทางตรง ถูกกระตุ้นโดยระบบประสาท ทางอ้อม (Hypothalamus neurohormone) (posterior pituitary gland, adrenal medulla) 3. โดยสารอ่ ืนๆ ในกระแสเลื อง่ดท่ีไม่ใช่ hormone ควบคุมการหลั ระดับน้ำาตาลในเลือด ระดับ Ca2+
insulin, glucagon parathormone, calcitonin
ต่อมไร้ท่อและ hormone ของร่างกาย 1. Hypothalamus สร้างและหลัง่ hormone 2 ชนิด : - Releasing hormone - Inhibiting hormone 2. Pituitary gland or Hypophysis : 2 ส่วน
2.1 Anterior pituitary gland หรือ adenohypophysis : - ACTH (Adenocorticotrophic hormone; corticotropin) - TSH (Thyroid stimulating hormone; Thyrotropin) - FSH (Follicle stimulating hormone) - LH (Luteinizing hormone) or ICSH (Interstitial cell stimulating hormone)
- LTH (Luteotrophic hormone; Prolactin) - MSH (Melanocyte stimulating hormone) - GH (Growth hormone) 2.2 Posterior pituitary gland ; Neurohypyphysis : - Oxytocin - Vasopressin or Antidiuretic hormone; ADH 3. ตับอ่อน (Pancreas) : - Insulin - Glucagon 4. ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) : 2 ส่วน 4.1 เปลือกต่อมหมวกไต (Adrenal cortex) : 3 ชัน ้ - Zona glomerulosa สร้าง Aldosterone & Mineralocorticoid - Zona reticularis : Sex hormone (estrogen, progesterone &
4.2 ส่วนในของต่อมหมวกไต (adrenal medulla) : - Catecholamine : adrenalin; Epinephrine & Noradrenalin; Norepinephrine
5. Thyroid gland : 2 ชนิด - Thyroxine : Triiodothyroxine (T3) & Tetraiodothyroxine (T4) - Thyrocalcitonin 6. Parathyroid gland : Parathormone (PTH) 7. Ovary & Testis : - Ovary : estrogen & progesterone - Testis : Testosterone 8. Pineal gland : Melatonin
Anterior pituitary gland หรือ adenohypophysis 1. ACTH, MSH & LPH เป็ นกลุ่ม polypeptide 2. GH & Prolactin เป็ นกลุ่มท่ีเรียกว่า Somatomamotrophin 3. LH, FSH & TSH (LH & FSH เป็ นกลุ่มท่เี รียกว่า gonadotrophin hormone
การควบคุมการหลัง่ ฮอร์โมน
บบประสาท โดยผ่านทาง hypothalamus สร้างสาร neurohor น้าท่เี ป็ น releasing hormone หรือ inhibiting hormone
Neurohormone /Hypothalamic factor • CRH (corticotropin releasing hormone) กระตุ้นการหลั่งของ ACTH • TRH (thyrotropin releasing hormone) กระตุ้นการหลั่งของ TSH • LRH (luteotropin releasing hormone) กระตุ้นการหลัง่ ของ LH • FRH (FSH releasing hormone) กระตุ้นการหลั่งของ FSH
• PRH (prolactin releasing hormone) กระตุ้นการหลั่งของ prolactin • PIH (prolactin inhibiting hormone) ลดการหลัง่ ของ prolactin
• MRH (melanocyte hormone releasing hormone) กระตุ้นการหลั่งของ MSH • MIH (melanocyte hormone inhibiting hormone) ลดการหลั่งของ MSH • GRH (growth hormone releasing hormone) หรือ SRH (somatotropin releasing hormone) กระตุ้นการหลั่งของ GH
2. Negative feedback control : การควบคุมโดยการส่ ือกลับไปยับยัง้ Anterior pituitary gland หลั่ง Trophic hormone ยับยั ้ กระตุ้ ง Targetนorgan Hormone
ความผิดปกติของ Anterior pituitary gland
ต่อมทำางานน้อยกว่าปกติ (Hypopituitarism) : แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1. pituitary gland โดนทำาลาย หรือเซลล์ท่ีสร้าง hormone ขาดหายไป สาเหตุท่พ ี บบ่อยคือ - Sheehan’s syndrome : พบในผู้หญิงท่ีมีการเสียเลือดอย่างมาก และเกิดความดันโลหิตต่ำาระหว่างหรือหลังการคลอดบุต ร - Pituitary tumor 2. pituitary gland ขาดการกระตุน ้ โดย releasing factor จาก
Posterior pituitary gland ; Neurohypyphysis : 1. Oxytocin / picocin :- ออกฤทธิท ์ ่ก ี ล้ามเน้ือเรียบของมดลูก และเต้านม หน้าท่แ ี ละบทบาท
1) ช่วยในการคลอดลูก โดยกระตุ้นการหดตัวของกล้ามเน้ือเรียบของมดลูก (uterine contraction) เพ่ อ ื ขับเด็กออกมา 3) ในเพศชาย hormone นีช ้ ่ว(milk ยในการหลั 2) ช่ วยในการหลั ่งน้ำานม ejection) : ่งน้ำากาม (semen) และเร่งการเคล่ อ ื นท่ข ี องตัวอสุจิในมดลูก 2. Vasopressin ; Antidiuretic hormone (ADH)
- ควบคุมสมดุลของน้ำาในร่างกาย ถ้าฮอร์โมน ADH เพ่ิมขึน ้ น้ำาจะถูกดูดกลับ เพ่ิมขึน ้
milk ejection ลูกดูดนม ปลายประสาทท่ห ี วั นมถูกกระตุน ้ หลั่ง hormone
ส่งสัญญ าณ
Hypothalamus
ตุ้นการหดตัวของกล้ามเน้อ ื เรียบของ myoepithelial cell ท่ี อบๆ ท่อน้ำานมของต่อมน้ำานม ทำาให้บีบเอาน้ำานมออกมาเข้าป
การควบคุมการหลั่ง oxytocin
1. การดูดนม (suckling reflex) ทำาให้เกิดการหลัง่ น้ำานมเป็ น reflex ทำาให้เกิดคล่ ืน ประสาทผ่าน sensosy nerve ไปยัง hypothalamus การหลั่ง Sympathetico adrenal system น้ำานม ถูกยับยัง้ กระตุ้น Oxytocin กระตุ้นต่อมน้ำานมไม่ได้ ภาวะเครียด แอลกอฮอล์ progesterone estrogen
หลอดเลือดบีบตัว ยับยัง้การหลั่ง Oxytocin กระตุ้นการหลั่ง Oxytocin
2. Neuroendocrine reflex :
เด็กดูดหัวน ม กระตุน ้ Touch receptor (บริเวณทรวงอก) ผ่านกระแสประ สาท
กระตุน ้ paraventricular nucleus
หลั่ง oxytocin : กระตุน ้ การหลั่งน้ำานม 3. ด้านจิตใจ เช่น เด็กร้องจะสามารถกระตุน ้ การหลั่ง oxytocin
Hormone ท่ค ี วบคุม carbohydrate metabolism : 2 พวก 1. Hypoglycemic group : insulin (ทำาให้ระดับน้ำาตาลในเลือดต่ำา) 2. Hyperglycemic group : glucagon, GH, cortisol, epinephrine & thyroxine (ทำาให้ระดับน้ำาตาลในเลือดสูง)
Insulin - มีผลต่อตับ กล้ามเน้ือลาย และเน้ือเย่ อ ื ไขมัน - ทำาให้ระดับน้ำาตาลในเลือดลดลง
หน้าท่ข ี อง Insulin 1. blood glucose ต่ำา โดย Glucose
เซลล์ตา่ ง ๆ
ื ) insulin (ตับ &กล้ามเน้อ 2. ช่วยสร้าง glycogen (glucose glycogen) (Glycogenersis) Glycogen synthetase 3. ช่วยในการสร้าง protein (proteogenesis) จาก amino acid
insulin amino acid proteogenesis protein synthetase
protein
หน้าท่ข ี อง Insulin 4. ช่วยในการสร้าง lipid insulin
fatty acid (ในตับ & เน้ือเย่ อ ื ไขมัน)(lipogenesis) fattyacidsynthetase
lipid
การควบคุมการทำา งาน : กระตุน ้ การหลั่
ง1.:ระดับน้ำาตาลในเลือดท่ีสูง
2. Hormone บางชนิด เช่น secretin, Pancreozymin, gastrin, cholecystokinin จาก ลำาไส้, glucagon, cortisol, growth hormone & sex hormone
ยับยัง้การหลั่ง : 1. ระดับน้ำาตาลในเลือดท่ีต่ำากว่าปกติ 2. ภาวะเครียด
3. Acetylcholine, epinephrine & Nor-epinephrine ** Insulin ส่วนใหญ่ถูกทำาลายท่ีตับ
ภาวะความผิด ปกติ Insulin น้อย ทำาให้เกิดเบาหวาน โรคเบาหวาน (Diabetis mellitus) Glucose เข้าเซลล์ไม่ได้
ขับออกมากับปั สสาวะ
glucosuia
Hyperglycemia
Blood glucose
- โรคเบาหวาน ทำาให้ metabolism ของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมันผิดปกติ - เซลล์ขาดพลังงาน เพราะไม่สามารถขนส่งน้ำาตาลให้เซลล์นำาไปใช้ได้ ร่างกายจึงพยายามเพ่ม ิ น้ำาตาลโดยโดยการกินอาหารมา
การรักษาโรคเบาหวาน 1. โดยการให้ insulin เพ่ ือลดระดับน้ำาตาล 2. ควบคุมอาหารให้มีคาร์โบไฮเดรตคงท่ี 3. ให้ยาเพ่ อ ื กระตุน ้ เซลล์ให้หลั่ง hormone & เก็บกลูโคสได้ดีขึน ้ ## insulin มาก ทำาให้การดึงกลูโคสเข้าเซลล์ดีขึน ้ แต่น้ำาตาลในเลือดต่ำา ทำาให้หวิ บ่อย ร่างกายอ่อนเพลีย สมองขาดน้ำาตาลทำาให้การทำางานลดลงหรือเสียไปใน บางส่วน และทำาให้ร่างกายอ้วนมากเพราะทานน้ำาตาลมากผิดป
Glucagon Glucagon : cell of islets of langerhans (pancreas) หน้าท่ี 1. Blood glucose สูง ( glycogen 2. กระตุน ้ การสลาย protein amino acid glucose
glucose)
3. กระตุน ้ การสลาย lipid (lipolysis) ในตับหรือเน้ือเย่ อ ื ไขมัน - ส่งเสริมการทำางานของ lipase ทำาให้ได้กรดไขมัน อิสระออกมา (free fatty acid )
การควบคุมการ ทำางาน :
1. ระดับน้ำาตาลในเลือดท่ส ี ูงจะไปยับยัง้เซลล์ให้ลดการหลั่ง glucagon
ด & pancreozymin กระตุ้นการหลั่ง glucagon 2.ภาวะความผิ Amino acid, exercise ปกติ Glucagon : น้อย มีผลต่อร่างกายน้อยมาก แต่ถ้ามากทำาให้ระดับน้ำาตาลในเลือดสูง ทำาให้เป็ นโรคเบาหวานได้
Thyroid hormone - เป็ นต่อมไร้ท่อท่ใี หญ่ท่ส ี ุด และเก็บ hormone ไว้ได้มากท่ส ี ุด - มีเลือดมาเลีย ้ งในปริมาณท่ีสูง - มี 1 คู่ ฝั งอยู่บริเวณคอด้านหน้า - ประกอบด้วยถุง follicle จำานวนมากเพ่ อ ื เป็ นท่เี ก็บ hormone - hormone ท่ส ี ร้างเป็ น iodothyroxine ประกอบด้วย Tetraiodothyroxine, thyroxine;(T4) & Triiodothyroxine (T3) - hormone นีเ้ก็บไว้ในต่อม
หน้าท่ี Thyroid hormone
1.จำาเป็ นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายทัว่ๆไป 2. ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารต่างๆในร่างกาย การผลิตความร้อนและ ใช้พลังงานทำาให้เกิดความอบอุน ่ แก่ร่างกาย (calorigenesis) เพ่ ือปรับตัวให้เข้า กับความร้อนหนาว และกระตุ้นการใช้ O2 เพ่ม ิ ขึน ้ 3. กระตุ้นทุกขัน ้ ตอนของ carbohydrate metabolism 4. ลดการสร้างไขมันและ cholesterol ในเลือด เพ่ม ิ lipolysis 5. เพ่ิมความต้องการ vitamin & coenzyme
การควบคุมการทำาง าน 1. TSH มีผลต่อการสร้างและหลั่ง 2. ระดับ T3 และ T4 ภาวะผิดปก 1. Nontoxic ติ goiter : เกิดคอหอยพอก (goiter) hormone ต่ำา,
ก ระตุ้ น
TSH
ภาวะผิดปก 2. Hyperthyroidism : thyroid hormone มาก ติ - อัตราการเผาผลาญอาหารในร่างกายสูงขึน ้ ทำาให้ผลิตความร้อนในร่างกายมากเกินไป อ่อนเพลีย เหน่ ือยง่าย กินจุ นน. ลด เด็กจะโตช้า หายใจเร็วแรง มือและใจสัน ่ ไวต่อส่งิ เร้า นอนไม่หลับ ตกใจง่ า ย อาจมี อ าการตาโปน การรัก ษา - ผ่าตัดเอาเน้ือของต่อมท่ี active ออกเสียบ้าง - ฉายแสง เพ่ ือทำาลายเซลล์ของต่อม - ใช้ยาเพ่ อ ื ขัดขวางการสร้าง thyroid hormone
ภาวะผิดปก 3. Hypothyroidism : thyroid hormone น้อย ติ
- อัตราการเผาผลาญอาหารในร่างกายลดลง - ในเด็กเรียก Cretinism (ปั ญญาอ่อน) ร่างกายเตีย ้ แขนขาสัน ้ ผิวหยาบ ผมบาง พุงย่ น ื ฟั นขึน ้ ช้า - ในผู เรียลิกน Myxedema : อ่อนเพลียนไม่ เหน่ ื ยได้ ยง่าย กล้ามเน้ อ ื ไม่้ใหญ่ มีแรง ้ ใหญ่ ทนอากาศเย็ คอ ่อ เฉ่ อ ื ยชา เซ่ อ ื งซึม นน. เพ่ม ิ ชาตามตัว ใบหน้าและลำาตัว ผิวหน้าแห้ง ประจำาเดือนผิดปกติ ไม่ชอบอากาศเย็น ผมและขนร่วง สติปัญญาเช่ อ ื งช้า ทนอากาศหนาวไม่ได้ ## การรั ก ษา โดยการให้ hormone ลด heart rate & cardiac output
Growth Hormone (GH) GH or Somatotrophic hormone (STH) : Ant. Pituitary gland ระดับ GH จะเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับ growth rate
หน้าท่ีและบทบาท 1. กระตุ้นให้เซลล์เพ่ิมการสังเคราะห์ protein & เร่งการส่งผ่านของ amino acid เข้าสู่เซลล์ 2. ลดการสะสมไขมัน และนำาไขมันมาใช้เป็ นพลังงานโดยการส่งเสริมการเผาผลาญ อาหาร ไขมันและเน้ือเย่ ือไขมัน 3. ลดการใช้ carbohydrate โดยใช้ไขมันแทน 4. เพ่ิมอัตราการเปล่ียน glycogen ในตับไปเป็ น glucose
Stress
Exercise +
Sex hormone
+ Hypothalamus
Blood sugar +
-
GRH
+ Anterior pituitary GH
Proteogensis Lipolysis Utilization of glucose เคร่ ืองหมาย + แสดงการกระตุ้น แสดงการยับยัง้
Blood sugar -
ภาวะผิดปก ติ
GH มากเกินไป ทำาให้ร่างกายใหญ่โตมากผิดปกติ
ในเด็ก เรียก Giantism
GH น้อยเกินไป เรียกว่า Dwarfism
ในผู้ใหญ่ เรียก Acromegary ทำาให้ร่างกายแคระแกรน
Cortisol
เป็ น steroid hormone สร้างจาก adrenal cortex
Adrenal cortex Zonal glomerulosa
Zonal fasciculata
Zonal reticularis
สร้างสารพวก mineralocorticoid ได้แก่ aldosterone ทำาหน้าท่ีควบคุมสมดุลย์ของน้ำา และเกลื อแร่ในร่ างกาย ได้แก่ cortisol สร้ างสารพวก glucocorticoid cortisone และ corticosterone ซ่ึง cortisol มีผลต่อร่างกายมากท่ีสุด ทำาหน้าท่ีควบคุมเมตาบอลึมซึมของโปร ตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน ให้สารพวกฮอร์โมนเพศ ได้แก่ เอสโตรเจน โปรเจสเตอโรน
หน้าท่แ ี ละบทบา ท
1. ทำาให้เกิดการเผาผลาญสารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต 2. เพ่ม ิ การสร้างกลัยโคเจนท่ต ี ับเพ่ม ิ ขึน ้ 3. เร่งขบวนการทำาลายโปรตีน 4. เร้งขบวนการสลายตัวของไขมันจากเน้อ ื เย่ ือไขมัน 5. กระตุ้นการสลายแคลเซียมจากกระดูก 6. กระตุ้นสมองทำาให้สมองไวต่อส่ิงเร้า ทำาให้รู้สึกสดช่ น ื เสมอ นอนไม่หลับ
การควบคุมการ ทำางาน
การหลั่งของ cortisol อยู่ภายใต้การควบคุมของต่อมใต้สมองส่วนหน้า โดยการหลั่ง ACTH มาควบคุมซ่ึงต่อมใต้สมองนีจ้ะควบคุมอีกทีโดย ภาวะความผิ ด Hypothalamus Cushing’s Syndrome
ปกติ
เป็ นอาการท่เี กิดจากระดับ cortisol ท่ม ี ากเกินไป อาจมีสาเหตุมาจาก 1. มีการขยายใหญ่ขึน ้ ของต่อมหรือมีเน้ืองอกในส่วนเปลือ กต่อมหมวกไต
Emotion
Stress +
Drive for diurnal rhythm
+ Hypothalamus
-
Anterior pituitary
-
GRH
+
ACTH
Adrenal cortex Cortisol
เคร่ ืองหมาย + แสดงการกระตุ้น แสดงการยับยัง้
-
อากา ร
Moonface Buffalo hump
ตัดต่อมหมวกไตหรือตัดเน้ืองอกท่ีต่อ ม หรืออาจใช้รังสีแล้วให้ฮอร์โมนทดแท addison’s disease น
การรัก ษา
เป็ นอาการท่ีเกิดจากระดับ cortisol น้อยเกินไป อาจเน่ ืองมาจากเน้ือเย่ ือของ adrenal cortex ถูกทำาลายหรือเส่ อ ื มสภาพจนไม่สามารถจะสร้างฮอร์โมนได้ ทำาให้ ไม่สามารถไปยับยัง้ต่อม pituitary ให้ลดการหลัง่ ACTH ได้เน่ ืองจากสูตรโครงสร้างของ ACTH คล้ายกับ MSH ให้ ฮ อร์ โ ม การรั ก ษ ทำาให้ผวิ หนังสีเข้มข้น (hyperpigmentation)
อิพิเนฟรีนหรืออะดรีนาลีน (Epinephrine ; Adrenalin) ท่ีมา
จากต่อมหมวกไตส่วนใน (adrenal medulla) ร่างกายฉุกเฉิน ต่ น ื เต้น เครียด ต่อสู้
ตกใจ หลัว หิว กระหาย เจ็บปวด หลั่งเม่ ื อ ผลต่อร่างกา ผลต่อเมตาบอ ย ลึซึม 1. เร่งขบวนการทำาลายกลัยโคเจน
2. เร่งการใช้กลูโคส และเพ่ิมการใช้ออกซิเจนของกล้ามเน้ือและเน้ือเย่ ือไขมัน 3. เร่งการทำาลายเน้อ ื เย่ อ ื ไขมัน 4. เพ่ม ิ กลูโคสในกระแสเลือด
การควบคุมการ ทำางาน ภาวะความผิดปก ติ
โดยระดับน้ำาตาลในเ ลือด
เกิดจากหลั่งฮอร์โมนนีม ้ า กเกินไป อาการ : ปวดศรีษะ ใจสั่น หัวใจเต้นเร็วและแรง ความดันโลหิตสูง เหน่ อ ื ย เพลีย น้ำาหนักลด มือสั่น ม่านตาขยาย มีการทำาลายกลัยโคเจนใน Pheochromocytoma
ตัการรั บเพ่ิมกขึษ น ้ ทำาให้ระดัผ่บาตั น้ดำาตาลในเลื อดสูง อใช้ยายับยัง้ผ เอาต่อมออกหรื ลของฮอร์โมน า
Parathyroid Hormone : PTH
เป็ นต่อมไร้ท่อท่เี ล็ กท่ส ี ุด
หน้าท่แ ี ละบท ควบคุมระดับแคลเซียมในร่างกาย บาท สูงขึน ้ การควบคุมการหลั่งฮอร์ โมน กระตุ้น ++ Blood Ca Parathyoid gland PTH
ภาวะความผิด ปกติ
Hypoparathyroidism Hyperparathyroidism
Hypoparathyroidism คือ การขาดฮอร์โมน เกิดจากการตัดต่อมธัยรอยด์ออกแล้วเอาต่อมพาราธัยรอ ยด์ ออกด้วย ทำาให้ระดับแคลเซียมในเลือดลดลงทันที ให้ดแปกติ คลเซี ยมพร้อมกับวิตามิามเน้ นดี อ ทำการรั าให้เกิกดอาการผิ ทางประสาทและกล้ ื
ษา เพ่ อ ื เพ่ม ิ การดูดซึมแคลเซียม Hyperparathyroidism
คือ การท่ีหลั่งฮอร์โมนมากเกินไป ทำาให้ระดับแคลเซียมในเลือดสูงขึน ้ (hypercalcemia) ระดับฟอสเฟตต่ำา (hypophosphatemia) ก ตัดวต่ อมท่ี active เกิการรั ดจากการสลายตั ของกระดู ก
ษา
ออก
Thyrocalcitonin : CT สร้างจาก
para follicular cell หรือ C-cell ในต่อมธัยรอยด์
หน้าท่แ ี ละบทบาท รักษาสมดุลของแคลเซียมโดยลดระดับแคลเซียมท่ีสูงเกิน การควบคุม
ระดับแคลเซียมท่ส ี ูงขึน ้
ภาวะความผิดปกติ ไม่ค่อยพบ ส่วนใหญ่เกิดจากการหลั่งมากเกินไป เน่ อ ื งจากเน้ืองอกของต่อมธัยรอยด์
การควบคุมระดับแคลเซียมในพลาสมา โดย PTH และ Calcitonin PTH
Blood Ca++
Parathyroid gland
Thyroid gland C-cell
Blood Ca++
Calcitonin
Aldosterone
หน้าท่ี
การควบคุม ภาวะผิดป กติ
สร้างจาก Zonal glomerulosa 1. เพ่ิมการดูดกลับของแคลเซียม 2. เพ่ิมการดูดกลับของ Cl3. เพ่ิมการขับ K+ และ H+ ออกท่ี distal tubule 4. เพ่ิมปริมาตรของเลือดในร่างกาย
ระดับ Na K และ ACTH ในเลือด Addision’s disease เกิดจากการขาดฮอร์โมน ทำาให้เกิดความไม่สมดุลของเกลือแร่
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive system) ระบบสืบพันธุ์เพ อัณฑะ ศชาย interstitial cells หน้าท่ี 1. สร้างสเปิ ร์ม (spermalogensis) 2. สร้างและหลั่ง testosterone
Testosterone
- เป็ นสเตียรอยด์ฮอร์โมน - สร้างโดย Leydig cells - ควบคุมโดย LH จากต่อมใต้สมอง - หน้าท่ี ควบคุมการแสดงลักษณะเพศช
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive system) ระบบสืบพันธุ์เพ อัณฑะ ศชาย interstitial cells หน้าท่ี 1. สร้างสเปิ ร์ม (spermatogensis) 2. สร้างและหลั่ง testosterone
Testosterone
- เป็ น steroid hormone - สร้างโดย Leydig cells - ควบคุมโดย LH จากต่อมใต้สมอง - หน้าท่ี ควบคุมการแสดงลักษณะเพศช
ระบบสืบพันธุ์เพศ หญิง รังไข่
ผลของ Estrogen
สร้าง Estrogen สร้าง Progesterone
1. กระตุ้นการเจริญเติบโตของถุงไข่อ่อนและผนังมดลู ก และทำาให้กล้าม เน้ือมดลูกมีความไวต่อการกระตุ้นต่อฮอร์โมน Oxytocin 2. ทำาให้มีความรู้สก ึ ทางเพศ
ผลของ Progesterone 1. ทำาให้ผนังมดลูกหลั่งสารต่าง ๆ ซ่งึ จะเตรียมมดลูกให้อยู่ในสภาพท่ี เหมาะสมสำาหรับการฝั งตัวของตัวอ่อน 2. กระตุ้นให้ผนังของท่อรังไข่ปล่อยสารต่าง ๆ รวมทัง้อาหารมาเลีย ้ งไข่ท่ี ถูกผสมแล้วและกำาลังเคล่ ือนท่ล ี งสูม ่ ดลูก 3. กระตุ้นการเจริญของเต้านม แต่ไม่มีผลต่อการผลิตน้ำานม
4. มีผลในการเพ่ม ิ อุณหภูมิร่างกาย
การควบคุมการทำางานของรั งไข่
1. การเจริญของไข่ขึน ้ อยู่กับ follicle stimulating hormone (FSH) 2. FSH และ luteinizing hormone (LH) มีผลทำาให้ไข่สก ุ 3. LH ท่ห ี ลั่งออกมาในปริมาณมากทำาให้เกิดการตกไข่แล ะเกิด corpus luteum