Food Poisoning Guideline 2008: Chapter3

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Food Poisoning Guideline 2008: Chapter3 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,747
  • Pages: 12
บทที่ 3 การรักษาภาวะอาหารเปนพิษในเด็ก หลักการรักษาสวนใหญคลายคลึงกับการรักษาในภาวะอุจจาระรวงเฉียบพลันในเด็กแตมีขอบางประการ ที่ควรระมัดระวัง ในการรักษาภาวะขาดน้ําดวยการใหรับประทานสารละลายน้ําตาลเกลือแร เนื่องจากภาวะ อาหารเปนพิษ สวนใหญมีระยะฟกตัวสั้น (ประมาณ 6 - 12 ชั่วโมง) มีอาการอาเจียนบอยเปนอาการนําและตาม ดวยถายอุจจาระเปนน้ําหรือเปนน้ําพุง (มีเพียงสวนนอยที่ถายเปนมูกหรือมูกเลือด) ทําใหผูปวยมักมีภาวะขาดน้ํา มากและรุนแรงเกิดขึ้นไดเร็วและงาย ในขณะเดียวกันภาวะอาเจียนบอยจะเปนอุปสรรคในการรักษาที่จะทําให ผูปวยไดรับสารละลายน้ําตาลเกลือแรทางปากไมไดเต็มที่จึงควรปฏิบัติดังนี้

n การให Oral rehydration therapy (ORT) ตามที่ในเด็กอายุนอยกวา 2 ป โดยใหชอนตักปอนทุก 1 - 2 นาที และในเด็กอายุมากกวา 2 ป ขึน้ ไป ใหใชจิบบอยๆจากแกวน้ําไดนนั้ เมื่อผูปวยมีภาวะอาเจียนบอย ควรให 1 ครั้ง แลวหยุดพักประมาณ 5 - 10 นาที แลวใหรับประทานใหมชาๆ บอยๆ หรือให ORS ผสม น้ําอัดลม (Sprite) แชเย็น จะชวยลดภาวะอาเจียนลงไดบาง

o ถาปฏิบัตดิ ังวิธขี อ n ไมไดผล ควรให ORT หลังเด็กไดรับยาแกอาเจียนแลว 30 - 45 นาที (การให ยากันอาเจียน อาจใชรับประทาน, เหน็บทางทวารหนักหรือการฉีด ทั้งนีข้ ึ้นอยูต ามความเหมาะสมของบุคลากร การแพทยที่ใหการรักษาจะพิจารณา)

o ถาปฏิบตั ดิ ังวิธีขอ o ไมไดผล ควรใหสารน้ํา - เกลือแรทางหลอดเลือดทันที ถาผูปวยอยูที่บาน ควรแนะนําใหบิดามารดาหรือผูดูแลเด็กใหหาเด็กไปรับสารน้ํา - เกลือแรทางหลอดเลือด จากสถานพยาบาลที่ ใกลบานที่สุดเพื่อปองกันการขาดน้ํารุนแรง ถาสามารถใส Nasogastric tube ไดควรใสและใหสารละลาย น้ําตาลเกลือแร drip ทาง NG-tube ระหวางนําสงโรงพยาบาล (หรือ ใชวิธีขอ n (ถาเด็กรูตวั ดี) ขณะนําสง โรงพยาบาล เพื่อลดความรุนแรง)

หลักการรักษาภาวะอุจจาระรวงเฉียบพลัน 4 ประการ 1. การปองกันและการรักษาภาวะขาดน้ํา 2. การปองกันภาวะทุโภชนาการ โดยเลือกชนิดอาหารที่เหมาะสมใหแกเด็กปวยระหวางที่มีอาการ อุจจาระรวง และหลังจากหายแลว 3. การใหยาปฏิชีวนะ, ยาตานอุจจาระรวง, ยาตานพิษ (antitoxin) และยาอื่นๆที่รักษาตามอาการ เชน อาเจียน, ทองอืด, ปวดทอง, มีไข เปนตน

4. ใหความรูด า นปองกันการเกิดอาหารเปนพิษกับญาติหรือผูดูแลเด็กทั้งเด็กยังนอนรักษาอยูใน โรงพยาบาล หรือกอนออกจากโรงพยาบาล ทั้งนี้เพราะการใหความรูปองกันกับผูก ําลังประสบปญหา นอกจาก จะมีความสนใจเปนอยางดีแลวยังทําใหมีการปฏิบัติไดดอี ีกดวย

การประเมินระดับความรุนแรงของการขาดน้ําที่แสดงทางคลินิกกอนใหการรักษา ระดับความรุนแรง

ไมขาดน้ํา (≤ 5%)

ขาดน้าํ บาง (6-9%)

ขาดน้าํ รุนแรง (≥10% )

อาการทั่วไป

ปกติ

งอแง, กระสับกระสาย

ซึม, ไมรูตัว, ตัวออน

กระหมอมหนา

แบน

บุม

บุมมาก

ขอบตา และน้าํ ตา (ถา

ปกติ

ขอบตาลึก น้ําตาลดลง

ขอบตาลึกโหล, ไมมีน้ําตา

ปากและลิ้น

เปยกชืน้

แหง

แหงผาก

อาการกระหายน้ํา

ดื่มปกติ ไมหิวน้ํา

กระหายน้ําตลอดเวลา

ดื่มน้ําไดนอยหรือดื่มไมได

ความยืดหยุน ของผิวหนัง จับตั้งจะคืนลงเร็ว

จับตั้งคืนลงในชวง 2

จับแลวยังตั้งอยูนานเกิน > 3

วินาที

วินาที

รองไห)

กฎ 3 ขอ หลักสําคัญของการรักษาภาวะอุจจาระรวงเฉียบพลัน กฎขอที่ 1 Early ORT Oral Rehydration Therapy (ORT)

¾ เพื่อปองกันการขาดน้ําทีย่ ังไมแสดงออกใหเห็นทางคลินิก แมจะมีประวัติ การสูญเสียน้ําเกลือแร จากอาเจียนหรืออุจจาระรวง ¾ เพื่อแกไขภาวะขาดน้ําทีแ่ สดงออกใหเห็นทางคลินิกแลวแตยังไมรนุ แรงก ¾ ในรายที่มีภาวะขาดน้ํารุนแรงแลวตองใหสารน้ําเกลือแรทางหลอดเลือด แตถาในระหวางเดินทางไปสถานพยาบาล ถาผูปวยรูสึกตัวดีก็ให ORT ระหวางทางไปไดเพือ่ ลดความรุนแรงลงไดบาง

กฎขอที่ 2 Continue feeding ปองกันการขาดอาหาร โดยไมงดอาหารระหวางมีภาวะอุจจาระรวง (ถาไมมี ขอหามเชน อาเจียนบอย, ทองอืด เปนตน) เพียงแตเลือก ชนิดของอาหารและวิธีการใหใหเหมาะสมกับการทํา หนาที่ของทางเดินอาหารไดดีมากนอยเพียงไร

กฎขอที่ 3 Notified case for referring to Health care center

พิจารณาผูปวยที่ควรจะตองสงไปรักษาที่สถานพยาบาล ใหถูกตองและไมลาชา เชน ผูปวยได ORT แลวยังมีอาการออนเพลียจากถายเปนน้ําทุก 2 ชั่วโมง, อาเจียนบอยรับ ORT ไมไดดี เปนตน หรือ ผูป วยมีไขสูง, ถายเปนมูก หรือมูกเลือด ฯลฯ

X การรักษาภาวะขาดน้ําในภาวะอาหารเปนพิษในเด็ก ที่มีภาวะขาดน้ํา (< 5% - 10%) ระดับความรุนแรง

ไมขาดน้ํา (< 5%)

ขาดน้าํ บาง (6-9%)

อาการทั่วไป การหมอมหนา ขอบตา และน้าํ ตา (ถา รองไห) ปากและลิ้น อาการกระหายน้ํา ความยืดหยุน ของผิวหนัง

ปกติ แบน ปกติ

งอแง, กระสับกระสาย บุม ขอบตาลึก น้ําตาลดลง

เปยกชืน้ ดื่มปกติ ไมหิวน้ํา จับตั้งจะคืนลงเร็ว

แหง กระหายน้ําตลอดเวลา จับตั้งคืนลงในชวง 2 วินาที

เปาหมาย 1. เพื่อปองกันการแสดงการขาดน้ําใหเห็นไดทางคลินิก 2. ในรายที่มกี ารแสดงอาการขาดน้ําทางคลินิกแลว...ใหลดการเปนความรุนแรง

กฎขอที่ 1 ทดแทนสารน้าํ ทางปาก (Oral rehydration therapy หรือ ORT) ในของเหลวที่มีอยู, เตรียมเอง และ ORS ที่ บาน โดย€ ทดแทนสวนที่เสียไปแลวแบงใหหมดใน 4 ชั่วโมง ปริมาณ....50 - 100 มล./กก. หรือ 2 - 3 ออนซ/กก. (ผูใหญ 40 - 60กก. ให 2 - 3 ลิตร หรือดื่ม ORS 8 - 12 แกว) € ทดแทนที่เสียทางอุจจาระถาย 1 ครั้ง ใหทดแทน อายุ < 2 ป ให 1/4 - 1/2 แกว อายุ 2 - 10 ป ให 1/2 - 1 แกว > 10 ป และผูใหญให 1 - 2 แกว *หมายเหตุ ชนิดของสารน้ําและของเหลว แบงเปน 3 กลุมใหญ คือ 1. ORS (สูตรของ WHO ปจจุบันมีใชอยู 2 ชนิดคือ Standard ORS และ Reduced Osmolar ORS)

ชนิด Standard ORS Reduced Osmolar ORS

Osmolarity (mOsm/L) 311 245

Na+ 90 75

Electrolyte ( m mol/L) K+ Cl Citrate 20 80 10 20 65 10

glucose (mOsm/L) 111 75

2. Commercial oal electrolyte มีจําหนายตามทองตลาดทั่วไป เชน Olite, Oreda, Infanalyte, Pedialyte ect. สวนใหญมี Na ประมาณ 40 - 60 มิลลิโมล/ลิตร 3. Home solution เชน น้ําขาวใสเกลือ RWS (rice water Solution),สารละลายเกลือน้ําตาล SSS (salt sugar solution ), ซุบ, น้ําผลไม, น้ําอัดลมไมมีสี

กฎขอที่ 2 ปองกันการขาดอาหารไมงดอาหาร - กินนมแมใหดดู บอยขึ้น - กินนมผสม ใหนมผสมตามปกติ แตใหปริมาณครึ่งเดียวของนม 1 มื้อ สลับกับORS และอีกครึ่งที่เหลือ ทุก 2 ช.ม. - ทารกอายุ > 4 - 6 เดือนปอนอาหารเหลว พวก ขาวตม โจก ใสเนื้อสัตว กินเพิ่มอีก 1 มื้อ - เด็กโตและผูใหญใหกินอาหารออนเพิ่มอีก 1 มื้อ อาหารในชวงอุจจาระรวง - กินนมแมตอไป ใหอาหารเพิม่ ขึ้น 1 มื้อ - ขาวตมใสน้ํามากหนอย เติม เกลือ เนื้อสัตว - น้ํามะพราวออน น้ําสมคั้นใหไดโพแทสเซียม - ไมยอมกิน ORS กินแลวอาเจียน ใหแชเย็น น้ําอัดลมไมมีสีใสเกลือ เติมน้ําเทาตัว การประเมินการรักษาดวยสารน้ําทางปาก - ประเมินพฤติกรรมเด็กดีกวาอุจจาระ เชน กินได นอนหลับได ตื่นขึน้ มาเลนไดดี - เจาหนาทีใ่ หดอู าการแสดงของภาวะขาดน้าํ เชน ปสสาวะ 1 - 2 มล./กก./ชม., อุจจาระ ความถี่และปริมาณ

กฎขอที่ 3 ไปรักษาที่สถานบริการ - ไมยอมกิน ไมยอมนอน รองปลอบไมนิ่ง - กระหายน้ํา ออนเพลีย ไมถา ยปสสาวะ > 6 ชั่วโมง - กินแลวอาเจียน กินอาหารและดื่มน้ําไมได - มีอาการขาดน้าํ ตาลึกโหล ตองพยุงหรือหาม - ยังคงถายอยูตลอดเวลา หรือ มากกวา 1 ครัง้ ทุก 2 ชั่วโมง - มีไขสูงและหรือถายเปนมูกเลือด ขอปฏิบตั ิในการใหกิน ORS - เด็กอายุ < 2 ป ใหกนิ โดยใชชอ นตักปอน 1 ชอน ทุก 1 - 2 นาที

- > 2 ปขึ้นไป ใหใชแกวน้ําได โดยจิบทีละนอย บอยๆ - ถาอาเจียนใหหยุดพัก ประมาณ 5 - 10 นาที แลวคอนใหกินใหมชาๆ บอยๆ หรือให ORS น้ําอัดลม แชเย็น - ถามีอุจจาระใหทดแทนตามขอที่ 1 - ใหกิน ORS ปริมาณเทาทีก่ ําหนดเทานัน้ หากตองการดืม่ เพิ่มกินน้ําและนมแมไดเพื่อปองกันการ ไดรับเกลือเกินตองการ กินอาหารปกติไดเมื่อไร? เมื่อไรนับวาหาย - จํานวนครั้งอุจจาระเมื่อถายอุจจาระ 6 ครั้งหรือ นอยกวา / วัน - ลักษณะอุจจาระ อุจจาระมีลักษณะนิ่มเปนแทงเหมือนยาสีฟน

Y การแกไขภาวะขาดน้ําดวยการใหน้ําเกลือทางหลอดเลือด (จากขาดน้ํามาก อาเจียนบอย หรือทองอืด ฯลฯ) 2.1. ไม Shock 2.1.1 Severe dehydration (10%) รายการ

Resuscitate

Replacement

Concurrent loss

Duration

2 ชั่วโมง

22 ชั่วโมง

24 ชั่วโมง

ชนิด Fluid

RL, NSS

NSS หรือ NSS 2 3

NSS 3

ปริมาณ

20 มล./กก./ชม.

Deficit + Maintenance

120 - 240 มล./กก/วัน

Deficit ปริมาณคิดตาม Degree ความรุนแรงของการขาดน้ํา เชน 7% ให 70 มก./กก. Maintenance คิดตามสูตร Holiday + Segar เด็กหนัก ≤ 10 กก. คิด 100 มล./กก./วัน เด็กหนัก > 10 กก. คิด 1000 + กก. ที่เกิน 10 x 50 เด็กหนัก > 20 กก. คิด 1500 + กก. ที่เกิน 20 x 20 2.1.2 Moderate dehydration (6 - 9%) หมายเหตุ

รายการ

Resuscitate

Replacement

Concurrent loss

Duration

2 ชั่วโมง

22 ชั่วโมง

24 ชั่วโมง

ชนิด Fluid

RL, NSS

ปริมาณ

10 - 20 มล./กก./ชม.

NSS 3 Deficit + Maintenance

NSS 3 30 - 120 มล./กก./วัน

2.2. ผูปวยใกล shock และ shock รุนแรง - ชนิดของ สารน้ํา เขาทางหลอดเลือด Resuscitate - 0.9% NSS หรือ - Ringer lactate หรือ - Ringer acetate

Replacement fluid เด็ก NSS/2 in D5W + KCl 20 - 40 mmol/L ( ปสสาวะ ออกแลว ) ผูใหญ NSS in D5W + KCl 20 - 40 mmol/L ( ปสสาวะ ออกแลว )

Correction of acidosis NaHCO3 1 - 2 มล./กก./ครั้ง Repeat in 4 - 6 ชม.

- การใหหรือการปฏิบตั ิ ภาวะ Shock 2.2.1. ใกล shock (Impending shock) (Low BP, pulse mess < 20 mmHg Capillary refill > 3 second) 2.2.2. ช็อครุนแรง (Profound shock) ( no pulse in older children and adult)

Line 1 Line 2 Ringer lactate or 0.9% NSS NSS/2 in 5% dextrose rate 40 มล./กก./15 - 30 water, replace stool นาที IV or intravenous loss มล./มล. ชั่วโมง/ ชั่วโมง 10 - 20 มล./ กก./ชม. Ringer lactate or 0.9% NSS NSS/2 in 5% dextrose rate 100 มล./นาที until water replace stool pulse palpable (max 2000 loss มล./มล. มล.) Recover from shock ชั่วโมง/ชั่วโมง ให rate 20 มล./กก./ชม. 1 2 ชม.

Line3 Oral ORS หรือ NG drip 5 มล./กก./ชม. หรือ ตามที่ออกจริง

Oral ORS หรือ NG drip 5 มล./กก./ชม.หรือ ตามที่ออกจริง

การใหอาหารรับประทานระหวางเปนโรคอุจจาระรวง ( early feeding of appropriate foods) การศึกษาในชวง 10 ปที่ผานมา แสดงใหเห็นวาการใช ORT ผสมแปง หรือ glucose polymer ทําใหอุจจาระออกมานอยลง ภาวะโภชนาการของเด็กดีขึ้น ซึ่งลบลางแนวคิดเรื่องการใหลําไสพัก ดวยการงด อาหารทางปาก เมื่อแกไขภาวะขาดน้ําใน 4 - 6 ชั่วโมง การจะใหสารน้ําอีเล็กโทรลัยตทางปากหรือทางหลอด เลือด ก็ควรเริม่ รับประทานอาหารไดดังนี้ I. การใหอาหารภายหลังจากใหสารน้าํ ตาลเกลือแรทางปากแลว 4 ชั่วโมง ดังนี้ 1. ถาเลี้ยงดวยนมแม ใหเด็กดูดนมแมใหมากขึ้น 2. ถาเลี้ยงดวยนมผสม หรืออาหารอื่น ปฏิบัติดังนี้ 2.1 เด็กอายุต่ํากวา 6 เดือน - ใหนมผสมตามปกติ (ไมชงเจือจาง) แตแบงใหเด็กกินครึ่งเดียว(ของมื้อ) สลับกับสารน้ําตามเกลือแร (ORS) อีกครึ่งหนึ่ง ปริมาณเทากับนมที่เคยรับประทานปกติ 2.2 เด็กอายุมากกวา 6 เดือนขึ้นไป - ใหอาหารทีม่ ีประโยชน ซึ่งเตรียมเปนอาหารเหลว ยอยงาย เชน โจก ขาวตมผสมกับผัก เนื้อไกเนื้อสัตวตมเปอ ย ใหเด็กกินระหวางเกิดอุจจาระรวง และเพิ่มใหอาหารเปนอาหาร พิเศษอีกวันละ 1 มื้อ เปนเวลา 2 สัปดาห หลังจากหายอุจจาระรวงหรือจนกวาเด็กจะมีน้ําหนักเปนปกติ - ควรปรับและบดหรือสับอาหารใหละเอียด - พยายามใหเด็กรับประทานอาหารใหไดมากที่สุดเทาทีเ่ ด็กตองการ - ใหกลวยน้ําวาสุก หรือ น้ํามะพราว เพื่อเพิ่มแรธาตุ Potassium II. การใหสารน้ําทางหลอดเลือด ปจจุบันไมแนะนําใหงดอาหาร แตควรใหอาหารเหลวหรือนมแมได แต ถาดื่มนําผสม ใหงดไวกอน ให ORS อยางนอย 1 ออนซ/กก./วัน เปนเวลา 12 ชั่วโมง แลวเริ่มใหนมผสมปกติ ตอไป ในปริมาณที่เทากันอีก 12 ชั่วโมง

การรักษาดวยยา 1 ยาปฏิชีวนะ รับประทาน 3 - 5 วัน เชื้อสาเหตุ Salmonella (Non-typhoid) Shigella Campylobacter jejuni V. parahemolyticus

V. Cholerae

ชนิดของยา Norfloxacin Norfloxacin Furazolidone Erythromycin Norfloxacin Norfloxacin Tetracycline (ถาอายุมากกวา 8 ป) Erythromycin Tetracycline (อายุมากกวา 8 ป) Norfloxacin Doxycycline (อายุมากกวา 8 ป) Ciprofloxacin

ขนาดที่ใช (มก./กก./วัน) 10 - 20 10 - 20 5-8 30 - 50 10 - 20 10 - 20 25 - 50 30 30 - 50 10 - 20 5 10 - 20

2 ยาตานอุจจาระรวง 2.1 ยาลดการเคลื่อนไหว ของลําไส ยากลุม นี้ไมแนะนําใหใชในเด็ก เนื่องจากมีพษิ ตอระบบประสาท ถาใชเกินขนาด ในกรณี invasive diarrhea ที่ถายอุจจาระเปนมูกหรือมูกเลือด จะทําใหเชื้อเขาผนังลําไสไดมาก ขึ้น นอกจากนี้ยานี้มีฤทธิ์ยบั ยั้งการขับเชือ้ ออกไปจากทางเดินอาหาร ทั้งนี้เพราะกลไกที่มีการลําไสบีบตัว เพิ่มขึ้น เปนกลไกธรรมชาติที่รางกายพยายามกําจัดเชื้อโรคออกจากรางกาย จึงทําใหนอกจากมีการคั่งคางเชื้อ โรคในลําไส แลวเด็กอาจมีทองอืด หรือมีไขเพิ่มขึ้นได ยากลุมนี้คือ Loperamide และ Diphenoxalate 2.2 ยาที่ดูดซึมน้ํา (Hydrophilic agent) ยากลุมนี้จะดูดซับน้ําเขามาในตัวยา ทําใหเห็นวาอุจจาระมี เนื้อมากขึ้น แตมีการศึกษาพบวามีการสูญเสียเกลือแรและน้ําไปในอุจจาระมากขึ้น เพราะยานี้ดูดซึมเอาไว เชน Plantago seed และ Polycarbophil 2.3 ยาที่มีฤทธิ์ดูดซึม (Adsorbents) แนวคิดของการใชยากลุมนี้คือยาดูดซึมเชื้อแบคทีเรีย, ไวรัส, สารพิษตางๆ รวมทั้งกรดน้ําดี บางคนเชื่อวายานี้ไปเคลือบเยื่อบุลําไสเปนการปองกันไมใหเกิดอันตรายตอ ลําไส แบงเปน ก. ยาที่มีฤทธิ์ดูดซับทั่วไป (General adsorbents) ก.1 Attapulgite เปน hydrous magnesium aluminum silicate ซึ่งเกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ สามารถดูดซึมน้ําไดถึง 3 เทาของน้ําหนัก เปนยาที่ inert ไมถูกดูดซึมเขารางกาย จึงมีผลขางเคียง

นอยมาก ยานีไ้ มลดปริมาณอุจจาระในวันแรก อาจถายอุจจาระบอยขึน้ แตในวันที่ 2 ทําใหมีการถายอุจจาระ นอยลง และอุจจาระขนขึน้ ก.2 Kaolin และ Pectin kaolin เปน hydrous aluminum silicate อาจใชเปนยา เดี่ยวหรือใชรว มกับ pectin ยานี้ไมดูดซึมเขารางกาย kaolin ทําใหอุจจาระขนขึ้นแตจํานวนครั้ง, น้ําหนัก อุจจาระ หรือการสูญเสียน้ําและเกลือแรไมลดลง kaolin และ pectin ยังจับกับยาอืน่ เปน co-trimoxazole หรือ neomycin ทําใหผลของยาดังกลาวลดลงดวย มีการศึกษาให kaolin พรอมกับ ORS ในเด็กอุจจาระรวง เฉียบพลัน พบวาไมทําใหหายเร็วขึ้นหรือลดความรุนแรง ก.3 Activated Charcoal มีความสามารถในการดูดซึมสูงมากในภาวะอาหารเปนพิษ อาจใชไดแตตอ งระวัง ถาใหพรอมกับยาปฏิชีวนะหรือยาที่รักษาตามอาการอื่น เชน อาการอาเจียน, อาการ ปวดทอง, อาการไขอาจทําใหยาทีใ่ หพรอมกับ activated charcoal ลดการออกฤทธิ์ลงจากที่ถูก activated charcoal ดูดซึมไว แตสําหรับในรายอาหารเปนพิษ จากพิษของเชื้อโรค การใชยานีอ้ าจมีประโยชนไดบาง อยางนอยการลดพิษ และชวยลดแกสในทองได ถึงแมการรักษาภาวะอุจจาระรวงไมแนนอน ข. Ion - exchange resins เปนสารที่มีคุณสมบัติในการดูดซับกรดน้ําดีในลําไส และดูดจับ สารอื่นๆดวยเชนกรดไขมัน ทําใหไมถูกดูดซึมและขับถายออกมาทางอุจจาระไดผลดี เชน คือ Cholestyramine ในรายอุจจาระรวงเกิน 7 วัน จะมีอาการสูญเสียน้ําดี ไปในทางอุจจาระมากกวาปกติ จึงมีการกระตุนใหสราง กรดน้ําดีที่ตับมากขึ้นดวย มีการศึกษาในเด็กที่มีภาวะอุจจาระรวงเฉียบพลัน การให Cholestyramine ทําให ระยะเวลาการถายเปนน้ําสั้นลง ขอเสียของ cholestyramine ถาใหเกินขนาดไปจะทําอุจจาระมีไขมัน (streatorrhea) หรือทําให อุดตันลําไสได นอกจากนีม้ ีการรบกวนการดูดซึมของยาบางชนิด เชน anticoagulant digitalis, barbiturate และ thyroxine 2.4 ยาที่ออกฤทธิ์โดยทําใหมกี ารเปลี่ยนแปลงของ electrolytes transport ยาในกลุมนี้เปนยาที่ใชเพิ่ม การดูดซึมหรือชวยลดการหลั่งน้ําและเกลือแรจากลําไส ไดแกสารละลายน้ําตาล เกลือแร ORS และ cereal based ORS ไดรับการพิสูจนแลววาไดผลดี ทําใหอจุ จาระรวงลดลง และชวยรักษาภาวะขาดน้ําและเกลือแรได ทุกอายุ 2.5 Probiotics เปนยาออกฤทธิ์ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงของ intestinal flora ยากลุมนี้ไดแก lactobacilli bifidobacteria และ yeast ซึ่งมี metabolic product อาจทําใหมีการเปลีย่ นแปลงของ pH ในลําไส นําไปสูการยับยั้งการเจริญเติบโตของ enteropathogen และปองกัน bacterial adherence และ colonization และยังใหกรดไขมันชวงสั้น ซึ่งเปนกําลังแกลําไสใหญ ทําใหการดูดซึมเกลือและน้ําที่ลําไสใหญสมบูรณขึ้น จะไดผลดีในรายที่เกิดอุจจาระรวงเฉียบพลันจากเชื้อ ไวรัสโรตา probiotic เปนยาทีป่ ลอดภัย และไมมี คุณสมบัติรบกวนยาอื่น

3 ยารักษาตามอาการอื่นๆ อาการ อาเจียน

ยา - Domperidone (motilium) - Hydroxyzine dimenhydrinate (Dramamine)

- Metoclopramide (plasil)

ปวดทอง - Dicyclomine hydrochloride (Berclomine)

ทองอืด ไข

-Gastab,Ultracarbon,Air-x - Paracetamol

ขนาด 0.3 มก/กก/ครัง้ รับประทานวันละ 3 - 4 ครั้งกอน อาหาร 0.5 - 0.6 มก/กก/ครั้ง รับประทานวันละ 4 ครั้ง 1.25 มก/กก/ครั้ง วันละ 4 ครั้ง 0.1 ก/กก/ครั้ง (สูงสุด ไมเกิน 0.5 มก/กก/ครั้ง) รับประทาน วันละ 3 - 4 ครั้ง กอนอาหาร อายุ 6 เดือน - 2 ป 5 – 10 มก. 3 - 4 ครั้ง/วัน อายุ 2 - 12 ป 10 มก. 3 ครั้ง/วัน ใหกอนอาหาร 15 นาที มีขนาด 10 มก./5 มล. และ เม็ด 20 มก. 1 เม็ด รับประทานวันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร 10-20 มก/กก/ครั้ง

เอกสารอางอิง 1. วันดี วราวิทย และคณะ แนวปฏิบัติการรักษาโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันในเด็ก ชมรมโรคทางเดิน อาหาร และตับในเด็กแหงประเทศไทย 2544 2. วราห มีสมบูรณ บรรณาธิการคูมือการรักษาโรคอุจจาระรวงและหลักเกณฑการใชยารักษาโรคอุจจาระ รวงเฉียบพลันในเด็ก สําหรับเภสัชกรและบุคลากรสาธารสุข สิงหาคม 2540 3. Word Health Organization : Program for the Control of Diarrhoeal Disease. A manual for treatment of diarrhea : For use by physicians and other senior health workers. WHO/CDD/80;2:1990 4. Hirsch horn N. The treatment of acute diarrhea in children. An historical and physiological perspective. Am J Clin Nutr, 1980; 33:637-663. 5. Hirsch horn N, Kingie JL, Sachar DB, et al. Decrease in net stool output in cholera during intestinal perfusion with glucose electrolyte solution. N. Engl J Med. 1968;279:176-81 6. Pierce NF, Sack RB, Mirta RC, et al. Replacement of water and electrolyte losses in cholera by an oral glucose-electrolyte solution. Ann intern Med. 1996.;70:1173-81 7. Walker-Smith JA, Sandhu BK, Isolauri E. et al. Guidelines prepared by the ESPGAN Working Group on Acute Diarrhea. Recommendations for feeding in childhood gastroenteritis. European Gastroenterol Nutr 1997;24:619-20. 8. Winters RW. Disorder of electrolytes and acid-base metabolism. In HL Barnett (Ed.) Pediatrics (14th ed.) New York. Appleton Century Croft, 1968 9. Holiday MA, Seger WE Maintenance need for water in parenteral fluid therapy. Pediatrics 1957;19:823. 10. Gore SM, Fontaine O, Pierce NF. Impact of rice-based oral rehydration solution of stool output and duration of diarrhoea : meta-analysis of 13 clinical trials. Br Med J. 1992;304:287-91. 11. Pizarro D, Posada G, Sandi L, Moran JR. Rice-based oral electrolyte solutions for the management of infantile diarrhea. M Engl J Med. 1991;324:517-21. 12. Khin Mu, Nyunt-Myunt W. Myokhin AJ, et al. Effect of clinical outcome of breast feeding during acute diarrhoea. Br Med J. 1985; 290:587-9.

Related Documents