Food Poisoning Guideline 2008 : Annex3

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Food Poisoning Guideline 2008 : Annex3 as PDF for free.

More details

  • Words: 2,353
  • Pages: 19
ภาคผนวก 3. ขอมูลสําหรับผูบริโภค เพื่อใชประโยชนในการใหคําแนะนําประชาชน วิธีการเลือกซื้อเลือกบริโภคที่ปลอดภัย อาหารเปนปจจัยสําคัญหนึ่งในการดํารงชีวิต ในวันหนึง่ ๆ คนเราตองกินอาหารถึง 3 มื้อ การเลือกซื้อ อาหารจึงมีความจําเปนที่ผูซื้อจะตองมีหลักในการซื้อเพื่อชวยในการตัดสินใจ จะทําใหไดอาหารมีคุณภาพดี มี ประโยชนตอรางกาย หลักพิจารณาในการเลือกอาหาร ควรคํานึงถึงหลัก 3 ประการ คือ 1. ประโยชน คือ ตองเปนอาหารที่สดใหม มีคุณคาทางโภชนาการครบถวน เหมาะสมกับความตองการ ในชวงอายุตางๆ ของมนุษยเรา 2. ปลอดภัย คือ ตองเลือกอาหารที่แนใจวาสะอาด ปลอดภัย ผลิตจากแหลงผลิตที่เชื่อถือได ไมมีความ เสี่ยงตอการเกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร ทั้งนี้ เนื่องจากสารพิษและสารเคมีไมอาจทําลายดวยความรอน 3. ประหยัด คือ ตองเลือกซื้ออาหารตามฤดูกาล ซึ่งจะสงผลใหไดอาหารที่มีคุณภาพดีและ ราคาถูก หา ซื้อไดสะดวก ในการเลือกซือ้ อาหารประเภทตางๆ ควรมีหลักดังนี้ • อาหารสด 1. ผัก-ผลไม

ผัก ควรเลือกใหอยูในสภาพสดใหม สะอาด ไมมีลักษณะแข็งหรือกรอบ จนเกินไป ไมมีกลิ่นฉุนแสบจมูก ไมเหี่ยวเฉา ไมมีรองรอยช้ํา ไมมีเชื้อรา ไมมีสีผิดจากธรรมชาติ ไม มีเศษดินหรือสิ่งสกปรกเกาะเปนคราบติดอยู และที่สําคัญตองไมมีคราบสีขาวของวัตถุมีพิษฆาแมลง ตกคางอยู ควรเลือกซื้อผักที่มีรูพรุนจากการเจาะของแมลงบาง ควรเลือกบริโภคผักใบมากกวาผักหัว เพราะผักหัวจะสะสมสารพิษไวมากกวา - ผักที่เปนหัว ควรเลือกซื้อที่มีน้ําหนัก เนือ้ แนน ไมมตี ําหนิ - ผักที่เปนฝก ควรเลือกฝกออนๆ เชน ถั่วฝกยาวตองสีเขียว แนน ไมพอง อวน - ผักที่เปนใบ ควรเลือกสีเขียวสด ไมเหีย่ ว ไมมีรอยช้ํา ไมมีหนอน ตนใหญ อวบ ใบแนนติดกับโคน - ผักที่เปนผล ควรเลือกสีเขียวสด ไมเหีย่ ว ไมเสีย - ผลไม ตองดูผิวสดใหม ขั้วหรือกานยังเขียวและแข็ง เปลือกไมช้ําหรือดํา ขนาดของผลสม่ําเสมอ การลางผัก-ผลไม ตองลางดวยน้ําสะอาดหลายๆ ครั้ง โดยการลางดวยน้ําที่ไหลจากกอก ผักผลไมที่ปอกเปลือกได ควรลางน้ําใหสะอาดกอนปอกเปลือก 1

2. เนื้อสัตว

- เนื้อหมู เลือกที่มีสีธรรมชาติ สีชมพูออน มันสีขาว ไมมีกลิ่นเหม็นบูด ไมมีตุม ไมมีเม็ด สาคู (ตัวออนของพยาธิตัวตืด) เนื้อหมูที่เปนกอนเมื่อหั่นเปนชิ้นเล็กจะตองไมพบวาในเนื้อหมูมีสีเขียวคล้ํา ซึ่งแสดง วาไมสด ควรเลือกเนื้อแนนที่มีมันติด มีมันหนาบริเวณสันหลัง และมีไขมันแทรกอยูในกลามเนื้อ เห็นไดชัดเจนเมือ่ ตัดขวาง ควรเลือกซื้อจากแหลงที่มีสัตวแพทยรับรอง โดยสังเกตจากตราประทับบนหนังสัตว ขอสังเกต : เนื้อหมูที่ปนเปอนสารเรงเนื้อแดง ถาหั่นและปลอยทิ้งไวเนื้อหมูจะมีลักษณะคอนขาง แหง - เนื้อวัว ควรเลือกที่มีสีแดงตามธรรมชาติ มันมีสีเหลือง ไมแหง ไมมีกลิ่นเหม็นเนาหรือมี สีเขียว ไมช้ําเลือด ไมมีเม็ดสาคูซึ่งเปนตัวออนของพยาธิตัวตืด ควรเลือกซื้อจากแหลงที่มีสัตวแพทยรับรองโดย สังเกตจากตราประทับบนหนังสัตว - เปด ไก ควรเลือกเนื้อแนน สะอาด ไมมีสารทาสีตามตัว ไมเปลี่ยนเปนสีเขียว ไมมจี ้ําเลือด หรือตุมหนอง ไมมีเมือก ไมมีกลิ่นเหม็นหืน โดยเฉพาะบริเวณใตปก ใตขา ลําคอ และสวนบนของกน บริเวณ ปลายปกตองไมมีสีคล้ํา - ปลา ควรเลือกปลาสด ผิวเปนมัน มีเมือกใสๆ บางๆ หุมทั่วตัว เกล็ดแนบกับหนัง ไสไมทะลักออกมา ตาสดใสฝงในเบา ไมลึกโบหรือขุนเปนสีเทา เหงือกมีสีแดง ไมเขียวคล้ํา ครีบปดสนิท บริเวณ ใตทองปลาจะตองสะอาด ไมมีกลิ่นเหม็น เนื้อจะตองแนน กดไมเปนรอยบุมอยูนาน ถานําปลาไป ลอยน้ํา ปลาที่ดี จะจมน้ํา - กุง ควรเลือกกุงสด มีเนื้อแนน ครีบและหางตองเปนมันใส หัวกุงตองติดแนนไมหลุด ออก ไมมีกลิ่นเหม็นคลายกลิ่นแอมโมเนีย - ปู ควรเลือกเนือ้ แนน หนัก และเขยาตัวปูดู ปูที่สดจะตองไมมีเสียงเหมือนมีน้ําขังอยู เวลา กดตัวไมยุบลง ไมควรกินสวนที่เปนสีเหลืองๆ ในตัวปู เพราะอวัยวะพวกนี้ คือ ตับทําหนาที่กรองสารพิษ ฉะนั้นจึง อาจมีสารพิษตกคางอยู - หอย ตองสด ฝาหรือเปลือกควรปดสนิท ไมเปดอา ไมมีกลิ่นเหม็น และที่บริเวณเปลือก ไมควรมีสิ่งสกปรกหรือเมือกมากเกินไป ถานําไปลอยน้าํ หอยที่ดจี ะจมน้ํา - ไข ไขไก หรือไขเปด ตองสดใหม ไขสดจะมีผิวนวลคลายมีแปงเคลือบอยูที่เปลือกไข เปลือกไขไมมรี อยแตกหรือรอยราว เปลือกสะอาด ไมมีมูลสัตวหรือคราบสกปรกติดมา ไขสดใหมจะมีน้ําหนัก มากกวาไขเกา และเมื่อเขยาดูจะไมคลอน หากนํามาสองกับไฟตรงภายในเนื้อไขจะตองไมมีจุดสีดํา หรือฟองอากาศ ขนาดใหญอยูภ ายใน

2

• อาหารแหง

1. ถั่วเมล็ดแหงและธัญพืชตางๆ ตองเลือกที่แหงสะอาด ไมอับชื้น ไมมี กลิ่นเหม็นหืน เปลือกแหงสนิท เมล็ดสมบูรณ เนื้อแนน ไมลีบ ไมฝอ ไมแตกหัก ไมมี เชื้อราหรือมีสีเขมผิดปกติ หรือมีสีดํา 2. เนื้อสัตวแหงชนิดตางๆ ตองเลือกที่สีหรือกลิ่นไมผิดจากธรรมชาติ เชน สีเขมมากหรือสีแดง อาจเนื่องมาจากการใชสียอม เพื่อปกปดความดอยคุณภาพของอาหาร หรือใสดินประสิว มากเกินไปจนอาจกอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภคได • เครื่องปรุงอาหาร

ปจจุบันมีการใชเครื่องปรุงอาหารกันอยางแพรหลาย ซึ่งหากขาดความรูความเขาใจจะทําใหเกิดพิษภัยตอ ผูบริโภคได ฉะนั้นเพื่อใหการใชเครื่องปรุงอาหารเปนไปอยางถูกตอง จําเปนตองรูจักเลือกซื้อ เลือกใชเครื่องปรุง อาหารใหถูกตองดังนี้ 1. น้ําปลา น้ําปลาที่ดีตองใส มีสีน้ําตาลปนแดง ไมมีตะกอน เวนแตตะกอนที่เกิดจากธรรมชาติ - มีกลิ่นคาวปลา แตไมใชเหม็นคาวหรือเหม็นหืน - เมื่อชิมดูตองไมมีรสขมหรือรสหวานของซัคคาริน ซึ่งจะหวานผิดปกติ - ภาชนะบรรจุทําจากวัสดุทไี่ มถูกกัดกรอนดวยเกลือ - ภาชนะบรรจุตอ งสะอาด ปดสนิท - มีฉลากปดเรียบรอย ไมฉีกขาด เลอะเลือน ฉลากตองแสดงขอความตอไปนี้ - ระบุวาเปน ”น้ําปลาแท” หรือ “น้ําปลาที่ผลิตจากสัตวอื่น” หรือ “น้ําปลาผสม” - ระบุชื่อและที่ตั้งของสถานที่ผลิตชัดเจน - ระบุปริมาตรสุทธิ เดือนปที่ผลิต และสวนประกอบที่สําคัญโดยประมาณ - มีเลขสารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. 2. น้ําสมสายชู - ตองใส ไมมีตะกอน เวนแตน้ําสมสายชูหมักตามธรรมชาติ - ภาชนะบรรจุตองสะอาด ไมมีโลหะหนักหรือสารอื่นหรือสีออกมาปนเปอนกับอาหาร ไมมี จุลินทรียที่ทําใหเกิดโรค ภาชนะควรเปนประเภทแกว ไมควรเปนภาชนะที่ถูกกัดกรอนได ฉลากตองแสดงขอความตอไปนี้ - ระบุวาเปน ”น้ําสมสายชูหมัก” หรือ “น้ําสมสายชูกลั่น” หรือ “น้ําสมสายชูเทียม” - แสดงขอความ “มีปริมาณกรดน้ําสม......%” - ระบุชื่อและที่ตั้งของสถานที่ผลิตชัดเจน - ระบุปริมาตรสุทธิ เดือนปที่ผลิต - มีเลขสารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. 3

3. ซอสพริก ซอสมะเขือเทศ ซอสมะละกอ ซอสแปง ซอสผสม - ตองมีลักษณะเปนเนื้อเดียวกัน สี ความใส ขน หรือลักษณะของเนื้อซอส ควรเปนไปตาม

ธรรมชาติ ไมมีลักษณะผิดธรรมชาติ - เลือกซื้อใหตรงประเภทตามความตองการ - ฉลากตองแสดงขอความ ชื่ออาหาร ปริมาตร/น้ําหนักสุทธิ เดือนปที่ผลิต สวนประกอบที่ สําคัญโดยประมาณ ชื่อและที่ตั้งของสถานที่ผลิต เลขสารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. 4. ซอสปรุงรสและซีอิ๊ว - สังเกตกลิ่นหรือรส ตามลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑที่ไดจากการยอยโปรตีนของ ถั่วเหลือง - สังเกตภาชนะบรรจุ ตองอยูในสภาพเรียบรอย ฝาปดสนิทไมรั่วซึม มีฉลากติดที่ภาชนะ เรียบรอย อานไดชัดเจนและแสดงรายละเอียดอยางครบถวน กลาวคือ ฉลากตองแสดง ขอความ ชื่ออาหาร ปริมาตร/น้ําหนักสุทธิ เดือนปที่ผลิต สวนประกอบที่สําคัญโดยประมาณ ชื่อและที่ตั้งของสถานที่ผลิต เลขสารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. 5. ผงชูรส (Monosodium glutamate) - สังเกตรูปลักษณะตองเปนรูปกระดูกหรือกระบอง ขาวใส ไมมี ความวาว เมื่อชิมดูจะมีลักษณะคลายน้ําตมเนื้อ - สังเกตหีบหอหรือกระปองบรรจุที่ขอบผนึกตองไมมีรอยตําหนิ - ฉลากต อ งแสดงข อ ความ ชื่ อ อาหาร ปริ ม าตร /น้ํ า หนั ก สุ ท ธิ เดือนปที่ผลิต สวนประกอบที่สําคัญโดยประมาณ ชื่อและที่ตั้ง ของสถานที่ผลิต เลขสารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. 6. น้ํามันและไขมันสําหรับบริโภค - จะตองใส ไมเปนไขมันหรือแยกชั้น ตามชนิดของน้ํามันนั้นๆ ไมมีกลิ่นหืน มีกลิ่นรสตาม ชนิดของน้ํามันและไขมันนั้น - ฉลากตองแสดงขอความ ชื่ออาหาร ปริมาตร/น้ําหนักสุทธิ เดือนปที่ผลิต ชื่อและที่ตั้งของ สถานที่ผลิต เลขสารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. หลักปฏิบัติในการใชน้ํามันทอดอาหาร เพื่อใหน้ํามันทอดอาหารปลอดภัยตอการบริโภค มีดังนี้ 1. เลือกใชน้ํามันประกอบอาหารใหเหมาะสม เชน น้ํามันที่ใชในการปรุงอาหาร ควรเลือกใช น้ํามันจากพืช หลีกเลี่ยงน้ํามันจากสัตวเพือ่ ลดความเสี่ยงของโรคหัวใจ การทอดอาหารที่ใชความรอนสูงๆ ควรใช น้ํามันที่มีความคงตัวสูง เกิดควันชา ไดแก น้ํามันปาลมโอเลอิน (จากเนื้อปาลม) การทอดที่ใชความรอน ไมสูงมาก หรือการผัด สามารถใชน้ํามันอื่นๆ เชน น้าํ มันถั่วเหลือง น้ํามันขาวโพด น้ํามันดอกคําฝอย น้ํามันดอกทานตะวัน ฯลฯ 2. ควรซับน้ํามันสวนเกินบริเวณผิวหนาอาหารดิบ เพือ่ ลดการแตกตัวของน้ํามัน ทําใหชะลอ การเสื่อมสลายของน้ํามันทอดอาหาร

4

3. หลีกเลี่ยงการใชกระทะเหล็ก ทองแดง ทองเหลือง หรืออลูมิเนียมในการทอดอาหาร เพราะ จะไปเรงการเสื่อมสลายของน้ํามัน และควรลางทําความสะอาดกระทะหรือเครื่องมือทอดอาหารทุกวัน เนื่องจาก น้ํามันเกาทีต่ ิดคางอยูจะไปเรงการเสื่อมสภาพของน้ํามันใหม 4. ควรเปลี่ยนน้ํามันใหมและไมควรเติมน้ํามันใหมลงไปผสมน้ํามันเกา หากน้ํามันเกาที่มี ลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง เชน สีดํา ขุน เหนียวขน เหม็นหืน เกิดฟอง ควัน หรือเหม็นไหมไอน้ํามัน 5. ควรทอดอาหารครั้งละไมมากเกินไป ไมควรใชไฟแรงเกินไป และควรรักษาระดับอุณหภูมิ ใหคงที่ หากทอดอาหารประเภทเนื้อสัตวที่มีสวนผสมของเกลือหรือเครื่องปรุงรสปริมาณมาก ควรเปลี่ยนน้ํามันให บอยขึ้น และหมั่นกรองกากอาหารทิ้งระหวางและหลังการทอดอาหาร โดยเฉพาะอาหารทอดที่มีการชุบแปงปริมาณ มาก • อาหารปรุงสําเร็จ

ไดแก อาหารที่ผานการปรุงแลวพรอมที่จะนํามาเสิรฟแกผูบริโภค เชน แกงเผ็ด ผัด ผักตางๆ แกงจืดชนิดตางๆ เปนตน การเลือก ตองสังเกตสีสัน กลิ่น รสของอาหารเปนไปตามปกติ ไมมีสีดําคล้ํา หรือ กลิ่นเหม็นเปรี้ยว เนาเสีย หรือสีสันที่เขมจนผิดปกติ • ผลิตภัณฑสําเร็จรูป 1. น้ําดื่ม เครื่องดื่ม น้าํ แข็ง

น้ําดื่ม - ลักษณะของน้าํ ที่บรรจุอยูตองใสสะอาด ไมมีตะกอน ไมมีสิ่งเจือปนอืน ่ ๆ และไมมสี ี กลิ่น รสที่ผิดปกติ - ภาชนะที่บรรจุตองสะอาด ไมรั่วซึม หรือมีรอยสกปรก เปรอะเปอน และฝาปดผนึกสนิท ไมมีรองรอยการเปดใช - ฉลากตองแสดงขอความ ชื่ออาหาร ปริมาตรสุทธิ ชื่อและที่ตั้งของสถานที่ผลิต เลข สารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. ควรตรวจสอบใหแนวา - การซื้อน้ําบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปดสนิทชนิดบรรจุถัง ฉลากที่ถังกับพลาสติกที่รัดปากถังอยูเปนของผูผลิตรายเดียวกัน เพราะผูผลิตที่มักงาย มักจะนําถังของผูผลิตรายอื่นมาบรรจุน้ําของตนออกจําหนาย การผลิตก็ขาดความ พิถีพิถันเทาที่ควร - ไมซื้อน้ําบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปดสนิทที่วางปะปนกับผลิตภัณฑวัตถุมีพิษ เครื่องดื่ม - สังเกตลักษณะกลิ่น รส ตองเปนไปตามธรรมชาติ ในกรณีมีสี สีตองไมเขมจนเกินไป - ภาชนะบรรจุตอ งสะอาด ไมมีคราบสกปรก ไมบุบบูบี้ ฝาปดสนิท ภาชนะไมรวั่ ซึม 5

เครื่องดื่มผง - ตองไมชื้น จับเปนกอน หรือมีสีคล้ําผิดไปจากปกติ - ตองบรรจุในภาชนะที่สะอาดและปดผนึกเรียบรอย - ฉลากต อ งแสดงข อ ความ ชื่ อ อาหาร ปริ ม าตร /น้ํ า หนั ก สุ ท ธิ วั น เดื อ นป ที่ ผ ลิ ต ชื่อและที่ตั้งของสถานที่ผลิต เลขสารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. น้ําแข็ง - ตองใส ไมมีตะกอน - ตองบรรจุในภาชนะที่สะอาดและปดผนึกเรียบรอย - ฉลากตองแสดงขอความ ชือ่ อาหาร น้ําหนักสุทธิ ชือ่ และที่ตั้งของสถานที่ผลิตเลข สารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. และขอความ “น้ําแข็งใชรับประทานได” 2. นมและผลิตภัณฑจากนม นมเปรี้ยว ไอศกรีม - เลือกซื้อจากรานคาที่มีการเก็บผลิตภัณฑอยางเหมะสม เชน นมพาสเจอรไรส ตองเก็บใน อุ ณ หภู มิ ไ ม กิ น 8 องศาเซลเชี ย ส นมสเตอริ ไ ลส ห รื อ นมยู เ อชที ส ามารถเก็ บ ใน อุณหภูมิหองได จึงตองไมเก็บในที่ซึ่งอุณหภูมิสูงเกินไปหรือถูกแสงแดดสองตลอดเวลา และไมควรนํานมยูเอชทีมาซอนทับสูงเกินไป เชน นํานมยูเอชทีที่บรรจุในกลองขนาด 200 ซีซี วางซอนกันเกิน 10 ชั้น ขนาด 250 มล. วางซอนกันเกิน 8 ชั้น และขนาด 1000 มล. วางซอนกันเกิน 5 ชั้น เพราะภาชนะบรรจุอาจเสียหาย ทําใหเชื้อจุลินทรียจาก ภายนอกเขาไปปนเปอนในนม สงผลใหนมเสียได นอกจากนี้การเก็บนมใกลวัตถุมีพิษ เปนสิ่งที่ไมควรกระทํา - สังเกตสภาพของอาหาร จะตองอยูในสภาพปกติ ในกรณีที่เปนของเหลวจะตองเปนเนื้อ เดียวกัน ไมแยกชั้นหรือมีตะกอนเปนกอนๆ มีกลิ่นรสปกติ ไมมีกลิ่นเหม็นบูด หรือ เปรี้ยวจนผิดปกติ สีไมคล้ํา - ลักษณะของภาชนะบรรจุนมตองใหอยูในสภาพเรียบรอย ไมมีการรั่วหรือซึม ภาชนะ ตองไมบวมหรือฉีกขาด ในกรณีของกลองนมยูเอชทีหากมีรองรอยการกดทับจนยน ก็ ไมควรซื้อมาบริโภค เพราะเชื้อจุลินทรียจากภายนอกอาจเขาไปในกลองนมได - สําหรับไอศกรีม ตองมีสี กลิ่น รส ตามลักษณะของไอศกรีมนั้นๆ ไอศกรีมที่มีสวนผสม ของนมหรือไขมันอื่น เชน กะทิ เนื้อไอศกรีมจะขน มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลวเปนเนื้อ เดียวกัน ไมเหลวหรือมีลักษณะเหมือนเคยละลายมาแลว - สังเกตภาชนะบรรจุตองสะอาด ไมมีรอยบุบ ไมมีรอยแตก ไมฉีกขาด ไอศกรีมไมรั่วซึม ออกมา - สั ง เกตฉลากบนภาชนะบรรจุ จ ะต อ งระบุ ป ระเภทของผลิ ต ภั ณ ฑ วั น ที่ ผ ลิ ต หรื อ วั น หมดอายุ ปริมาตร/น้ําหนักสุทธิ สวนประกอบที่สําคัญโดยประมาณ ชื่อและที่ตั้งของ สถานที่ผลิต เลขสารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. 6

3. อาหารกระปอง - ลักษณะทั่วไป สภาพกระปองตองอยูในสภาพที่ดี กระปองตองเรียบทั้งฝาและกน ไมโปง

นูน เนื่องจากแรงดันของกาซที่เกิดจากการเนาเสียของอาหารภายในกระปอง กระปอง จะตองไมมีรอยบุบ ไมมีรูรั่วซึม ไมเปนสนิม - ฉลากตองแสดงขอความ ชื่ออาหาร น้ําหนักสุทธิ เดือนปที่ผลิต สวนประกอบที่สําคัญ โดยประมาณ ชื่อและที่ตั้งของสถานที่ผลิต เลขสารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. - เดือนปที่ผลิต ควรเลือกซื้ออาหารกระปองที่ผลิตใหม โดยดูจากตัวเลขที่กนกระปองที่ใช เครื่องตอกเปนตัวเลขแทนวันที่เดือนปที่ผลิต 4. ผลิตภัณฑเสริมอาหาร - ผลิตภัณฑที่ใชรับประทานโดยตรง นอกเหนือจากการรับประทานอาหารหลักตามปกติ เพื่อเสริมสารบางอยาง มักอยูในรูปลักษณะเปนเม็ด แคปซูล ผง เกล็ด ของเหลวหรือ อาหารเสริม ลักษณะอื่น และมีจดุ มุงหมายสําหรับบุคคลทั่วไปที่มีสุขภาพปกติ มิใชสําหรับผูปวย และไมควรใหเด็กและสตรีมีครรภรับประทาน - การเลือกซื้อ ควรศึกษารายละเอียดบนฉลากผลิตภัณฑกอนทุกครั้ง ไมควรเชื่อจากการ กลาวอาง เนื่องจากปริมาณสารที่ออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑเสริมอาหารยังมีปริมาณไมถึง ขนาดที่ใชในการปองกัน บําบัด รักษาโรค หรือเปลี่ยนแปลงระบบการทํางาน ตลอดจน โครงสรางรางกายได - ฉลากตองแสดงขอความ ชื่ออาหาร เลขสารบบอาหารในกรอบเครื่องหมาย อย. ปริมาตร/น้ําหนักสุทธิ วันเดือนปที่ผลิตและวันเดือนปที่หมดอายุ สวนประกอบทีส่ ําคัญ ชื่อและที่ตั้งของสถานที่ผลิต/ ผูแบงบรรจุ หรือผูนําเขา (ในผลิตภัณฑนําขาตองประเทศ ผูผลิตดวย ) • ฉลากอาหาร ฉลากอาหารเปนแหลงขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑอาหารที่อยูใกลตัว ผู บ ริ โ ภค การอ า นฉลากไม ต อ งมี ค า ใช จ า ยใดๆ แต ก ลั บ ให ป ระโยชน ใ นการ ประหยัดคาใชจาย ทําใหผูบริโภคไดรับผลิตภัณฑอาหารที่มีคุณภาพตรงตามที่ ต อ งการ สามารถดู แ ลสุ ข ภาพของตนโดยอาศั ย ขอ มู ล บนฉลาก และที่สํ า คั ญ สามารถหลีกเลี่ยงหรือปองกันอันตรายจากการบริโภคอาหารนั้น • ขอมูลบนฉลาก มีประโยชนตอเราอยางไร - ชื่ออาหาร ชวยใหเราซื้ออาหารไดตรงตามที่เราตองการ - เครื่องหมาย อย. ซึ่งภายในระบุเลขสารบบอาหาร จะชวยใหเราบริโภคอาหารไดอยางมั่นใจ เพราะอาหารที่จะไดรับ อย. นั้น สวนใหญตองผานขั้นตอนในการตรวจสอบความเหมาะสมของสถานที่ตั้งและ อาคารผลิต เครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณในการผลิต การควบคุมกระบวนการผลิต การสุขาภิบาลโรงงาน การ 7

บํารุงรักษาและการทําความสะอาด และบุคลากรในการผลิต นั่นคือ เปนไปตามหลักเกณฑวิธกี ารทีด่ ีในการผลิต อาหาร หรือ จี.เอ็ม.พี. (Good Manufacturing Practice) นั่นเอง นอกจากนั้น ตองผานการพิจารณาในเรื่องคุณภาพของ ผลิตภัณฑ และการแสดงขอมูลบนฉลากวาไมโออวด หลวกลวงหรือทําใหเขาใจผิด อาหารนัน้ จึงจะได อย. การ เลือกบริโภคอาหารที่มีตราสัญลักษณ อย. จึงใหความมัน่ ใจวาเราจะไดบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัย - ชื่อและที่ตั้งของผูผลิตหรือผูแบงบรรจุ ชวยใหเราทราบวาใครเปนผูผลิตและผลิตที่ใด กรณีที่มี ปญหาเกี่ยวกับอาหารนั้น เราก็จะสามารถติดตอสอบถามหรือชดเชยความเสียหายได หรือสามารถรองเรียน อย. ได - ปริมาณอาหาร ชวยใหเราเปรียบเทียบอาหารชนิดเดียวกันและสามารถเลือกชื้ออาหารไดถูกกวา - สวนประกอบที่สําคัญ ชวยใหเราสามารถเปรียบเทียบอาหารชนิดเดียวกัน และเลือกอาหารที่มี เนื้ออาหารมากกวาหรือมีราคาที่ถูกกวาได และสวนประกอบยังชวยใหเราสามารถหลีกเลี่ยงอาหารที่เราแพได เชน บางคนแพนมหรือแพถั่วลิสง ก็สามารถหลีกเลี่ยงอาหารทั้งสองได โดยดูจากสวนประกอบนี้ - วันเดือนปที่ผลิตและวันเดือนปที่หมดอายุ เปนขอมูลสําคัญที่ผูบริโภคมักเสือกอานกอน เพราะ จะบอกวาอาหารนั้นมีการผลิตมานานแลวหรือไม อาหารที่หมดอายุอาจจะไมเสียแตจะมีการเปลีย่ นแปลงไป เชน มี การแยกชั้น สีเปลี่ยนไป เนื้อสัมผัสไมแนน เปนตน ในสวนของสารอาหารก็มีการเสื่อมสลายไปตามเวลา - คําแนะนําในการเก็บรักษา จะพบไดในผลิตภัณฑที่มีอายุการเก็บรักษานอยๆ ชวยใหเราทราบวา ควรจะเก็บผลิตภัณฑอาหารในสภาพใด เพื่อที่จะทําใหอาหารนั้นเก็บไดนานๆ ไมเสียกอนที่กําหนด - คําเตือน อาหารบางอยางจะระบุคําเตือน เชน ไมควรดืม่ เกินวันละ 2 ขวด ทําใหเราเกิดความ ระมัดระวังในการบริโภคไมกอใหเกิดอันตราย - วิธีปรุงหรือวิธใี ช ชวยใหเราใชหรือเตรียมผลิตภัณฑไดถูกตอง เชน การเตรียมนมจากนมผง หากเราทําไดถูกตองตามที่แนะนําก็จะทําใหไดนมทีม่ ีสวนประกอบตามที่ระบุบนฉลาก ชวยใหเราทราบวาการดื่ม นมในปริมาณนั้นเราไดสารอาหารอะไร ในปริมาณเทาไร ทําใหเราดูแลสุขภาพของเราได นอกจากนี้บนฉลากอาหารยังใหระบุวามีการใช “วัตถุกันเสีย” “เจือสีสังเคราะห“ หรือมีการใชสาร อะไรเปน “วัตถุปรุงแตงรสอาหาร” ทําใหเราหลีกเลี่ยงที่จะไมบริโภคอาหารนั้นได หากเราแพวัตถุปรุงแตงดังกลาว อยู • ฉลากโภชนาการ ฉลากโภชนาการเป น กรอบขอมูลโภชนาการ ที่จ ะชว ยใหเราสามารถ เปรียบเทียบคุณคาทางโภชนาการกับราคา และเลือกซื้ออาหารที่มีคุณคาทางโภชนาการสูง กวาได สามารถเลือกบริโภคอาหารเพื่อใหไดสารอาหารที่รางกายควรไดรับตอวัน สามารถ หลีกเลี่ยงจากสารอาหารบางอยางที่ไมเหมาะกับสุขภาพของเรา เชน หากเรามีน้ําหนักเกินก็ สามารถหลีก เลี่ย งอาหารที่มีปริ ม าณพลั ง งานมาก หรือ หากเราเปน โรคความดัน สูง ก็ สามารถหลีกเลี่ยงที่มีปริมาณโซเดียมสูงได โดยที่ฉลากโภชนาการจะบอกเราวา ถาเรา บริโภคอาหารนั้นไป 1 หนวยบริโภคตามที่ฉลากระบุ เชน 1 ถวย หรือ 60 กรัม เราจะไดรับ

8

สารอะไรบาง คิดเปนรอยละเทาไรของปริมาณที่เราควรจะไดรับตอวัน ทําใหเราทราบวาเราตองบริโภคอะไรอื่น เพิ่มเติมอีกเทาไร ปจจุบันมีการเติมสารอาหาร เชน วิตามินเอ วิตามินซี ลงในอาหาร ฉลากโภชนาการจะชวยใหเรา เปรียบเทียบคุณคาทางอาหารและเลือกซื้อยี่หอที่มีคุณคาทางโภชนาการสูงกวาได • มาตรการพิจารณาโฆษณาผลิตภัณฑอาหารและบทกําหนดโทษ

การกํากับดูแลการโฆษณาผลิตภัณฑอาหารเปนมาตรการหนึ่ง ที่ชวยลดปญหาการถูกลวงจาก โฆษณาผลิตภัณฑอาหารที่เปนเท็จหรือเกินจริงไดในระดับหนึ่ง โดยขอกฎหมายที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ. 2522 นั้น มีมาตรการพิจารณาโฆษณาและบทกําหนดโทษสําหรับผูฝาฝน ดังนี้ มาตรการพิจารณาโฆษณา บทกําหนดโทษ 1. หามมิใหผใู ดโฆษณาคุณประโยชน คุณภาพ หรือ ผูฝาฝนตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับ สรรพคุณของอาหารอันเปนเท็จ ไมเกินสามหมืน่ บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 2. ผูใดประสงคจะโฆษณาคุณประโยชน คุณภาพ หรือ ผูฝาฝนตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท สรรพคุณของอาหาร ทางสื่อเผยแพรตางๆ อาทิ โทรทัศน วิทยุ สิ่งพิมพ ฯลฯ หรือดวยวิธีอนื่ ใดเพื่อ ประโยชนทางการคา ตองนําเสียง ภาพ หรือขอความ ที่ โฆษณานัน้ ใหผูอนุญาตตรวจพิจารณากอน เมื่อ ไดรับ อนุญาตแลวจึงจะโฆษณาได 3. เพื่อพิทักษประโยชนและความปลอดภัยของผูบริโภค ผูฝาฝนคําสั่งของผูอนุญาต ตองระวางโทษจําคุกไม ให ผู อ นุ ญ าตมี อํ า นาจสั่ ง เป น หนั ง สื อ อย า งหนึ่ ง ให เกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ และใหปรับเปนรายวันอีก วันละไมนอยกวา ผูทํา การโฆษณาปฏิบัติ ดังนี้ หารอยบาท แตไมเกินหนึ่งพันบาท ตลอดเวลาที่ไม - ระงับการโฆษณาที่ไมไดรับอนุญาต ปฏิบัติตามคําสั่งดังกลาว - ระงับการโฆษณาที่คณะกรรมการเห็นวาไมมี คุณประโยชน คุณภาพ หรือสรรพคุณตามที่โฆษณา • การเลือกภาชนะบรรจุ

ในการเลือกภาชนะอุปกรณใสอาหารควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ภาชนะอุปกรณตองไมทําหรือประกอบดวยวัสดุที่เปนพิษ เชน ไมทําจากวัสดุทใี่ ชแลว ไมมีการแตงสีในสวนที่จะสัมผัสอาหาร 2. ภาชนะอุปกรณตองมีความแข็งแรงทนทาน ไมชํารุด สึก หรอหรือแตกกะเทาะ เปนสนิมงาย ทนตอการกัดกรอนของอาหารที่มี รสเปรี้ยว หรือเค็มจัด 3. มีรูปแบบทําความสะอาดงายและมีความปลอดภัยในการนําไปใช มีผิวเรียบ ไมมีรอง ซอก มุม ปากแคบ กนไมลึกจนเกินไป 9

4. ปองกันการปนเปอนได เชน ภาชนะใสน้ําดื่ม/เครื่องดื่ม ตองมีฝาปด มีกอก หรือเทน้ําออก เปนตน การใชภาชนะบรรจุ กอนนําภาชนะอุปกรณไปใชควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ตรวจดูวาภาชนะอุปกรณที่จะนําไปใช ตองอยูในสภาพที่สะอาดเสมอ 2. ภาชนะอุปกรณตองไมชํารุด กะเทาะหรือแตกราว 3. ภาชนะที่ใชครัง้ เดียว ตองมีวสั ดุหอหุมมิดชิด 4. ภาชนะที่จะนํามาใชกับอาหาร ตองไมเคยใชบรรจุสารเคมีอันตราย ระหวางการใชภาชนะอุปกรณ ควรปฏิบัติดังนี้ 1. หลีกเลี่ยงการจับตองสวนของภาชนะอุปกรณที่จะสัมผัสอาหาร 2. ใชภาชนะใหเหมาะสมกับชนิดของอาหาร เชน ไมใชพลาสติกกับอาหารรอนจัดหรือมีรสเปรี้ยว/ เค็มจัด ไมใชถุงพลาสติกเย็นใสของรอน 3. เขียงตองแยกใชระหวางอาหารดิบกับอาหารสุก และมีฝาชีครอบระหวางที่ไมใชงาน 4. ไมวางชอน ตะเกียบ หรือทัพพีบนพื้นโตะ ใหวางบนจานรอง 5. ภาชนะที่ใสอาหาร หามนําไปใสสารเคมีอันตรายหรือสิ่งที่ไมใชอาหาร 6. ใบไมที่นํามาหออาหาร เชน ใบบัว ใบตอง ตองสดใหม และลางทําความสะอาดกอนใชหออาหาร 7. หามใชถุงกระดาษที่มีหมึกพิมพ เชน กระดาษหนังสือพิมพมาบรรจุอาหารโดยตรง โดยเฉพาะ อาหารทอด 8. ภาชนะที่ใชครัง้ เดียวทิ้ง เชน กลองโฟมบรรจุอาหาร หลอด ถุงพลาสติก จานกระดาษ เมื่อ ใชแลว ไมควรนํากลับมาใชอีก • การเลือกบริโภคใหเหมาะสมกับวัย การดูแลสุขภาพเพื่อใหรางกายสมบูรณแข็งแรงนั้น การรูจัก เลือกรับประทานอาหารถือเปนสิ่งสําคัญ โภชนบัญญัติ 9 ประการ เปน ขอบัญญัติที่กระทรวงสาธารณสุขจัดทําขึ้นแนะนําประชาชนใหมีความรู และ ความเขาใจในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี ซึ่งประกอบดวย 1. กินอาหารใหครบ 5 หมู แตละหมูใหหลากหลายและ หมั่นดูแลน้ําหนักตัว เพื่อใหไดสารอาหารที่รางกายตองการอยางครบถวนและ มีน้ําหนักอยูในเกณฑมาตรฐาน ไมอวนหรือผอมเกินไป 2. กินขาวเปนหลักสลับกับอาหารประเภทแปงเปนบาง มื้อ เลือกกินขาวกลองแทนขาวขาว จะมีคุณคาและใยอาหารมากกวา 3. กินพืชผักใหมากและกินผลไมเปนประจํา กินผักผลไมทุกมื้อจะชวยสรางภูมิคุมกันโรค และ ตานมะเร็งได

10

4. กินปลา เนื้อสัตวไมติดมัน ไขและถั่วเมล็ดแหงเปนประจํา ปลาเปนโปรตีนคุณภาพดีและ ยอยงาย ไขเปนอาหารที่หางาย ถั่วเมล็ดแหงเปนโปรตีนจากพืชที่กินแทนเนื้อสัตวได 5. ดื่มนมใหเหมาะสมกับวัย นมชวยใหกระดูกและฟนแข็งแรง เด็กควรดื่มนมวันละ 2–3 แกว ผูใหญควรดื่มนมพรองมันเนยวันละ 1–2 แกว 6. กินอาหารที่มไี ขมันแตพอควร กินอาหารประเภททอด ผัด และแกงกะทิ แตพอควร เลือกกิน อาหารประเภทตม นึ่ง ยาง (ที่ไมไหมเกรียม) แกงไมใสกะทิ เปนประจํา 7. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด กินหวานมากเสี่ยงตอการเกิดโรคอวน โรค เบาหวาน โรคหัวใจ และหลอดเลือด กินเค็มมากเสี่ยงตอการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 8. กินอาหารที่สะอาด ปราศจากการปนเปอน อาหารที่ไมสุกและปนเปอนเชื้อโรคและสารเคมี เชน บอแรกซ สารกันรา สารฟอกขาว ฟอรมาลีน และยาฆาแมลง ทําใหเกิดโรคได 9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล เพราะทําใหมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคตับแข็ง โรคมะเร็งหลอดอาหาร และโรครายอีกมากมาย ตลอดชวงชีวิตของมนุษย รางกายแตละวัยตองการสารอาหารในสัดสวนที่แตกตางกัน เด็กเล็ก ตองการไมเหมือนวัยรุน วัยรุนก็ตองการไมเหมือนวัยทํางาน ผูใหญวัยทํางานก็ตองการไมเหมือนผูสูงอายุ ดังนั้น หากกินอาหารในสัดสวนทีไ่ มเหมาะสมกับวัยยอมเกิดปญหาตอสุขภาพอยางแนนอน ไมอวนไปก็ผอมไป และที่ แนนอนที่สดุ ก็คือ รางกายจะไมแข็งแรง โรคตางๆ ก็จะเขามาหาไดงาย การกินอาหารไมเหมาะสมกับวัย กินอยางไร สามารถดูรายละเอียดไดจากตาราง • หญิงตั้งครรภและหญิงใหนมบุตร ภาวะเสี่ยงตอโรคทางโภชนาการ

โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก/น้ําหนักต่ํากวาเกณฑ

อาหารที่ควรบริโภค

อาหารครบ 5 หมู ในปริมาณที่มากขึ้น/ดืม่ นมรสจืด/ปลาที่กินไดทั้งตัว/ อาหาร ที่อุดมดวยธาตุเหล็ก เชน ตับ เลือด หัวใจ เนื้อสัตว/ผักใบเขียวเขม อาหารหมักดอง/อาหารรสจัด/อาหารใสผงชูรส สารเคมี/เครื่องดื่ม แอลกอฮอล ชา กาแฟ น้ําอัดลม ฝากทองทันทีเมื่อทราบวาตั้งครรภ/ตรวจหลังคลอดเมื่อครบ 4 – 6 สัปดาห/ ดูแลสุขภาพชองปากและฟน/ทําจิตใจใหสบายไมเครียด/ออกกําลังกายใน ทาที่ไมหักโหม

อาหารที่ควรเลี่ยง ขอควรปฏิบัติ

11

• ทารกอายุ 0 – 12 เดือน

ภาวะเสี่ยงตอโรคทางโภชนาการ อาหารที่ควรบริโภค

อาหารที่ควรเลี่ยง ขอควรปฏิบัติ

โรคขาดโปรตีนและพลังงาน/โรคขาดวิตามินเอ/โรคขาดสารไอโอดีน/

โรคขาดวิตามินบี 1 ทารกเกิด 4 เดือน ใหทานนมแมอยางเดียว ไมตองใหน้ํา และอาหารอื่นๆ / อายุ 4 เดือนขึน้ ไป เริ่มใหอาหารตามวัยควบคูกับนมแม/เมื่อเด็กมีอายุ 6 เดือนขึ้นไป ควรใหอาหารครบ 5 หมู อาหารที่ใสสี สารกันบูด และผงชูรส เปนตน การเตรียมอาหารสําหรับทารกตองถูกสุขลักษณะและเหมาะสมตาม พัฒนาการกิน การยอย เริ่มจากอาหารบดเหลวไปสูอาหารออนนุมเคี้ยวงาย

• เด็กกอนวัยเรียน (อายุ 1 – 15 ป)

ภาวะเสี่ยงตอโรคทางโภชนาการ โรคขาดโปรตีนและพลังงาน/โรคขาดวิตามินเอ/โรคขาดสารไอโอดีน/ โรคขาดวิตามินบี 2 อาหารที่ควรบริโภค อาหารครบ 5 หมู และหลากหลาย/กินปลา เนื้อสัตว ไข/กินผัก ผลไม เปนประจํา/ดืม่ นมรสจืดวันละ 2 – 3 แกว อาหารที่ควรเลี่ยง อาหารจําพวกคบเคี้ยว น้ําหวาน น้ําอัดลม ขนมหวาน ขอควรปฏิบัติ ฝกเด็กใหกนิ อาหารไทยหลากหลาย/ฝกมารยาท และนิสยั การบริโภคทีด่ ี • เด็กกอนวัยเรียน (อายุ 6 – 19 ป) / วัยรุน (อายุ 10 – 24 ป)

ภาวะเสี่ยงตอโรคทางโภชนาการ โรคอวน/โรคขาดโปรตีนและพลังงาน/โลหิตจางจาการขาดธาตุเหล็ก/ โรคขาดสารไอโอดีน อาหารที่ควรบริโภค อาหารครบ 5 หมู และหลากหลายครบ 3 มื้อ / ดื่มนมรสจืดทุกวัน (ถาเปน เด็กอวนดื่มนมพรองมันเนย) /ใชเกลือเสริมไอโอดีนในการปรุงอาหารทุก ครั้ง/อาหารที่อุดมดวยธาตุเหล็ก เชน ตับ เลือด เนื้อสัตว /กินอาหารไทย อาหารที่ควรเลี่ยง อาหารจําพวกคบเคี้ยว/น้ําอัดลม/อาหารที่มีรสจัด เชน หวานจัด เผ็ดจัด เค็มจัด/อาหารจานดวนแบบตะวันตก ขอควรปฏิบัติ กินอาหารครบ 3 มื้อ ไมงดอาหารเชา/พักผอนใหเพียงพอ/ออกกําลังกาย อยางสม่ําเสมอ

12

• วัยทํางาน (อายุ 15–59 ป)/ชายวัยทอง (อายุ 40–49 ป)/หญิงวัยทอง (อายุ 45–49 ป)

ภาวะเสี่ยงตอโรคทางโภชนาการ อาหารที่ควรบริโภค

อาหารที่ควรเลี่ยง ขอควรปฏิบัติ

โรคอวน/โรคเบาหวาน/โรคหัวใจและหลอดเลือด/โรคเกาต/โรคกระดูกพรุน/โรคมะเร็ง

อาหารครบ 5 หมู และหลากหลาย/กินปลา เนื้อสัตวไมตดิ มัน ถั่วเมล็ดแหง/กิน อาหารไทย/อาหารที่อุดมดวยแคลเซี่ยม เชน นมรสจืด ปลาเล็ก ปลานอย กุงฝอย กุงแหง/ใชน้ํามันพืช (ยกเวนน้ํามันเมล็ดปาลม และน้ํามันมะพราว) ในการ ประกอบอาหาร อาหารที่มีรสจัด เชน หวานจัด เผ็ดจัด เค็มจัด /อาหารปง ยางที่ไหมเกรียม/ อาหารทอด/เนื้อสัตวติดมัน/กะทิ และเนย/เครื่องดื่มแอลกอฮอล หมั่นดูแลน้ําหนักตัวใหอยูในเกณฑปกติ/ออกกําลังกายสม่ําเสมอ/พักผอน ให เพียงพอ/ตรวจสุขภาพชองปาก

• ผูสูงอายุ (อายุ 60 ปขน ึ้ ไป)

ภาวะเสี่ยงตอโรคทางโภชนาการ โรคขาดโปรตีนและพลังงาน/โลหิตจางจาการขาดธาตุเหล็ก/โรคความดันโลหิต สูง/โรคเบาหวาน/โรคหัวใจ และหลอดเลือด/โรคกระดูกพรุน อาหารที่ควรบริโภค

อาหารครบ 5 หมู และหลากหลาย เนนปลา พืชผักใบเขียว และผลไม ไม หวานจัด/ลักษณะของอาหารควรเปนชนิดที่เคี้ยวและยอยงาย ประเภทตม นึ่ง ตุน/กินอาหารที่อุดมดวยแคลซี่ยม เชน นมพรองมันเนย ปลาเล็กปลานอย /ใช น้ํามันพืช (ยกเวนน้ํามันเมล็ดปาลม และน้ํามันมะพราว) ในการประกอบอาหาร

อาหารที่ควรเลี่ยง

อาหารทอด เนือ้ สัตวติดมัน/อาหารที่มีกะทิ และเนยมาก/อาหารที่มีรสจัด เชน หวานจัด เค็มจัด/กาแฟ/เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล กินอาหารครบ 3 มื้อ ในปริมาณที่เพียงพอตามหลักโภชนาการ/ออกกําลังกาย อยางสม่ําเสมอใหเหมาะสมกับสภาพรางกาย/ทําจิตใจใหแจมใส/นอนหลับ พักผอนใหเพียงพอ/ดื่มน้ําวันละ 6 – 8 แกว/ตรวจสุขภาพชองปาก

ขอควรปฏิบัติ

5.2 วิธีการใชและการเก็บรักษาอาหาร การเก็บอาหาร การเก็บอาหารควรมีหลักในการพิจารณาดังนี้ 1. สัดสวน คือ มีการจัดเก็บเปนระเบียบ มีการแยกเก็บเปนประเภทอาหารตางๆใหเปนสัดสวนเฉพาะไม ปะปนกัน

13

2. สิ่งแวดลอมเหมาะสม คือ คํานึงถึงการจัดสิ่งแวดลอมใหเหมาะสมกับอาหารประเภทตางๆ เพื่อทําให อาหารสด เก็บไดนาน ไมเนาเสียงาย โดยพิจารณาถึงความชื้น อุณหภูมิ รวมทั้งสภาพที่จะปองกันการปนเปอนได 3. สะอาด ปลอดภั ย คื อ ตองเก็บอาหารในภาชนะบรรจุที่ ถูก ต องและสะอาด มี การทําความสะอาด สถานที่เก็บอยางสม่ําเสมอ ไมเก็บใกลสารเคมีที่เปนพิษอื่นๆ 4. การเก็บอาหาร จําแนกตามประเภทของอาหารไดดังนี้ คือ 4.1 อาหารสด 4.1.1 ผัก-ผลไม ผัก-ผลไมที่ลางทําความสะอาดแลว ควรเก็บไวในตูเย็นที่อุณหภูมิ 5-7 องศาเซลเซียส ในภาชนะที่สะอาด แยกเปนสัดสวนเฉพาะ โดยผักสดที่เตรียม จะปรุงควรลางแลวหัน่ ใหเรียบรอย และเก็บในภาชนะสะอาดเปนสัดสวนในตูเย็น 4.1.2 เนื้อสัตว เนื้อสัตวสดจะตองเก็บในภาชนะที่สะอาด แยกเปนสัดสวนเฉพาะ โดยมีการแบงเปนชิ้นสวนในขนาดพอเหมาะที่จะใชในการปรุงแตละครั้ง สําหรับ เนื้อสัตวที่ตองการจะเก็บไวนานจะตองเก็บไวในอุณหภูมิต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส ในขณะที่เนื้อสัตวที่อยูในระหวางรอการปรุงใหเก็บในอุณหภูมิตูเย็น คือ 5-7 องศา เซลเซียส สําหรับเนื้อสัตวที่อยูในลักษณะอาหารปรุงสําเร็จจะตองเก็บในภาชนะที่ สะอาด ฝาปดมิดชิด และสูงจากพื้นอยางนอย 60 เซนติเมตร ในระหวางรอเสิรฟควร จะใชความรอนอุนเปนระยะๆ เพื่อเปนการทําลายเชื้อโรค 4.1.3 ไข ควรเก็บไขในตูเย็นที่อณ ุ หภูมิ 5-7 องศาเซลเซียส ในภาชนะที่สะอาด แยกเปนสัดสวนเฉพาะ ถาตองการเก็บใหนานขึ้นควรนําไขสดไปจุมลงในขี้ผึ้งที่ หลอมเหลวเพือ่ เปดรูอากาศบริเวณผิวไข จะทําใหเก็บไดนานขึ้น 4.2 อาหารแหง 4.2.1 ถั่วเมล็ดแหงและธัญพืชตางๆ พวกเมล็ดพืชควรตากใหแหงสนิทเสียกอน แลวจึงนํามาเก็บในภาชนะที่ สะอาด มีฝาปด และไมอับชื้น สําหรับหอม กระเทียม ควรแขวนไวในที่โปรงสะอาด มีลม โกรก และควรหมั่นนําไปผึง่ แดดออนๆ เปนประจําดวยจะดีมาก อาหารแหงที่บรรจุในภาชนะ ปดสนิทตองสูงจากพื้นอยางนอย 60 เซนติเมตร 4.2.2 เนื้อสัตวแหงชนิดตางๆ ควรจะนําไปตากแดดใหแหงเสียกอน แลวนํามาแขวนในบริเวณที่แหง ลม โกรกไดดี หรือเก็บไวในภาชนะที่สะอาด มีฝาปดและไมอับชื้น และควรเก็บสูงจากพื้นอยาง นอย 60 เซนติเมตร 14

4.3 อาหารกระปอง จะตองเก็บไวในที่ที่มีอากาศเย็น โปรง และไมอับชื้น เพราะความชืน้ จะทําให กระปองเกิดสนิมไดงาย จนอาจเกิดการรั่วทะลุ ทําใหเชือ้ โรคจากภายนอกเขาไปในกระปอง ได และควรจัดใหเปนหมวดหมูเพื่อหยิบใชไดสะดวกขึน้ และวางสูงจากพื้นอยางนอย 30 เซนติเมตร และสําหรับอาหารกระปองที่เปดบริโภคแลวคงเหลืออยู ตองถายเก็บในภาชนะที่ สะอาด มีฝาปดมิดชิด แลวเก็บไวในตูเย็น 4.4 น้ําดื่ม (เครื่องดื่มและน้ําแข็ง) น้ําดื่มและเครื่องดื่มควรเก็บในภาชนะที่สะอาด มีฝาปดมิดชิด และมีทาง ใหน้ํารินออกทางเดียว เชน คูลเลอร กาน้ํา น้ําดื่มประเภทน้ําพุ ควรสูงจากพื้นอยางนอย 60 เซนติเมตร สําหรับเครื่องดื่มประเภท น้ําผลไมที่บรรจุในโหลแกวควรจะมีฝาปด มีชอนสเตนเลสดามยาวไวสาํ หรับตัก เวลาตักใหวางแกวในจานรองเพื่อปองกัน เครื่องดื่มไหลลนผานกนแกวลงในขวดโหลอีกครั้ง สําหรับประเภทบรรจุในภาชนะ ปดสนิท การเก็บควรเก็บใหเปนระเบียบ แยกเปนสัดสวนเฉพาะ และวางสูงจากพืน้ อยางนอย 60 เซนติเมตร และ สามารถรักษาความเย็นไดนาน โดยเฉพาะน้ําแข็งที่ใชบริโภคควรแยกเฉพาะ หามนําอาหารหรือเครื่องดื่มมาแชใน น้ําแข็งที่ใชบริโภค เพื่อปองกันการปนเปอ นเชื้อโรคมาสูน้ําแข็ง มีอุปกรณที่มีดามยาวสําหรับคีบหรือตักประจํา หามใชมือหรือจานจวงตักโดยตรง ที่สําคัญที่เก็บน้ําดื่ม น้ําแข็ง ตองอยูหางจากอางลางมือหรือที่ลางภาชนะอุปกรณ อยางนอย 1 เมตร 4.5 นมและผลิตภัณฑจากนม นมเปรี้ยว ไอศกรีม เก็บในภาชนะสะอาดที่มีฝาปด ไมรั่วซึม และตองเก็บในอุณหภูมิที่ เหมาะสมกับประเภทของนม คือ นมประเภทพาสเจอรไรสและนมเปรีย้ ว ตองเก็บในตู แชเย็นอุณหภูมิ 4-10 องศาเซลเซียส และระยะเวลาจําหนายไมเกิน 3 วัน นับตั้งแตวนั บรรจุในภาชนะกอนดื่ม ควรสังเกตวันหมดอายุหรือควรบริโภคกอน นมประเภทสเต อริไรสหรือวิธียูเอชที ตองเก็บไวในที่เปนสัดสวนเฉพาะ สะอาด และสูงจากพื้นอยาง นอย 60 เซนติเมตร อยูในอุณหภูมิหองธรรมดาที่มีอากาศถายเทไดดี ไมควรโดน แสงแดดโดยตรง และสามารถปองกันสัตว แมลงนําโรคได ระยะเวลาจําหนายไมเกิน 6 เดือน นับตั้งแตวนั ผลิตหรือสังเกตจากวันหมดอายุบนภาชนะ ไอศกรีมจะแชแข็งในตูแ ชแข็ง อุณหภูมิต่ํากวา –2.2 องศาเซลเซียส เพื่อปองกันการหลอมละลาย ระยะเวลาจําหนายไมเกิน 5-7 วัน 4.6 อาหารปรุงสําเร็จ อาหารปรุงสําเร็จตองเก็บในตูหรือภาชนะที่สะอาด มีฝาปดปองกัน สัตวนําโรคได สูงจากพื้นอยางนอย 60 เซนติเมตร และจะตองอยูห างจากที่ลางมือ หรืออางลางภาชนะอุปกรณอยางนอย 1 เมตร เพื่อปองกันการกระเซ็นของน้ําสกปรก มาปนเปอนอาหารปรุงสําเร็จ 15

4.7 เครื่องปรุงอาหาร ควรเก็บในภาชนะสะอาด มีฝาปดมิดชิด และเก็บในทีเ่ ย็น ไมอับชืน้ สามารถปองกันแมลงและสัตวอื่นได โดยเฉพาะภาชนะใสน้ําสมสายชู น้ําปลา และ ชอนที่ใชตักตองทําดวยแกวหรือกระเบื้องเคลือบขาว หรือ สแตนเลส มีฝาปด และ ตั้งสูงจากพื้นอยางนอย 60 เซนติเมตร 4.8 การเก็บภาชนะบรรจุและอุปกรณ ปจจัยหนึ่งที่มผี ลกระทบตอความสะอาดปลอดภัยของอาหาร คือ ภาชนะ ที่ใสอาหารและอุปกรณทใี่ ชในการประกอบอาหาร ฉะนั้นเพื่อใหภาชนะอุปกรณ สะอาด ปลอดภัย จะตองรูถึงวิธีการสําคัญ 3 ประการ คือ ก. ตองรูจักเลือกใชภาชนะอุปกรณที่ทําจากวัสดุที่ไมเปนพิษ และใชใส อาหารไดเหมาะสมกับประเภทหรือชนิดของอาหาร ข. ตองรูจักการลางภาชนะอุปกรณที่ถูกตองตามหลักการสุขาภิบาลอาหาร ค. ตองรูจักเก็บและใชภาชนะอุปกรณใหถูกตอง 4.8.1 หลักการในการเลือกภาชนะอุปกรณ มีดังนีค้ ือ 1) ภาชนะอุปกรณนั้นตองไมทาํ หรือประกอบดวยวัสดุที่เปนพิษ เชน ไมทําจากวัสดุที่ ใชแลว หรือไมมีการตกแตงสีในสวนที่จะสัมผัสอาหาร 2) ภาชนะอุปกรณนั้นตองมีความแข็งแรง ทนทาน คือ ไมชํารุดสึกหรอหรือแตกกระเทาะ เปน สนิมงาย และตองทนตอการกัดกรอนของอาหารที่มีรสเปรี้ยวจัด เค็มจัด 3) รูปแบบตองทําความสะอาดงายและปลอดภัยตอการนําไปใช คือ มีผวิ เรียบ ไมมีรองหรือซอก ปากไมแคบ กนไมลึก ในกรณีที่มีสวนประกอบหลายชิ้น ตองสามารถถอดออกทําความสะอาดไดงาย 4) ภาชนะอุปกรณควรมีรูปแบบที่ปองกันการปนเปอนได อุปกรณที่ใชตักควรมีดามยาว หรือ ภาชนะที่เก็บน้ําดื่มควรออกแบบใหมีที่รนิ ออกเฉพาะ เปนตน 4.8.2 ภาชนะที่เหมาะสมสําหรับใชบรรจุอาหาร ไดแก 1) ภาชนะแกว ใชไดกับอาหารทุกประเภท โดยเฉพาะอาหารที่มีรสเปรี้ยวจัด เค็มจัด เชน อาหาร ยํา อาหารหมักดอง น้ําสมสายชู น้ําปลา ควรเปนแบบเรียบ ไมมีการตกแตงสี ไมมีซอกมุมที่ทําความสะอาดยาก ถา เปนแกวน้ําควรเปนประเภทปากไมแคบ กนไมลึก 2) ภาชนะกระเบือ้ งเคลือบ ใชไดกับอาหารทุกประเภท ควรเปนกระเบื้องเคลือบขาวหรือที่มีการ ตกแตงสีลวดลายใตน้ํายาเคลือบ สังเกตโดยเอามือลูบทีล่ วดลายจะรูสึกเรียบ กระเบือ้ งเคลือบที่ดีเมื่อเคาะจะเกิดเสียง ดังกังวาลใส ควรเลือกใชเฉพาะภาชนะเคลือบที่ไมมีลวดลายภายใน และกอนใชควรนําไปแชน้ํารอนผสม น้ําสมสายชูประมาณ 30 นาที แลวนําภาชนะนัน้ ไปลางน้ําใหสะอาดอีกครั้งหนึ่งเพื่อลดปริมาณสารตะกั่วที่อาจติด อยูที่ผิวภาชนะออก 3) ภาชนะเหล็กไรสนิม ใชไดกับอาหารเกือบทุกชนิด ยกเวนอาหารที่มีรสเปรี้ยว เพราะจะทําให เกิดคราบสีดําซึ่งขัดลางออกยาก การเลือกซื้อควรเลือกประเภทที่มีอัตราสวน เหล็ก : โครเมียม : นิเกิล = 64 : 18 : 8 16

(โดยทัว่ ไป คือ 18 : 8) เพราะมีความแข็งแรง ทนทาน ไมเปนสนิม ทนการกัดกรอนไดดี ควรเปนแบบเรียบ ไมมีรอง หรือตะเข็บทีท่ ําความสะอาดยาก 4) ภาชนะอลูมิเนียม ใชไดกับอาหารเกือบทุกชนิด ยกเวนอาหารที่มีรสเปรี้ยว เพราะจะทําใหเกิด คราบสีดํา ขัดลางยาก ประเภทที่เปนแผนบางนิยมใชหออาหารเก็บความรอนไดนาน ควรเลือกแบบที่ทําความ สะอาดงาย ไมมีรองหรือตะเข็บ 5) ภาชนะเหล็กเคลือบอีนาเมล ซึ่งตองผานการอบดวยความรอนสูง เพื่อใหสีติดแนน ตองเก็บริม หรือขอบโดยมวนหรือพับเขาไป ใชไดกบั อาหารทุกชนิด แตตองอยูใ นสภาพดี ไมแตกกระเทาะ 6) ภาชนะพลาสติกประเภทเมลามีน เปนพลาสติกที่มีรูปทรงถาวร ผานการผลิตโดยใชความรอน แลว ไมเหมาะที่จะใชกับอาหารที่มีรสเปรี้ยวจัด เค็มจัด อาหารที่มีไขมันมาก รวมทั้งอาหารที่รอนจัดดวย ควร เลือกใชประเภทพลาสติกเมลามีนที่ไมใสสหี รือมีสีออน 7) ภาชนะประเภทไม ไดแก เขียง ตะเกียบ ควรเลือกใชไมไมทาสี เปนเนื้อแข็งหรือแกนไม ไม แตกราวหรือเปนรอง ใชไดกับอาหารทุกประเภท เพียงแตภาชนะไมจะตองอยูในสภาพดี ไมอับชื้นจนเกิดราขึ้นได 4.8.3 หลักการเก็บภาชนะอุปกรณ การเก็บภาชนะอุปกรณ มีวัตถุประสงคเพื่อดูแลรักษาความสะอาดของภาชนะอุปกรณที่ผานการ ลางใหสะอาดแลว หรือที่สะอาดอยูในระหวางที่ยังไมไดนําไปใชงาน เพื่อใหพน จากการปนเปอนของฝุนละออง สิ่ง สกปรกตางๆ สัตวนําโรค และสารเคมีที่เปนอันตราย รวมทั้งการปนเปอนที่เกิดจากการหยิบจับภาชนะอุปกรณทไี่ ม ถูกตอง การเก็บภาชนะอุปกรณที่ถูกตองตามหลักการสุขาภิบาลอาหารมีดังนี้ คือ 1) เก็บภาชนะอุปกรณที่ผึ่งแหงดีแลวเทานั้น ไมนําอุปกรณที่ยังเปยกอยูม าเก็บ เพราะจะทําให บริเวณที่เก็บชืน้ แฉะ และปองกันมิใหสัตวนําโรคมาเกาะกินน้ําที่ตกคางอยูบนภาชนะอุปกรณหรือบริเวณที่เก็บ 2) บริเวณที่เก็บจะตองสะอาด ไมเปยกชืน้ ไมมีสัตวนําโรคมารบกวนและไมเก็บในบริเวณ เดียวกับทีใ่ ชเก็บสารเคมีที่เปนอันตราย 3) ลักษณะการเก็บ (1) ชอน สอม หรือตะเกียบ ใหเก็บในตะกราสูงโปรง โดยใหเอาสวนที่ใชหยิบจับหรือตักอาหาร ลงลาง และใหสวนที่เปนดามขึ้นบน (2) จาน ชาม หรือแกว ใหคว่ําไวบนตะแกรงหรือตะกราที่สะอาด (3) เครื่องครัว เครื่องใช ก. ชนิดที่มีหแู ขวน ไดแก หมอ กระทะ ใหหนั เอาสวนที่ใชใสอาหารเขาผนัง เอากนหมอ หรือกระทําหันออก โดยแขวนไวบนราวตะปูที่ตอกติดกับฝาผนังที่สะอาด ไมมีฝุน ละอองหรือหยากไย ข. ชนิดที่ไมมหี ูแขวน ไดแก ตะหลิว ทัพพี ใหเก็บเรียงใหเปนระเบียบ ถามีดามจับให หันดามจับไปทางเดียวกัน หรือใสตะแกรงไว ถาไมมีดามจับก็ใหคว่ําไว (4) ภาชนะอุปกรณที่ใชเพียงครัง้ เดียว ตองมีวสั ดุหอหุมใหมดิ ชิด

17

4) ภาชนะอุปกรณที่ไมไดแขวนไวใหนําไปเก็บในตูที่สะอาด ไมอับชื้น ปกปดมิดชิด ปองกัน สัตวนําโรคได หรือถาไมมีตูเก็บก็ใหเก็บในที่สูงจากพื้นไมนอยกวา 60 เซนติเมตร ในที่สะอาด ไมชนื้ แฉะ และไมมี สัตวนําโรคมารบกวน 4.8.4 หลักการใชภาชนะอุปกรณ กอนการใชภาชนะอุปกรณ จะตองตรวจสอบความสะอาดของภาชนะอุปกรณทจี่ ะนํามาใช และ จะตองหยิบใชในสภาพที่สามารถปองกันการปนเปอนได โดยมีหลักการดังนี้คือ 1) กอนการใช (1) ไมมีคราบไขมัน ฝุนละออง หยากไย หรือสิ่งสกปรกตางๆ ซึ่งมองเห็นได และถานํามา จุมน้ํา เมื่อยกขึน้ จะตองมีแผนน้ําเกาะติดอยูสักครูหนึ่ง ถาสวนใดทีน่ ้ําเกาะไมตดิ แสดงวามีคราบไขมันจับอยู (2) อยูในสภาพดี ไมแตกราว รอน กะเทาะ หรืออยูในสภาพที่ซอมแซมดีแลว (3) การติดตั้งอุปกรณที่มีขนาดใหญ ตองยกสูงจากพื้นไมนอ ยกวา 6 นิว้ ไมปดทึบและเวน ระยะหางระหวางอุปกรณอนื่ ๆ ดวยกัน และหางจากฝาผนังดวยเพื่อนํานวยความสะดวกในการทําความสะอาดพื้น ฝาผนังและตัวอุปกรณอื่นไดทั่วถึง (4) ภาชนะอุปกรณที่ใชเพียงครัง้ เดียว มีวัสดุหมุ หอปกปดมิดชิด 2) ระหวางใช (1) หลีกเลี่ยงการจับตองภาชนะอุปกรณ สวนที่สัมผัสอาหาร (2) ตองใชใหเหมาะสมกับชนิดของอาหาร ไดแก ไมใชพลาสติกกับอาหารรอน หรือมีรส เปรี้ยวหรือเค็มจัด และไมใชโลหะสแตนเลสหรืออลูมิเนียมกับอาหารที่มีรสเปรี้ยวหรือเค็มจัด (3) ไมวางชอน ทัพพี กับพื้นโตะโดยตรง ใหรองดวยจาน (4) ไมใชเขียงปะปนกันระหวางเขียงปรุงอาหารดิบและสุก และมีฝาชีครอบไวระหวางที่ ไมไดหนั่ หรือสับ (5) ไมใชชอนชิมอาหารตักจากหมอหรือกระทะโดยตรง และไมชิมจากทัพพีหรือกระจา (6) ไมใชแกวทีใ่ ชดื่มจวงตักน้ําดืม่ หรือน้ําแข็งโดยตรง (7) ภาชนะอุปกรณที่ใชเพียงครัง้ เดียว ประเภทภาชนะ จาน ชาม หรือถวยกระดาษเคลือบ ขี้ผึ้ง ใหเปดใชที่กนหอ สวนหลอดกาแฟใหเปดใชที่ขางหอเพื่อใหจับต่ํากวาปลายหลอดประมาณ 1 นิว้ ทั้งนี้เพื่อ ปองกันไมใหจับถูกสวนที่สมั ผัสอาหารหรือปาก เมื่อใชแลวตองทิ้ง หามนํากลับมาใชอีก แมจะนํามาลางก็ตาม เพราะกระดาษเคลือบขี้ผึ้งจะเก็บความสกปรกไดดแี ละเสียรูปงาย (8) ไมนําภาชนะอุปกรณที่ใชในกิจกรรมอาหารไปใชประโยชนอยางอื่น เชน ใสยาเบื่อลอ แมลงวัน ขอปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร 1. รักษาความสะอาด โดยลางมือทุกครั้งกอนจับอาหาร ระหวางการเตรียมอาหาร หลังออกจากหองน้ํา ลางทําความสะอาดอุปกรณเตรียมอาหารและพื้นครัว 18

2. แยกอาหารสดออกจากอาหารที่ปรุงสุกแลวเสมอ เพราะอาจมีการถายเทเชื้อจุลินทรียจากอาหารดิบ ไปสูอาหารสุกในขณะปรุงอาหารหรือเก็บอาหารได 3. ปรุงอาหารใหสุกทั่วถึง โดยใชความรอนไมนอยกวา 70 องศาเซลเซียส 4. เก็บรักษาอาหารไวในอุณหภูมิที่เหมาะสม โดยเก็บอาหารที่ปรุงสุกแลวที่อุณหภูมนิ อ ยกวา 5. องศาเซลเซียส หรือมากกวา 60 องศาเซลเซียส และไมควรเก็บไวที่อณ ุ หภูมิหองเกินกวา 2 ชัว่ โมง สวนอาหารสด เชน พืชผัก ผลไม เก็บไวในที่ที่มีอณ ุ หภูมิไมเกิน 10 องศาเซลเซียส สวนเนื้อสัตวเก็บไวในทีท่ ี่มี อุณหภูมิไมเกินกวา 4 องศาเซลเซียส 6. ใชน้ําสะอาดและวัตถุดิบที่ปลอดภัยในการปรุงอาหาร โดยเลือกอาหารสดที่มีคุณภาพ 7. การเลือกซื้ออาหารถุง อาหารควรอยูในภาชนะที่มีฝาหรือมีอะไรปดปองกันฝุนละออง 8. พอคา แมคา ควรมีอุปกรณปองกันสิ่งสกปรกตกลงไปในอาหาร ไดแก ผากันเปอน ผาคลุมผม เปน ตน และที่สําคัญกอนบริโภคอาหารถุงควรอุนใหรอนกอนทุกครั้ง

19

Related Documents