Food Poisoning Guideline 2008 : Annex2

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Food Poisoning Guideline 2008 : Annex2 as PDF for free.

More details

  • Words: 6,962
  • Pages: 54
ภาคผนวก 2. การรักษาโรคอาหารเปนพิษ (Food Poisoning) แยกตามชนิดของเชื้อ รวมทั้งการรักษาและแกพิษจากการรับประทานพืชพิษ เห็ดพิษ และสัตวพิษ โรคอาหารเป น พิ ษ คื อ ภาวะมี อ าการเกิ ด พิ ษ ขึ้ น หลั ง จากรั บ ประทานอาหารที่ ป นเป อ นเชื้ อ โรค (จุลินทรีย) หรือรับประทานพืช , สัตว , เชื้อรา ที่สรางสารพิษขึ้นไดในตัวเอง ภาวะพิษที่เกิดขึ้นมีฤทธิ์ตอ ทางเดินอาหาร หรือตอระบบอื่นๆ เชน ระบบประสาท ระบบการไหลเวียน และหลอดเลือด พิษตอหัวใจ ตับ และไต เปนตน จะขอกลาวแตละชนิดดังตอไปนี้ 1. สารพิษจากจุลินทรีย จุลนิ ทรียหลายชนิดสามารถสรางสารพิษได การเกิดพิษจะมีสารพิษดังกลาวปนเปอน ในอาหารและเครื่องดื่ม หรือปนเปอนเชื้อจุลินทรียที่เขาไปผลิตสารพิษในอาหาร การแสดงพิษที่เกิดขึ้นกับผูปวย แบงเปนกลุมใหญๆ ได 2 ประการ คือ 1) เกิดพิษตอระบบทางเดินอาหาร ไดแก คลื่นไส อาเจียน ปวดมวนในทอง หรือปวดทองบิด มี ภาวะอุจจาระรวง สวนใหญอุจจาระเปนน้ํา มีสวนนอยที่ถายเปนมูกหรือมูกเลือด ระยะฟกตัวมักจะสั้นราว เปนชั่วโมง จนถึง 1 – 2 วัน เมื่อมีอาการแลว ระยะเวลาการเจ็บปวยมักไมเกิน 1 – 2 วัน สารพิษที่เกิดจากจุลิ นทรียมี 2 ชนิด ที่ออกฤทธิ์ทางระบบทางเดินอาหาร ดังนี้ 1.1) Enterotoxin แบงยอยออกเปน 2 ชนิด คือ ก. Heat-stable enterotoxin ไดแก สารพิษจากเชื้อ Staphylococcus , Escherichia coli ข.Heat–labile enterotoxin ไดแก สารพิษจากเชื้อ Vibrio cholera, Vibrio parahemolyticus , Bacillus cereus ทั้ง Type I และ Type II , Clostridium perfringens และ Campylobacter jejuni 1.2) Endotoxin เปน toxin อยูในตัวของจุลินทรีย เชน Salmonella, Shigella พิษนี้จะหมด ไปเมื่อ จุลินทรียถูกทําลายหรือตายลงไป

1

Staphylococus food poisoning สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Staphylococcus aureus เปนสวนใหญที่ผลิตสารพิษ enterotoxin และมีสว นนอยจาก Staphylococcus epidemidis ซึ่งทั้งสองเปน aerobic gram positive cocci พิษของเชื้อนี้เปน heat-stable enterotoxin มีอยู 8 ชนิด ไดแก A , B , C1-3 , D , E และ F Enterotoxin A และ D พบมากในสหรัฐอเมริกา สําหรับ Toxin F ที่มักพบรวมกับอาหาร Toxic shock syndrome นั้น ไม พบในการระบาดของอาหารเปนพิษ อาการและอาการแสดง มีระยะฟกตัวสั้นมาก ทําใหผูปวยหลังรับประทานอาหารทีป่ นเปอน Enterotoxin นี้ จะ มีอาการเกิดขึน้ อยางรวดเร็ว อาการ ไดแก ปวดทองบิดรุนแรง คลื่นไส อาเจียน อุจจาระรวงเปนน้ํา มักไม มีไข แตอาจพบไขต่ําๆ ไดบา งเปนบางราย การวินิจฉัย 1. จากประวั ติ ก ารรั บ ประทานอาหารที่ บ ง ถึ ง การปรุ ง หรื อ การถนอมอาหารไม ถู ก สุขลักษณะแลว มีระยะฟกตัวสั้น มีอาการทางเดินอาหารดังกลาวขางตน โดยเฉพาะไดประวัติมีอาการพรอม กันหลายคน จะชวยวินิจฉัยไดมากทีเดียว 2. การตรวจอุจจาระ การเพาะเชื้อจากอุจจาระ จากสวนที่อาเจียนออกมา หรือจากอาหารที่ สงสัยจะมีพิษ จะสนับสนุนวินิจฉัยโรคไดแมนยํายิ่งขึ้น 3. ในการที่มี Outbreak อาจใชการตรวจ pulsed-field gel electrophoresis 4. บางครั้งอาจตรวจ Swab มือคนปรุงอาหาร ตรวจเสมหะจากจมูกหรือคอผูปรุงอาหาร ถาสงสัยก็อาจทําได การรักษา อันดับแรก ตองแกภาวะขาดน้ําและเกลือแรตามระดับความรุนแรงของภาวะขาดน้ํา สําหรับ อาหารเปนพิษมักจะมีภาวะอาเจียนบอย ทําใหการใหสารน้ําทางปากอาจไมไดผลได ในรายที่อาเจียนรุนแรง และบอย ตองพิจารณาการทดแทนน้ําใหมีประสิทธิภาพ ในรายขาดน้ํารุนแรง หรืออาเจียนบอยครั้ง ควรใหสาร น้ําทางหลอดเลือด การดําเนินโรคราว 1 – 2 วัน ผูปวยก็จะหายเปนปกติ สําหรับการใชยาปฏิชีวนะไมจําเปนตอง ใหสําหรับรายนี้ เมื่ อ ผู ป ว ยทุ เ ลาแล ว ควรให ค วามรู ด า นการป อ งกั น การเกิ ด โรคนี้ อี ก โดยเฉพาะให เ น น ทาง สุขอนามัยและการพิจารณาอาหารที่ควรรับประทานที่สะอาดปลอดภัย

2

Enteropathogenic Escherichia coli (ETEC) สาเหตุ บุคคลที่พบภาวะอุจจาระรวง คลื่นไส อาเจียน จะพบบอยใน 2 ประเภท คือ เด็กเล็ก โดยเฉพาะใน ประเทศกําลังพัฒนา (developing countries) หรือ/และผูใหญหรือนักทองเที่ยวทีเ่ ขามาเที่ยวในประเทศกําลัง พัฒนา ซึ่งบางครั้งเรียก Travelers diarrhea โดยจะรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่ปนเปอนเชื้อ ETEC ดังเชน Salad , น้ําแข็ง , ผลไม ฯลฯ เชื้อ ETEC เปน aerobic gram negative bacilli ซึ่งเปน 1 ใน 5 serotype ของ Escherichia coli อาการและอาการแสดง มีอาการของพิษตอทางเดินอาหารเชนเดียวกับอาหารเปนพิษจากพิษของเชื้อโรคอืน่ ๆ กลาวคือ ปวดทอง คลื่นไส อาเจียน และถายเปนน้ํา บางรายอาจมีไขได โดยเฉพาะในเด็กเล็ก การวินิจฉัย จากประวัติและตรวจรางกายแลว ตลอดจนประวัติการระบาด การสงอุจจาระ หรืออาหารที่ สงสัยตรวจหรือเพาะเชื้อสําหรับการตรวจแยก serotype ของ E.coli จะทําเฉพาะในรายที่สงสัย ตองการทราบ สาเหตุเมื่อมี outbreak เพราะตองการตรวจพิเศษ เชน DNA probe เพื่อแยกหา Serotype E. coli .ซึ่งมีถึง 5 Serotypes ไดแก Enteropathogenic E. coli (EPEC) , Enteroinvasive E.coli (EIEC) , Enterotoxigenic E. coli (ETEC) , Enterhemorrhagic E.coli (EHEC) และ Enteraggreative E. coli (EAggEC) การรักษา - เชนเดียวกับภาวะอุจจาระรวง อาเจียน ของอาหารเปนพิษจากเชื้ออื่นๆ คือ การทดแทนสารน้ํา – เกลือแร ตามระดับความรุนแรงของการสูญเสียไป - ในรายที่เปนเด็กเล็กที่มีไข อาจใช Antibiotic เชน Norfloxacin 10 – 20 mg/Kg./Day 3 – 7 วัน โดยทั่วไปไมตองใช Antibiotic อาการจะหายไปภายใน 1 – 2 วัน

Clostridium perfringens food poisoning สาเหตุ เกิดจากรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่ปนเปอน heat - labile toxin ซึ่งผลิตจากเชื้อ Clostridium perfringens type A toxin ซึ่งเปน anaerobic spore-forming gram positive bacilli (Clostridium perfringens type C Toxin เปนสาเหตุอุจจาระรวงชนิด Segmental gangrenous enteritis หรือ pig-bel disease ซึ่งไมเรียกวา เปน Food poisoning) ระบาดวิทยา เชื้อ C.perfringens แพรหลายในสิ่งแวดลอมทั่วไปทุกหนทุกแหง ที่พบบอยจะปนเปอนในเนื้อ วัวดิบ , เนื้อเปด , ไกดิบ Spore ของเชื้อนี้จะอยูคงทนนานในอาหารที่ปรุงแลว และ spore จะแตกตัวเปนเชื้อ C.perfringens ไดดีในอาการเย็น เมื่อรับประทานอาหารที่ปนเปอนเชื้อนี้เขาไปจะผลิต enterotoxin มีผลตอ ทางเดิ น อาหารโดยเฉพาะตรงลํ า ไส เ ล็ ก ส ว นปลาย อาหารเปน พิ ษ นี้มัก จะพบในคนที่อยู กัน มากๆ เช น

3

โรงเรียน, ในคายพักแรม นอกจากนี้ยังพบในอาหารรถเข็น หรือในรานอาหารที่ตองทําอาหารจํานวนมาก และเก็บอาหารในที่รอนนานๆ แตไมมีการติดตอของโรคคนสูคน อาการและอาการแสดง ระยะฟกตัว 6 - 24 ชม. (ที่พบบอยคือ 8 – 12 ชม.) จะมีอาการพิษตอทางเดินอาหาร กลาวคือผูปวยจะมีอุจจาระรวงปานกลางถึงรุนแรง มักปวดทองบริเวณลิ้นป แตมักไมคอยมีไขหรืออาเจียน บอย course ของโรคจะหายในเวลา 24 ชั่วโมง เนื่องจากไมคอยมีไขจึงมักแยกจากอาหารเปนพิษจากเชื้อ Salmonella และ Shigella แยกจากอาหารเปนพิษจาก Staph. Food poisoning จาก Incubation period ของ Staph. Food poisoning สั้นกวา สวนแยกจาก Bacillus cereus จากอาหารที่รับประทานเปนพิษของ B. cereus มักเปนอาหารประเภทปลา, หอย การวินิจฉัย C. perfringens พบในคนปกติไดแตนอยกวา 106 ดังนั้นการตรวจหา C. perfringens spore/gm ของอุจจาระใน 48 ชม. เมื่อเริ่มมีอาการจะชวยสนับสนุนการวินิจฉัย, อาจตรวจ C. perfringens toxin การตรวจ spore ดังกลาวแมนยําใชไดเพราะ spore อยูทนทาน (การตรวจเชื้อลําบากกวา) การรักษา การทดแทนสารน้ําเกลือแรแกภาวะขาดน้ําเปนสิ่งสําคัญไมจําเปนใช Antibiotic Vibrio parahemoliticus สาเหตุ เชื้อ Vibrio parahemolyticus เปนหนึ่งในหลายชนิดที่อยูในตระกูล Vibrio group ซึ่งมีหลายชนิด ดวยกัน เชน V. cholerae NonO1, V. mimicus, V.holliae etc. V. parahemolyticus เปน anaerobic motile gram negative bacilli ระบาดวิทยา เชื้อนี้พบในน้ําทะเล และมีอุบัติการณทําใหเกิดโรคสูงในฤดูรอน จากทีค่ นรับประทานอาหารทะเล โดยเฉพาะ ที่ยังไมทาํ ใหสุกหรือรอน เชน หอย ปู และกุง โรคนี้ไมติดตอคนสูคน นอกจากทําใหเกิด อาการทางเดินอาหารแลว อาจเปนเชื้อสาเหตุของบาดแผลที่ปนเปอนน้ําทะเลไดดวย อาการและอาการที่แสดง ระยะพักตัวราว 23 ชั่วโมง ( 5 – 92 ชั่วโมง) อาการที่เกิดคืออาการอุจจาระรวง ถาย เปนน้ําอยางเฉียบพลัน ปวดทองบิด มีไขต่ําๆราวครึ่งหนึง่ มีปวดศีรษะ ไขหนาวสั่น พบอาเจียนไดราวรอยละ 30 เชื้อนี้รุนแรงทําใหเกิดภาวะ septicemia ได course ของโรคจะหายไดเองใน 2 – 5 วัน แตถาผูปว ยที่มีภูมิ ตานทานโรคต่าํ หรือ เปนโรคตับเสี่ยงตอการเกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดมากกวาคนปกติ เชื้อเขากระแส เลือดนอกจากทางลําไสแลวอาจมาจากบาดแผลที่ติดเชื้อนี้ได การวินิจฉัย จากการเพาะเชื้อไดจากอุจจาระ หรือสวนที่อาเจียนออกมา, จากบาดแผล หรือจากเลือด (ที่มี ภาวะ Septicemia) การรักษา - การทดแทนสารน้ําเกลือแรแกภาวะขาดน้ําเปนปจจัยสําคัญอันดับแรก - รวมกับการให Antibiotic ที่ sensitive (เชน New quinolone (Norfloxain) หรือ ceftriaxone เปนตน) 4

Vibrio cholerae สาเหตุ V. cholerae เปน gram – negative curved motile bacillus มี 2 Bio – type คือ Classical และ El – Tor ปจจุบันที่พบมีระบาดบอยๆ ไดแก biotype El-Tor ซึ่งมี serotype Ogawa และ Inaba ตอมาในป 2535 พบ Toxigenic V.cholerae serogroup 0139 (หรือ Begal type ) V.cholerae เจริญไดดีใน alkali media รวมกับ Bile salt ระบาดวิทยา เชื้อนี้จะอยูไดดีในสิ่งแวดลอมที่เปนน้ําเค็ม (ที่เปน warm salty) ที่มีอาหารและ oxygen พบ ไดในรากตนไม อาหารทะเลที่ไมไดทําใหสุก เชน ปลา กุง ปู การติดตอจากสัมผัสคนสูคนพบไดนอย สวนใหญเกิดจากรับประทานอาหารที่ปนเปอนเชื้อนี้และปรุงไมสุกเปนสวนใหญ หรือจากเครื่องดื่มที่ปนเชื้อ เปนตน อาการและอาการแสดง ระยะฟกตัวราว 1 – 3 วัน อยูใน range 2 – 3 ชั่วโมง ถึง 5 วัน คนที่มีภาวะกรด ในกระเพาะอาหารนอย จะเสี่ยงตอการเกิดโรคนี้ไดงาย (เชนคนที่เปนโรคกระเพาะและรับประทาน antacid เปนเวลานานๆ) ผูปวยมีอาการถายเปนน้าํ พุง อาเจียนบอยครั้งมักไมปวดทอง ทําใหเกิดภาวะขาดน้ําเกลือแร รุนแรงในเวลารวดเร็วและเกิดภาวะ shock ไดงายจากการขาดน้ํา (เชนภายใน 4 – 12 ชั่วโมง) ลักษณะอุจจาระ อาจมีกลิ่นคาว และลักษณะคลายน้ําซาวขาว (ซึ่งลักษณะนี้ในเด็กเล็กมักไมคอยพบ) การวินิจฉัย จากการทํา rectal swab และสงเพาะเชื้อ เชนเพาะใน TCBS media (thio sulfate – citrate – bile – sucrase media) colony ของ V.cholerae สีเหลืองเรียบใน bluish – green back –ground ของ media การรักษา - การทดแทนสารน้ําเกลือแรตามระดับความรุนแรงของการขาดน้ําใหทนั ทวงที เปนหัวใจสําคัญ ในการรักษาอันดับแรก - การใชยาปฏิชีวนะโดยทัว่ ไปอาการอุจจาระรวงจะหายไปภายในเวลา 2-4 วัน จึงควรใชยาปฏิชีวนะ เฉพาะในผูปว ยและผูสัมผัส ทีต่ รวจพบเชื้อเทานั้น เพื่อลดระยะการปวยใหสนั้ ลงและชวยลดแหลง แพรเชื้อดวย โดยมียา tetracycline (50 มก./กก./วัน) หรือ doxycycline(6 มก./กก./วัน) เปนยาปฏิชีวนะ ที่แนะนําใหใชในอันดับแรก ยกเวนในจังหวัดหรือพื้นทีท่ ี่มีหลักฐานวามีการดื้อยาหรือเปนผูมีขอ หามตอการใช tetracycline เชนเด็กอายุต่ํากวา 8 ปหรือหญิงมีครรภ ใหพิจารณาเลือกใชตามความ ไวตอยาของเชื้อในทองถิ่นนัน้ ๆ ไดกe rythromycin,chloramphenical,ampicillin,furazolidone

5

Bacillus cereus food poisoning สาเหตุ B. cereus เปน aerobic บางครั้งเปน anaerobic Spore – forming Gram – positive bacilli ผลิต heat – labie enterotoxin นี้ มีคุณสมบัติ เปน Cytotoxic property ได ทําใหทําลายเนื้อเยื่อ และอาจเกิดโรคใน อวัยวะอื่นไดดว ย ระบาดวิทยา Bacillus cereus พบไดในสิง่ แวดลอมทัว่ ไป และพบบอยในสารอาหารดิบ หรือตากแหงและ อาหารที่ปรุงแลว Spore ของ B. cereus จะทนตอความรอนและสามารถคงอยูไดถาอาหารนั้นตมในอุณหภูมิ 25 – 42 oC หรือ 77 – 107.6 oF การเกิดโรคในผูปวยรับประทานหัวผักจะเกิดอาเจียนในระยะฟกตัวที่สั้น ถา เปนเนื้อผัก ทําใหเกิดอุจจาระรวงในระยะฟกตัวทีย่ าวนานกวา ภาวะโรคไมถายทอดคนสูคน การวินจิ ฉัย Isolate B. cereus ที่มี conc 105 หรือ มากกวาตอ gram ของอาหารที่มีเชื้อโรค นอกจากนีย้ ัง พบเชื้อนี้ในอุจจาระ และสวนที่อาเจียนดวย การเพาะเชือ้ และการหา Serotype เปนการสนับสนุน การวินิจฉัยสาเหตุ ถามีการระบาดขั้นตอนวินจิ ฉัยโดย Phage typing DNA hybridization หรือ enzyme electrophoresis การรักษา - การทดแทนสารน้ําเกลือแรตามระดับความรุนแรงการขาดน้ํา - การใช Sensitive antibiotic เชน New quinolone และ aminoglycoside

Campylobacter jijuni สาเหตุ Campylobacter เปน microaerophilic gram negative curved rod มี 18 species ที่ทําใหเกิดโรค ในคน มี 2 species คือ Campylobacter jijuni และ Campylobacter coli เชื้อนี้ เปน non – spore forming rod ลักษณะ gram strain ดูคลายรูปตัว S ระบาดวิทยา การเกิดโรคในคนเกิดจาก รับประทานอาหารหรือน้ําจากในสิ่งแวดลอมที่มีเชื้อนี้ เชน สัตว เลี้ยง แมว สุนัข หรือเปด ไก เร็วๆนี้พบเชื้อนี้ในหอยนางรม และ หอยแมลงภู หอยกาบ การติดตอคนสู คนของเชื้อนี้เปนไปได จากที่เชื้ออยูใน ผาออมเด็ก อยูไ ดนานเปนอาทิตย หรืออาจเปนเดือน อาการและอาการแสดง จะมีไข ถายเปนน้ําในระยะแรก ตอมาทําใหเกิดการอักเสบของลําไสใหญและ rectum ซึ่ง C. jijuni นี้เปน invasive organism ทําใหเกิด invasive enteritis ระยะหลังจะมีถายเปนมูกและมูกเลือดได หรือเกิด Hemorrhagic jejunitis และ ileitis ก็ได มีพบวา C. jejuni เขากระแสเลือดเกิด septicemia ได

6

C. jejuni พบราว 90 – 95 % ในขณะที่เหลือเปน C. coli ระยะฟกตัว 1 – 7 วัน ผูปวยถายเปนน้ําในตอนเริ่มแรก และเปนมูกเลือดคลายบิดในตอนหลัง มีไขอาเจียนและออนเพลียดวย ปวด กลามเนื้อ เด็กโตมีปวดทองไดบางครั้ง ตองแยกอาการปวดทองจาก Ac. Appendicitis และ intussusception สวนใหญอาการจะหายไปในกวา 1 สัปดาห มีอาการอยูน านถึง 2 สัปดาหประมาณ 5–10 % การวินิจฉัย จาก gram stain และการเพาะใน media พิเศษ เชน Sparrow media ในภาวะ microareophilic หรือการตรวจจาก DNA probe หรือ PCR การรักษา การทดแทนน้าํ เกลือแรตามความรุนแรงการขาดน้ํา และ sensitive antibiotic

Shigella Infection สาเหตุ Shegella เปน Gram – negative non motile bacilli อยูใน family Enterobacteriacae มี 4 species ( > 40 Serotypes) ไดแก S. sonnei, S. flexneri, S. dysenteriae และ S. boydii การระบาด อุจจาระในคนปวยโรคนี้เปน source ของการติดเชื้อ ไมมีสัตวเปน reservoir สิ่งนี้สงเสริมให ติดเชื้อมากขึ้น คือ คนอยูกันหนาแนน , low hygiene standard , low standard food sanitation การแพรเชื้อโดย Fecal – oral transmission จากคนสูคน อีกอยางคือการรับประทานอาหาร หรือน้ําทีป่ นเปอนเชื้อ Shigella อาการและอาการแสดง มีอาการไขสูงทันทีทันใด บางรายเด็กชักได ในวันแรกๆของการมีไข อาจมีอาเจียนบาง ถายเปนน้ําบอยครั้งในระยะแรกตอมาจะมีถายเปนมูก มูกเลือดปวดทองบิด และถายมีอาการปวดเบง ซึ่งทั้ง 3 ภาวะรวมกันเรียก dysenteric syndrome ระยะฟกตัวของเชื้อนี้อยูระหวาง 1 – 7 วัน และที่พบบอยคือ 2 – 4 วัน การวินิจฉัย เพาะเชื้อ Shigella จากอุจจาระหรืออาหารที่ปนเปอนเชื้อโดยเพาะใน Shigella – Salmonella agar ถาไมไดรับยาปฏิชีวนะเชื้อจะหายไปใน 4 สัปดาห Chronic carrier > 1 ป พบนอย การรักษา - Antimicrobial therapy จะ short course ของโรค และควรใหยานาน 5 วัน เปนอยางนอย - การทดแทนสารน้ํา และยารักษาตามอาการ เชน แกไข แกปวดทอง พิจารณาใหตามความจําเปน

7

Salmonella infection (Non – typhoidal Salmonellsis) สาเหตุ Salmonella เปน gram – negative bacilli อยูใน Family Enterobacteriacae แบงตาม Somatic antigen แบงออกไดหลาย serogroup serogroup ที่ทําใหเกิดโรคในคน มี Serogroup A หรือ E ที่พบบอย ในคน ไดแก S. typhimuricem (Serogroup B) , S. enteritidis (Serogroup D) , S. new port (Serogrop C) เปนตน การระบาดวิทยา reservior ของ Non typhoidal Salmonella คือสัตว ไดแก เปด ไก สัตวเลื้อยคลาน ปศุสัตว สัตวเลีย้ ง ตัวนําอาหารหลายชนิด เชน ผลไม ผัก ขาว โดยสิ่งตางๆ ดังกลาวปนเปอ นกับสัตว หรือคนที่มีเชื้อ หรือดื่มน้ําที่สมั ผัสกับสัตวที่ติดเชื้อ (เชน สัตวเลี้ยง เตา ตัว eguanas และสัตวเลื้อยคลานอื่นๆ) ถายทอดคนสู คน หรือ fecal – oral route หรือ เครื่องมือเวชภัณฑที่ปนเปอนเชื้อ Salmonella รับประทานไขที่ปรุง ไมสุก นมดิบ ฯลฯ อายุทพี่ บเชื้อนี้สูงสุดคือเด็กอายุตา่ํ กวา 5 ป พาหะของเชื้อนี้มี 1 % ที่อยูในคนไดนานถึง มากกวา 1 ป อาการและอาการแสดง อาจจะไมมีอาการโดยเฉพาะ หรือมีอาการ มีไข ถายเหลว หรือมีภาวะ Septicemia หรือมี focal infection ได (เชน meningitis, osteomyelitis, abscess) สําหรับอาการอาหารเปนพิษของ Non typhoidal enterititis ซึ่งมักพบในเด็กเล็ก จะมีไข ต่ําๆ มีอาเจียนบางไมมาก ถายเปนน้าํ ในระยะแรกตอมาจะถายเปนมูก หรือมูกเลือดพบราย 5 – 10 % ที่เกิด Salmonella bacteremia ได การวินิจฉัย การเพาะเชื้อจากอุจจาระ, เลือด, ปสสาวะ โดยใช Salmonella – Shigella agar เปน media การรักษา - การทดแทนสารน้ําเกลือแรตามระดับการขาดน้ํา - ใหยาปฏิชวี นะที่ sensitive โดยเฉพาะใน Host ที่ออนแอ (เชน เด็กทารก, เด็กขาดอาหาร, เด็กมีภาวะภูมคิ ุมกันบกพรอง ฯลฯ)

8

หลักการรักษา เมื่อไดรับสารพิษทางปาก *เปนการเพิ่มเติมใหนอกเหนือจากการรักษาโรคอาหารเปนพิษ ซึ่งหวังวาคงเปนประโยชน* *นิยาม โรคอาหารเปนพิษยังคงยึดตามนิยามโรคของสํานักระบาดวิทยา ( ICD10) ซึ่งไมรวมการไดรบั สารพิษ แตการรักษาหากทราบวิธีแกพิษไมวาจะมีสาเหตุจากการติดเชื้อหรือสารพิษจากการรับประทานพืชพิษ เห็ดพิษ หรือสัตวพิษก็ตามจะทําใหมคี วามมั่นใจในการใหการรักษา มากขึ้น ก. หลักการรักษาทั่วไป 1. ตรวจ Vital sign ( P, R, BP.) และใหการรักษาทันทีถาผิดปกติ 2. รักษาตามอาการ เชน ใหยากันชักในรายที่ชัก เปนตน 3. พยายามนําสารพิษออกจากผูปวยโดยเร็ว 4. ใหยาแกพิษ (antidote) ถามี 5. สังเกตอาการของผูปวยอยางใกลชิด จนกวาจะพนอันตราย และติดตามผลไปอีกสักระยะหนึ่ง 6. รวบรวมขอมูล (เผื่อในรายเปนคดี หรือผูปวยฆาตัวตายหรือทํารายตนเอง) และใหดูแลการรักษา ทางจิตใจ และแนะนําผูปกตรองเด็กปองกันไมใหเกิดอุบัติเหตุทํานองนี้อีก ข. การกําจัดสารพิษ การไดรับสารพิษโดยการกิน เปนสาเหตุสวนใหญของการไดรับสารพิษในเด็กเล็ก พิจารณาทําการกําจัดสารพิษดังตอไปนี้ 1. การทําใหอาเจียน 1.1ถาผูปวยไมอาเจียน ใหยา Ipecac syrup ซึ่งประกอบดวย cephaline และ emetine ซึ่งเปน ยาที่ควรเลือกใหอันดับแรกในการทําใหอาเจียน ยา ออกฤทธิ์กระตุนศูนยอาเจียนที่สมองสวน Medulla ภายใน 20 – 30 นาที ไดผลดีมากกวาการกําจัดโดยลางทอง และไดผลดีแมจะไดรบั ยากันอาเจียนมากอน Dose : อายุต่ํากวา 9 เดือน ไมมีการยืนยันขนาดที่ใช และความปลอดภัย ควรจะใหทํา Nasogastric tube แทนถาจําเปน ให 5 มล. (1ชอนชา) ถาสังเกตอาการได (ยังไมมีหลักฐานที่ยานี้มีพิษตอเด็กในครรภ) อายุ 9 – 12 เดือน ให 10 มล. (2 ชอนชา) ครั้งเดียว อายุ 1 ป – 12 ป ให 15 มล. (1 ชอนโตะ) ใหซ้ําไดอีกครั้งถายังไมอาเจียนภายใน 15–30 นาที อายุมากกวา 12 ปให30 มล.(2 ชอนโตะ)ใหซ้ําไดอีกครั้งถายังไมอาเจียนภายใน 15–30 นาที หลังใหยาควรใหดื่มน้ํา 1 – 2 แกว ไมควรดื่มนมเพราะยาจะออกฤทธิ์ชา เมื่อผูปวยอาเจียน จะตองเก็บสิ่งอาเจียนเพื่อดู สี กลิ่น หรือยา และสงตรวจทางหองปฏิบัติการเสมอ ขอหามในการกระตุนใหอาเจียน X ผูปวยที่ไมมี gag reflex เชน อยูในภาวะ coma, ชักหรือไมคอยรูส ึกตัว 9

Y กินสารพิษดังตอไปนี้ ก. สารกัดกรอน เชน ดาง, กรด, หรือไมใหกรดและดาง เชน ยาฆาหญา (paraquat) ข. สารที่จะกดระบบประสาทกลางไดรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหผูปวยไมรูสึกตัว เชน ethanol, tricyclic antidepressant ค. สารที่กระตุนระบบประสาทกลาง ทําใหชกั ตั้งแตตน เชน การบูร, isoniazid, strychnine, tricyclic antidepressant ง. กลุม hydrogen carbon เชน น้ํามันรถ, gasoline, benzene ฯลฯ Z ผูปวยอาเจียนมาแลว หรืออาเจียนเปนเลือด [ ทารกอายุนอยกวา 6 เดือน เพราะอาจทําใหสําลักไดงาย และยังไมมีการศึกษาประสิทธิภาพ หรือ อันตรายของยาทําใหอาเจียน (Ipecac) \ เด็กกลืนสิ่งแปลกปลอม เพราะการอาเจียนมักไมคอยสําเร็จ และยังเสี่ยงตอการสําลักเขา ทางเดิน หายใจทําใหเกิดการอุดกัน้ ทางเดินหายใจ(Resp-obstruct) ซึ่งอันตราย ] ไมมีเสียง gurgling sound 1.2 ให apo morphine ขนาด 0.1 มก./กก. Sc. ออกฤทธิ์ภายใน 2 – 5 นาที แตมีขอเสียคือยา นี้กดสมองสวนกลาง จึงไมควรใหในผูปวยที่ไดรับ narcotic drug ปจจุบันไมใชในเด็ก และตองเตรียมยาใหม ทุก 3 สัปดาห จึงไมสะดวกในการใชอกี ดวย 2. การลางกระเพาะ (gastric lavage) ควรลางกระเพาะในกรณีที่ผูปว ยไมมี gag reflex, ชัก, ไม รูสึกตัว หรือมีอาการทางระบบหายใจ หรือในรายที่ใช Ipecac syrup แลวไมไดผล ทาที่เหมาะสมในการทําการลางทอง ใหผูปวยนอนหัวคว่ํา ตะแคงหนาไปทางดานซาย เพื่อ ปองกันการสําลัก และเพื่อดูดสารจากกระเพาะไดมากที่สุด ถาจําเปนอาจตองใสทอหายใจ ( endotracheal tube) กอนทํา gastric lavage ของเหลวที่ดดู ไดครั้งแรก จะตองแยกเพื่อสงวิเคราะห ควรใชน้ําอุน หรือ half strength saline 15 มล./กก. ลางจนกระทั่งใส ยกเวนถามียา antidote พิเศษ ในเด็กโตลางดวยน้ําประปาธรรมดา ยกเวนในครั้งสุดทายจึงใชนา้ํ เกลือดังกลาว ขอหามในการลางกระเพาะโดยทั่วไป ( gastric lavage) 1. ในกรณีไดรบั ดางแก เชน น้ํายาที่ใชทําความสะอาดเตาอบ, ลางทอ, น้ํายายืดผม (Sodium hydroxide) ดางเมื่อถึงกระเพาะอาหารจะถูกกรด neutralized ใหลดความเปนดาง แตทําใหเกิดความรอนขึ้น ถาได ปริมาณมากอาจทําใหกระเพาะอาหารทะลุได สําหรับกรดแก ถาไดรับมาภายใน 1 ชม. อาจจะลางไดดวยความ ระมัดระวัง 2. สารกัดกรอน เพราะอาจทําใหหลอดอาหารหรือกระเพาะอาหารทะลุได 10

3. ผูปวยมีการชักที่ควบคุมไมได เพราะอาจสําลักหรือบาดเจ็บ 4. ผูปวยที่ไดรบั petroleum แลวยังไมไดใส endotracheal tube 5. ผูปวยที่ไมรสู ึกตัวและยังไมไดใส endotracheal tube 6. ผูปวยที่การเตนหัวใจไมปกติ ตองรักษากอน เพราะการใส N-G tube อาจกระตุน Vagal reflex ทําใหเกิดอันตรายถึงเสียชีวิตได 3. การทําใหสารพิษเจือจาง ในรายที่ผูปวยไดสารกัดกรอนและตรวจแลวพบวายังไมมี หายใจลําบาก หลอดอาหารไม ทะลุ หรือช็อก ควรทดสอบการกลืนน้ําปริมาณนอยๆ ถากลืนไดใหน้ําหรือนม 60 มล. ในเด็กเล็ก, 250 มล. ในเด็กโต แตไมควรดื่มน้ําถาผูปวยจะตองไปทํา endoscopy ไมควรใหสารที่ไป neutralizing solution เพราะจะเกิดปฏิกิริยาความรอน ผูปวยจะแนนหนาอก และปวดแสบปวดรอนมากยิ่งขึ้น 4. การใชสารดูดซับพิษ ผงถาน activated charcoal เปนตัวมีประสิทธิภาพในการดูดซับสารพิษ หลายชนิด อาจใชเปน universal antidote ของสารพิษทุกตัว แตอยางไรก็ตามอาจขัดขวางการดูดซึมของ สารตานพิษบางอยางได เชน N-acetyl cysteine ที่ใชแกพิษของ Paracetamol Dose : ใช 1 – 2 ก./กก. หรือ 8 – 10 เทาของสารพิษที่ไดรบั หรือประมาณ 10 -30 กรัม ควรใช ชนิดผงเทานัน้ เพราะชนิดเม็ดไมไดผลโดยใหละลายในน้าํ (ไมควรใชนมหรือไอศกรีมเพราะจะทําให ประสิทธิภาพลดลง) จะไดผลดีถาใหภายใน 2 ชม. หลักกินสารพิษ และซ้ําไดทกุ 2 ชม. ไมควรใหพรอมกับ Ipecac syrup เพราะทําใหอาเจียนชาลง แตสามารถใหรวมกับยาระบาย เชน magnesium sulfate หรือ sodium sulfate ได ขอหามในการใช activated charcoal 1. ผงถานจะไมมปี ระสิทธิภาพในพิษจากสาร corosive agent และยังมีอาการที่แทจริงของ พิษได 2. ไมมี gurgling sound ของลําไส 3. ไมใหในราย GI obstruct หรือ peritonitis 4. ไมทราบตําแหนงของสายสวนกระเพาะที่เขาไป 5. ไมมี gag reflex หรือถาจําเปนตองใช ควรใส endotracheal tube กอน ในกรณีที่สารพิษ นั้นถูกดูดซึมแลว ขับออกทางน้ําหลั่งของกระเพาะ เชนยา amphetamine, tricyclic antidepressant ควรใหผงถานซ้ําทุก 4–6 ชม. 3–4 ครั้ง เรียกวา gastrointestinal dialysis

11

5. การใหยาระบาย (catharsis) แมวายานี้จะกําจัดสารพิษจากทางเดินอาหารสวนลางไดนอย แตก็ ยังชวยในสวนที่ทําใหอาเจียน และลางทองแลวยังกําจัดไมหมดทีเดียว หรือโดยเฉพาะสารพิษที่เปนของแข็ง หรือยาเม็ด enteric coat จึงควรใหยาระบายตามหลังให activated charcoal ทุกครั้ง ยาระบายที่ใชมี magnesium sulfate (งดใชในผูปวยโรคไต) sodium sulfate sorbitol (ไมควรใชในเด็กอายุ < 1 ป และใหอยางระมัดระวังในเด็กอายุ < 3 ป) ถาใหแลวไมถายอุจจาระใน 4 – 5 ชม. ควรเหน็บหรือสวนทวาร ขอหามในการใชยาระบาย 1. ไมมี gurgling sound 2. มี GI obstruction หรือมี Peritonitis 3. มีภาวะผันผวนใน electrolytes 4. มีเลือดออกทางทางเดินอาหาร 5. หามให magnesium sulfate ในผูปวยโรคไตผิดปกติ 6. หามให sodium sulfate ในรายจํากัดเกลือ เมื่อสารพิษ เขาอยูในกระแสเลือดแลว เรงขับออกโดย ทํา hemodialysis hemoperfusion exchange blood transfusion alkalinized urine เพื่อขับออกทางไต ในสารพิษบางชนิด

การใช Antidote มีสารพิษไมกี่ชนิดทีม่ ี antidote ไดแก 1. Antidote จําเพาะออกฤทธิ์โดยตานสารพิษจาก หมดพิษ 1.1 แยงจับ receptor เชน Naloxone แยงจับ receptor กับสารพิษ opiate 1.2 เรงการแยกตัวออกจากสารพิษ เชน thiosul ตานสารพิษ cyanide โดยแยงจับ ferric ion ทําใหเกิด methemoglobinemia (แยงจับ ferric ion กับ cyanide) หมดพิษ cyanide 1.3 ออกฤทธิ์แยกตัวของสารประกอบ เชน 2PAM แยกตัวสารประกอบ Organophosphate acetylcholine esterase ทําให acetylcholine esterase กลับมาทํางานไดเปนปกติ 2. ตานสารพิษโดย ดึงสารพิษออกจากจุดที่ออกฤทธิ์ 12

เชน Fab fragment ของ antibody จะไปแยงจับ digitalis ที่ receptor ใน myocardium แลวขับ ออกทางไต ทําให myocardium กลับมาทํางานไดปกติ 3. ตานการออกฤทธิ์ของสารพิษ เชน atropine แกฤทธิ์ muscarinic cholinergic ของOrganophosphate 4. ตานพิษโดยเรงการกําจัดออก เชน d-penicillamine เรงการขับ copper ออกจากตับในโรค Wilson disease เปนตน หมายเหตุ 1. แมยาตานฤทธิ์สารพิษ จะชวยลดปริมาณ ความรุนแรงและภาวะแทรกซอนที่เกิดขึน้ จากสารพิษ แตการใชตองพิจารณาใหเหมาะสม เพราะสิ่งเหลานี้โดยตัวมันเองก็มพี ษิ ซึ่งการใชจํานวนมากไปอาจเกิดพิษ อันตรายได 2. กรณีไดรับสารพิษทุกชนิด แลวไมแนใจวิธแี ก โทร.ปรึกษาไดที่ ศูนยพษิ วิทยา คณะแพทย ศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี ( โทร.0-2466-6262 , 0-201-1000 ตอ ศูนยพษิ วิทยา) Reference สุวรรณา เรืองกาญจรเศรษฐ การรักษาสารพิษ ตํารากุมารเวชศาสตร ฉบับเรียบเรียงใหมเลม1 ภาควิชากุมารเวชศาสตร รามาธิบดี วันดี วราวิทย และคณะ บรรณาธิการ 2540 : 780 - 785

สารพิษจากพืชพิษที่พบไดในประเทศไทย พืชพิษ คือ พืชที่ประกอบดวยสารพิษ หรือผลิตสารพิษในปริมาณทีม่ ากพอที่จะกอใหเกิด อันตราย ตอมนุษยและสัตวได อันตรายที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงตางกัน อาจถึงขั้นเกิดโรค พิการ หรือเสียชีวิต พืชบางชนิดเกิดพิษเพียงระยะสั้น ถาไดรับการแกไขถูกตอง รางกายก็จะกลับคืนสูภาวะปกติได การเปนพิษของพืช อาจเนื่องจากสารพิษเพียงอยางเดียว หรือหลายชนิดก็ได สารเหลานี้มี ลักษณะ และแหลงที่มาตางๆกัน พืชที่เปนพิษมักมีสารประเภทตางๆ ดังนี้ 1. Vegetable base ประกอบดวย amine, purine และ alkaloid ตัวอยาง caffeine, morphine, strychnine ฯลฯ 2. Glycosides ตัวอยาง digitoxin, theivetin (พบในรําเพย) ฯลฯ 3. Saponin เปนสารที่พบมากในพืช กวา 400 ชนิด เชน ประคําดีควาย, สะบามอญ, จิก ฯลฯ 4. Toxalbumin ตัวอยาง พืชสกุล สลอด ละหุง สบูดํา สบูแดง

13

5. Fixed oil สารนี้ประกอบดวย glycerol และ fatty acid หลายชนิด ตัวอยาง น้ํามัน สลอด น้ํามันสบูดํา น้ํามันละหุง 6. Volatile oil เปนสารที่ทําใหพืชมีกลิ่น เชน การบูร ผักชีฝรั่ง จันทนเทศ ฯลฯ 7. Resin มีสวนประกอบหลักคือ resin ester complex acid ตัวอยาง เชน ยางจากตน มะมวงหิมพานต ยางจากสลัดได บางอยางมีคุณสมบัติ เปนสารฆาแมลง เชน หางไหล, ครามปา, ดอกรัก, กัญชา เปนตน 8. Organic acid ที่เปนพิษ ไดแก oxalic acid และ formic acid สําหรับ oxalic acid มี ในพืชหลายชนิดและอยูในรูป calcium oxalate sodium oxalate และ potassium oxalate ผลึก calcium oxalate ไมละลายน้ําพบใน บอนวานหมื่นป ทําใหระคายเยื่อเมือก ปาก และลําคอ, พบมี calcium oxalate ตกตะกอนที่ไต เปนตน 9. Photodynamic substances สารนี้ตัวเองไมมีพิษ แตจะเกิดเปนพิษเมื่อคนหรือสัตวนั้น ถูกแสงสวาง ตัวอยาง พืชโคกกระสุน 10. Selenium และ fluoride พืชบางชนิดสามารถดูด Selenium จากดินทําใหเกิดพิษได เชน ขาวสาลีปลูกในดินที่มธี าตุ Selenium สูง

การออกฤทธิ์ของพืชพิษที่แสดงออกหลายระบบตางๆ กัน

ดังนี้

1. พิษตอผิวหนัง เกิดอาการคัน ปวดแสบ ปวดรอน บวมแดง หรือมีตุมพองเกิดขึน้ ตัวอยางพืชกลุมนี้ ไดแก บอน เผือก วานสาวนอยปะแปง หมามุย ตําแย บอนวานหมืน่ ป สําหรับน้าํ ยาจากตนหรือเมล็ดจาก โพธิ์อินเดีย สบูดํา สบูแดง ละหุงและสลอด ฯลฯ

บอน

เผือก

หมามุย

ตําแย

2. พิษตอทางเดินอาหาร มีอาการคลื่นไส อาเจียน ปวดทอง อุจจาระรวง เคยมีรายกงานเด็กนักเรียน จ. นนทบุรี 21 คน เก็บเมล็ดโพธิ์ศรีมารับประทาน หลังจากนั้นราว 10 นาที – 6 ชั่วโมง 30 นาที (โดยเฉลี่ย 60 นาที) เด็ก 20 คน มีอาการ ดังนี้ - ปวดทองรอยละ 78 - แสบรอนในคอรอยละ 67 - อาเจียนรอยละ 64 - คลื่นไสรอยละ 32 - อุจจาระรวงรอยละ 28 และ - ปวดศีรษะรอยละ 17 หลังจากไดรับการรักษาแลวทุกคนหายเปนปกติ นอกจากนีย้ ังมีพืชพิษที่แสดงออกทางทางเดินอาหารอีก เชน สบูดํา หนุมานนั่งแทน ผืนประดับ ฯลฯ 14

สบูดํา

หนุมานนั่งแทน

3. พิษตอหัวใจและหลอดเลือด glycoside เปนสารมีสวนประกอบเปนน้ําตาลอยูในพืช บางชนิดไมมีพษิ บางชนิดมีพษิ ที่มีพิษ เชน digitoxin พบใน digitalis , thevetin พบในรําเพย นอกจากนีพ้ บในยี่โถ ที่ทาํ ใหเกิดพิษ ตอหัวใจ โดยทําใหหวั ใจเตนชาหรือเตนผิดปกติ มีรายงานเกิดพิษในคนที่รับประทานน้ําผึ้งจากตัวผึ้งที่ไปดูด น้ําหวานจากดอกยี่โถ และพบในคนที่รับประทานเนื้อยางที่ใชกิ่งยี่โถเสียบ ทําใหเกิดพิษและมีอนั ตรายถึง เสียชีวิต

รําเพย

ยี่โถ

4. พืชที่มีสาร Belladonna alkaloid พืชชนิดนี้สามารถนํามาใชทํายา atropine พบวาพืชทั้งตนมีพิษ แต อุบัติเหตุที่เกิดพิษมากที่สุด คือ เมล็ด โดยพิษทําใหเกิดอาการตาพรา เนื่องจากรูมานตาขยาย ปากและคอแหง กระหายน้ํา ปสสาวะไมออก ทองผูก เพอคลั่ง และชัก ตัวอยางเชน เสพยหรือเคี้ยวใบลําโพง หรืออีกชื่อ เรียกวา มะเขือบา ซึ่งอาการที่เกิดคือพิษของ atropine

ลําโพง 5. พิษตอระบบประสาทสวนกลาง เกิดอาการชักจากถูกสารพิษกระตุน เชน Strychnine ในเมล็ดแสลงใจ morphine จากยางของผลฝน หรือการเสพกัญชา หรือกินดอกจันทนทาํ ใหเกิดประสาทหลอนได สารพิษบาง ชนิดมีฤทธิ์ทําใหกดประสาท เชน ระยอม ใบกระทอม เปนตน

15

แสลงใจ

ดอกฝน

6. พิษจาก Hydrocyanic acid กรดนี้เปนสารพิษที่สลายมาจาก glycoside ซึ่งทําใหเกิดพิษ คือ อาเจียน แขนขา ออนแรง เดินเซ กลามเนื้อกระตุก หายใจลําบาก เพอ ชัก หรือไมรูสึกตัว ตาบอด เชน กินหัวมันสําประหลังดิบ เปนตน

มันสําปะหลัง 7. พิษตอตับ พืชในตระกูล crotalaria และ senecio มี alkaloid pyrrolizidine ซึ่งมีพิษตอตับ คนพื้นเมืองของ หมูเกาะอินเดียตะวันตกปวนเปนโรคตับแข็ง เพราะรับประทานชาที่ชงจากพืชชนิดนี้เปนประจํา สําหรับ ประเทศไทย พืชที่มีพิษตอตับ เชน หิ่งหาย และ หญางวงชาง

หญางวงชาง

หิ่งหาย

8. พิษตอไต พืชที่มีพิษตอไต ไดแก ดองดึง (gloriosa superha) ตนดองดึงมีปลูกที่ภาคกลางและภาคใต ที่ จ.ประจวบคีรีขันธ ปลูกสงตางประเทศ โดยเขาใชรากไปสกัดเปน cochicine ซึ่งเปนยารักษาโรคเกาต มี รายงานจากประเทศไทยวามีคนเปนไตวาย และเสียชีวิตจากการรับประทานน้ําตมรากดองดึง

16

สรุป ตัวอยางพืชมีพิษในประเทศไทย 1. พืชมีพิษ ทีใ่ หความระคายเคืองตอผิวหนัง เนื้อเยื่อออน และนัยนตา

หมามุย

ตําแย

ตําแยชาง

หญาคา

กะลังตังชาง

พญาไรใบ

ชวนชม

สลัดไดปา

โปยเซียน

มะมวงหิมพานต

โพทะเล

หนุมานนั่งแทน

ฝนตน

คริสตมาส

ตาตุมทะเล

พลูแฉก 2. พืชมีพิษ ตอระบบทางเดินอาหารและระบบหมุนเวียนโลหิต ไดแก

17

ชุมเห็ดเทศ

บอนสี

บานบุรีสีเหลือง

ปตตาเวีย

ผกากรอง

ฝนตน

พลับพลึงตีนเปด

แพงพวยฝรั่ง

รัก

วานสี่ทิศ

วานแสงอาทิตย

วานหางจระเข

สลัดได

หนุมานนั่งแทน

3. พืชมีพิษ ทีร่ ายแรงจนอาจทําใหเสียชีวิตได

ชวนชม

เทียนหยด

มะกล่ําตาหนู

มันแกว

มันสําปะหลัง

ยี่โถ

ราตรี

รําเพย

ละหุง

ไฮแดรนเยีย

เพชฌฆาตสีทอง

18

พืชพิษ มะกล่ําตาหนู

มะกล่ําตาหนู ชื่อวิทยาศาสตร Abrus precatorius L. เปนพืชอยูในตระกูล Papillionaceae มีชื่อสามัญ หลายชื่อ อาทิ rosary bean, Indian bead, crab’s eye, jequirity bean etc. ชื่ออื่นๆ เชน มะกล่ําแดง, ตาดํา ตาแดง, กล่ําตาไก ฯลฯ ลักษณะของพืช เปนพืชตระกูลถั่ว มีใบออกเปนคูรปู ขนนก มีใบฝอย 8 – 15 คู ขอบใบเรียบ ออกดอก เปนชอที่ซอกใบ ดอกมีหลายสี เชน มวง, แดง, ชมพู, หรือขาว ผลเปนฝกคลายถั่วลันเตา ภายในฝกจะมี เมล็ด 3–5 เมล็ด กลมรียาวขนาด 6 – 8 มิลลิเมตร เมล็ดมีเปลือกแข็ง เมล็ดสีแดงสดเปนมัน มีสีดําตรงขอ ประมาณ 1 ใน 3 ของเมล็ด มะกล่ําตาหนู เปนพืชที่ขึ้นไดทั่วไปบริเวณในประเทศและแถบศูนยสตู ร ไดแก ทางตอนใตของจีน, อินเดีย, ฟลิปปนส, ศรีลังกา, ตอนใตของแอฟริกา และประเทศไทย เปนตน สวนที่เปนพิษ คือเมล็ด โดยภายในเมล็ดมีสารประกอบ ของ N-methyl tryptophan, abric acid, glycyrrhizin, lipotytic enzyme และ abrin ซึ่งสูตร โครงสรางของ abrin คลาย ricin เปนสวนที่มีพิษสูง มาก ถาเคี้ยวหรือกินเขาไป เพราะสารพิษจะไปทําลายเม็ดเลือดแดงและทางเดินอาหารและไต

19

การเกิดพิษ สาร abrin ที่มีพิษรายแรงในเมล็ดมะกล่ําตาหนู เมื่อถูกความรอนจะสลายตัวงายแตคงทนอยูใน ทางเดินอาหาร ซึ่งพิษขนาดเพียง 0.01 มก./กก. ( หรือ = 1 เมล็ด) ก็ทําใหเสียชีวติ ไดถาสารพิษนี้ถูกผิวหนัง อาจทําใหเกิดผื่นคัน ถาถูกตาทําใหตาระคายเคือง และอาจถึงตาบอดได

อาการและอาการแสดง (ของพิษการรับประทานเมล็ดมะกล่ําตาหนู) ระยะแรก จะมีอาการทางระบบทางเดินอาหาร เกิดขึ้นภายในเวลาไมกี่ชั่วโมงหลังจากรับประทาน ไดแก อาเจียน ปวดทอง อุจจาระรวง ในรายมีอาการรุนแรง อาจมีอาเจียนเปนเลือด ถายอุจจาระมีมูกเลือด อาจเกิดภาวะ hypovolumic shock ไดจาก severe, blood, loss ระยะตอมา ประมาณ 2 -3 วัน ผูปว ยจะมีอาการทางระบบอื่น เชน ซึม, กลามเนือ้ ออนแรง, หัวใจ สั่น, มือสั่น, ผิวหนังแดง, ชัก, อาจมี retinal haemorrhage, ตับวาย และไตวาย เปนตน เคยมีรายงาน เมื่อป 2541 จากจังหวัดบุรีรมั ย เด็กชายอายุ 4 ป กินเมล็ดมะกล่ําตาหนูเขาไป แตโชคดี แพทยชว ยชีวติ ไวทัน การรักษา 1. Symptomatic and supportive treatment เพื่อใหคนไขอยูใ นภาวะ stable เชน รักษาภาวะ hypovolemic shock จากการเสียเลือด หรือเสียน้ําเกลือแรมาก, ให Diazepam แกภาวะชักกอน เปนตน 2. กําจัดสารพิษ ถาคนไขไมมีอาเจียนเปนเลือด หรืออาเจียนไมมาก ให Ipecac syrup เพือ่ ให อาเจียนหรือลางทอง เพื่อเอาสวนของสารพิษที่ยังไมถกู ดูดซึมออกไปจากรางกาย ถาไมมีอุจจาระรวงอาจให ยาระบายได ดวยเหตุผลกําจัดสารพิษออกจากทางเดินอาหาร เชนเดียวกัน 3. ทําปสสาวะ (urine) ใหเปนดางเพื่อปองกันการตกตะกอนของ hemoglobin หรือ product (จาก สารพิษทําให เม็ดเลือดแดง ( rbc ) แตก ที่ไต ซึ่งจะทําใหเกิดภาวะแทรกซอนตามมาได 4. ในรายพิษรุนแรงอาจตองทํา hemodialysis ถาจําเปนเพื่อกําจัดสารพิษที่ถูกดูดซึมเขากระแสเลือด แลวออกไปจากรางกาย สถานที่เกิดเหตุ หมูบา นขุมเงิน ตําบลโศกสวาง อําเภอพนมไพร จังหวัดรอยเอ็ด ตัวอยาง วันที่เกิดเหตุ 18 ธันวาคม 2548 ผูไดรับพิษ ผูเสียชีวิตนองออน เด็กหญิง อายุ 8 ขวบ รายละเอียด ชวงพักกลางวัน นองออนไดเดินไปเก็บมะกล่ําตาหนูที่ขึ้นอยูในกอไผหนาบานกิน ไป 1 เม็ด โดย รูเทาไมถึงการณ พอตกค่ํากลับมาบานอาการจึงสําแดง 20

อาการพิษ กอนเสียชีวิตมีอาการคลื่นไสอาเจียนอยางรุนแรงหลายครั้ง และออนเพลียมาก มีอาการไตวายเฉียบพลัน อาเจียนเปนเลือดสดๆ เสียชีวิตในวันตอมา สาเหตุพิษ เมล็ดมะกล่ําตาหนูเปนพิษมากที่สุดคือเมล็ด หากกลืนทั้งเมล็ดจะไมเปนพิษเนื่องจากเปลือกจะไมถูกยอย ในกระเพาะอาหารและลําไส แตหากขบหรือเคี้ยวเมล็ดใหแตกและกลืนเขาไป จะเปนอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต ทันที เพราะ ภายในเมล็ดมะกล่ําตาหนูมีสารพิษหลายชนิดที่รุนแรงที่สดุ คือ สารเอบริน เอ-ดี (abin a-d) เปนสาร กลุมเลกทิน (lctin) ออกฤทธิ์โดยตรงตอเซลลเม็ดเลือดแดง ทําใหเซลลตาย โดยสารเอบรินเอ-ดี เปนโปรตีนที่ เปนพิษมาก แมไดรับสารพิษนี้เพียง 0.01มิลลิกรัม ตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม หรือกินเพียง 1 เมล็ด ก็ทําให เสียชีวิตได หากสารพิษถูกผิวหนังจะทําใหเกิดอาการผื่นคัน ขอมูลจําเพาะของพืชชนิดนี้ เปนไมเลื้อยกิ่งยอย มีใบเล็กๆ หลายใบเรียงกันเปนรูปคลายขนนก มีใบยอย 8-15 คู ขอบใบเรียบออกดอกเปนชอ ที่ซอกใบ กลีบดอกมีหลายสี เชน มวง แดง ชมพู หรือขาว ผลเปนฝกคลายถั่วลันเตา ภายในฝกจะมี 3-5 เมล็ด เมล็ด กลมรียาว ขนาด 6-8 มิลลิเมตร มีเปลือกแข็ง สีแดงสดเปนมัน มีสีดําตรงขั้วประมาณ 1 ใน 3 ของเมล็ด เมื่อฝกแกจะมีสี น้ําตาล พืชชนิดนี้มกั พบในเขตอากาศรอน เปนพืชที่ขึ้นไดทวั่ ไปบริเวณประเทศในแถบเสนศูนยสูตรบริเวณทางตอน ใตของจีน อินเดีย ฟลิปปนส ศรีลังกา ตอนใตของแอฟริกา และประเทศไทยมีชื่อเรียกหลายชื่อ ไดแก มะกล่ํา เครือ กล่ําตาไก มะแค็ก ไมไฟ มะกล่ําแดง เกมกรอม ชะเอมเทศ ตากล่ํา และมะขามเถา เนื่องจากเปนพืชที่มี เมล็ดสีสันสวยงาม บางคนจึงนิยมนํามาทําเปนเครื่องประดับ ทําใหจากประวัติที่พบมักเปนเด็กทีน่ ําไป รับประทานดวยความรูเทาไมถึงการณ เมื่อไดรับสารพิษเขาไป เริ่มแรกจะมีอาการของระบบทางเดินอาหารภายในเวลาไมกี่ชวั่ โมง ไดแก อาเจียน ทองเสีย ปวดทอง ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจมีอาเจียนเปนเลือด ถายอุจจาระมีมูกเลือด และช็อกจาก การเสียเลือดได ระยะตอมาประมาณ 2-3 วัน ผูปวยจะเริ่มมีอาการทางระบบอื่น เชน ซึม กลามเนือ้ ออนเพลีย ใจสั่น มือสั่น ผิวหนังแดง ชักตับวาย ไตวาย อาการพิษของมะกล่ําตาหนู ความรุนแรงอาจเกิดมากนอยแตกตางกัน ขึ้นอยูก ับ ปจจัยหลายดาน เชน ขนาดทีร่ ับประทาน สภาวะรางกาย และอายุของผูไ ดรับพิษ ทั้งนี้ สวนดีของมะกล่ําตาหนูก็มีไมนอ ย แพทยแผนไทยนํารากแหงของมะกล่ําตาหนูมาตมดื่มแกไอ แกหวัด เจ็บคอ แกหลอดลมอักเสบ ดีซาน ขับปสสาวะ ขับเสมหะ และแกเสียงแหง แตตองใชโดยหมอพื้นบานที่มีความรู ความชํานาญเทานั้น นอกจากมะกล่ําตาหนูแลว พืชมีพิษที่อาจพบไดบอ ยและควรระมัดระวัง ไดแก เมล็ดของตนสบูดํา เมล็ด ของตนแสลงใจ เมล็ดของตนพิษลักษณ ทีส่ งผลรายตอรางกายไดเชนกัน เอกสารอางอิง 1. http://www.geocitis.com/toxicol2001/Jequiritybean.html 21

2. พืชมีพิษ มะกล่ําตาหนู (2006 Apr 22) Available from URL: http://www.rspg.thaigov.net/plants_data/use/toxi.33.html 3. สมุนไพรไทย (2006 Apr 2). Available from : URL:http://www.udondee.com 4. สถาบันการแพทยแผนไทย กระทรวงสาธารณสุข เตือนภัยมะกล่ําตาหนู (2006 Apr 22) Available from : http//ittm.dtam.morph.go.th.

พืชพิษ มันสําปะหลัง (Cassava Food Poisoning)

มันสําปะหลัง มีชื่อทางวิทยาศาสตรวา Manibot esculenta crantz อยูใ นตระกูล Euphorbiaceae มีชื่อสามัญ วา topioca plant, cassava, monioc ในภาคตางๆของประเทศไทยเรียกตางๆกันไป เชน มันสําโรง (ภาค กลาง), มันตน, มันไม (ภาคใต) เปนตน มันสําปะหลัง เปนพืชไมพุมสูง 2 – 4 เมตร มีรากสะสมอาหาร ลําตนมียางสีขาว ผิวลําตนมีรอยแผลเปน ของใบอยูทั่วไป รากออกเปนกลุม 5 – 6 กลุม ใบเดี่ยวออกแบบเวียนแผนใบเวาลึกขอบไมเรียบ ดอกออกเปน ชอตามงามใบใกลบริเวณยอด โดยแยกเปนดอกตัวผูและชอดอกตัวเมียโดยทั้ง 2 อยูบนตนเดียวกัน ผลคอนขางกลม สวนที่เปนพิษ คือ สวนราก ซึ่งมีสาร cyanogenetic glycoside พบในสวนราก ซึ่งตอมาจะสลายเปน hydrocyanic acid ซึ่งเปนสารพิษที่มีอยูในรากมันสําปะหลังดิบ ถาคนไปกินรากมันสําปะหลังดิบจะเกิดเปน พิษขึ้น ถาคนรับประทานมันสําปะหลังดิบจะทําใหเกิดเริ่มแรกมีคลื่นไส อาการและอาการแสดงของสารพิษ อาเจียน ตอมามีกลามเนื้อทํางานไมสัมพันธกัน เกิดอาการหายใจขัด กลามเนื้อออนเพลีย ชักกระตุก หมด สติ เสียชีวิตไดถารักษาหรือแกไขไมทนั การรักษา 1. ถาพิษจากการสูดดม cyanide (เชน ตัวอยาง เผามันสําปะหลังกอนนํามารับประทาน) 22

1.1 ใหดม amyl nitrite 0.2 มล. ทันที และให O2 1.2 ตอดวย sodium nitrite และ sodium thiosulfate ทางหลอดเลือดโดยให 3% Sodium nitrite 10 มล. rate 2.5 – 5 มล./นาที ถาความดันต่ํากวา 80 มม.ปรอท ตองหยุดให 1.3 จากนั้นให sodium thiosulfate 50 มล. ใน rate 2.5 – 5 มล./นาที ถาฉีดแลวตองหยุด ดม Amyl nitrite ถาความดันต่ํามาก อาจตองให norepinephrine ถามีอาการกลับมาอีกตองให antidote ซ้ํา พิจารณาตามความเหมาะสมเปนรายๆไป 2. จากการรับประทาน มันสําปะหลังดิบ ตองลางทองดวยดางทับทิม ( KMnO4 1:5,000) จะไดผล ทันที จากนัน้ ใหการรักษาเชนเดียวกันกับไดรับทางเดินหายใจ ดังกลาวขางตน หลักการและการอธิบายในการรักษา ดังกลาว 1. ความมุงหมายการให nitrite เพื่อเปลี่ยน Hb ไปเปน methemoglobulin (containing ferric ion) เนื่องจาก ferric ion ของ Hb ไปรวมกับ cyanide ดังกลาวขางตน 2. การให sodium thiosulfate ก็เพื่อจะทําใหเกิด nontoxic thiocyanate แลวถูกขับออกจากรางกาย 3. ในรายที่ไมมี nitrite อาจใช methylene blue แทนไดแตไมดีเทาเพราะเกิด metHb ชามาก 4. การให oxygen นั้น เนื่องจาก metHb ที่เกิดขึ้นจะทําใหเลือดนํา oxygen ไปสูสมองไดนอยลง จึงตองชวยทางออมโดยการให oxygen Reference 1. 2.

http://www.pharm.chula.ac.th/vsuntree/Cleom.html พาณี เตชะเสน การวัด cyanides พิษวิทยา หลักการวินจิ ฉัยและรักษา 2521 : 54 - 55

23

พืชพิษ ดองดึง

ดองดึง ชื่อทางวิทยาศาสตร : Glorisa superda Linn. อยูในตระกูล : Colchicaceae (Liliaceae) ชื่ออังกฤษ : Climbing lily, Superb lily, Turk’s cap ชื่อไทย : กามปู (ชัยนาท), คมขวาน, หัวขวาน, บองขวาน (ชลบุรี), ดาวดึงส, วานกามปู (ภาคกลาง), พันมหา (นครราชสีมา), มะขาโกง (ภาคเหนือ) ดองดึงเปนไมพื้นบานในแถบเอเชีย โดยเฉพาะชอบขึ้นตามชายทะเล จึงมักพบขางทางของชายทะเล แตปจจุบนั พบนอยแลว ที่จะประจวบคีรีขนั ธปลูกไวเพื่อสงตางประเทศ โดยนําไปสกัดทํายารักษาโรคเกาต ดองดึงเปนพืชลมลุกประเภทพันธุไมเลื้อยมีใบเลี้ยงเดีย่ ว และมีอายุหลายป มีลําตนใตดินเปนที่สะสม อาหาร, น้ํา มาเลี้ยงลําตน ผลิตดอกอกใบ ตลอดจนการใหผลผลิตตางๆ ประโยชน ดองดึงมีประโยชนทั้งทางสมุนไพร และทางดานการเกษตรและปศุสัตว อาทิเชน เนื่องจากลําตน ใตดินหรือเหงามีสาร alkaloid lumicolchicine ในรากมีสาร supernin ใบและเปลือกหุมเมล็ดมีสาร colchicines ซึ่งทางการแพทยนํามาใชรกั ษาโรคเกาตและมะเร็งบางชนิด โรคเรื้อน ฯลฯ ทางการเกษตร ใช ปรับปรุงพันธุพืช เพราะ colchicines ไปกระตุนเซลลพืช ทําใหไดพืชที่มีลักษณะแตกตางจากพันธุเดิม ทํา 24

ใหพืชมีผลิตผลสูง คุณภาพของผลผลิตดีดวย มีผูใชปราบราไก, เหา, เชื้อรา และแบคทีเรียบางชนิดจนการ ปราบแมลงศัตรูพืช ทางดานปศุสัตว ใชเหงาดองดึงในการถายพยาธิในสัตวเลี้ยงเชนวัว ควาย พิษของดองดึงตอคน ดองดึงแมจะมีประโยชนดังกลาวขางตนแลว ก็ยงั มีพิษตอคน โดยสวนทีเ่ ปนพิษ คือ หัว ใตดิน (เหงา) โดยมีสารพิษ คือ colchicines โดยออกฤทธิ์ระคายเคืองตอระบบทางเดินอาหาร อาการและอาการแสดงของพิษ คลื่นไส อาเจียน ทองเดิน ปวดทองหลังจากรับประทานเขาไปประมาณ 2-6 ชั่วโมง ตอมา ปากและคอจะรอนไหมและกระหายน้ํา กลืนลําบาก การอาเจียนอาจจะรุนแรงมากและไมสามารถควบคุม อาการได ในกรณีที่เกิดอาการพิษอยางเฉียบพลัน จะมีอาการทองเดินและอาจจะถายเปนน้ําและมีเลือดปน ออกมาดวย เนื่องจากมีการทําลายเสนเลือดเกิดขึน้ ทําใหรางกายสูญเสียน้ําและเกลือแรมาก อาจมีอาการหมด สติเกิดขึ้นได นอกจากนี้ ทอไตก็ถูกทําลายเชนกัน ทําใหถายปสสาวะเปนเลือด แตปริมาณปสสาวะนอย มี อาการจุกเสียดทองและปวดเบงปสสาวะ กลามเนื้อออนเปลี้ย และในที่สุดระบบประสาทสวนกลางเปน อัมพาตทําใหตายได เนื่องจากหยุดหายใจ ซึ่งปกติจะเกิดขึ้นภายใน 1-2 วัน (ทําใหระบบประสาทสวนกลางเปน อัมพาต) การรักษา 1. รีบนําสงโรงพยาบาลทันที เพื่อทําการลางทอง ใหน้ําเกลือปองกันการช็อค 2. รักษาตามอาการที่เกิดขึ้น เชน ฉีดยา atropine หรือ meperedine (50-100 มก.เขากลาม) สําหรับแกปวดทอง Reference 1. ธัญมาศ บวชกระโทก มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. ดองดึงสมุนไพรไทยและไมตัดดอกอนาคตไกล. (2006 Apr 20). Available from : URL:http://www.cpflower.com. 2. ดองดึง.(2006 Apr 20).Available from: URL:http//thaimedicinalplant.com/popup/congduang.html. 3. กองพฤกษศาสตรและวัชพืช. ดองดึง. (2006 Apr 20). Available from : URL:http://www.doa.go.th/botany/dong1.html.

25

พืชพิษ สบูด ํา

พืชกลุมนี้มี สบูดํา สบูขาว และสบูแดง สบูดํา และสบูขาว มีพิษตอคน แสดงออกทางทางเดินอาหาร ถารับประทานเมล็ดเขาไป อาการคือ คลื่นไส อาเจียน ปวดทอง อุจจาระรวง อาจถายเปนเลือดได มีความดันต่ํา รูมานตาขยาย ชักได สวนสบูแดง มีชื่อทางวิทยาศาสตรตางไป คือ Jatropha Gossypifolia L. มีชื่อภาษาไทยวาสบูแดง ละหุงแดง, สบูเลือด, สลอดแดง, สีลอด เปนตน สวนที่เปนพิษตางจาก 2 ชนิดแรกซึ่งพิษอยูที่เมล็ด แตสบูแดงอยูที่น้ํา ยางใส ซึ่งสารพิษยังไมทราบ ฤทธิ์ของพิษ คือ ระคายเคืองตอผิวหนัง อาการจะมี คัน ปวดแสบปวดรอน อักเสบบวม พองเปนตุมน้ําใส ถาถูกตาทําใหตาอักเสบ อาจทําใหตาบอดชั่วคราวหรือถาวรได

26

ในที่นี้จะขอกลาวเฉพาะพิษของสบูดาํ สบูดํา (Physic nut) เปนพืชน้ํามันชนิดหนึง่ มีชื่อทางวิทยาศาสตรวา Jatropha curcas Linn. เปนพืชที่อยูในวงศ ไมยางพารา Euphorbiaceae เชนเดียวกับสบูแดง ปตตาเวีย ฝนตนหรือมะละกอฝรั่ง หนุมานนั่งแทน โปยเซียน มันสําปะหลัง มะยมมะขามปอม ผักหวานบาน ฯลฯ ซึง่ มีความหลากหลายกันคอนขางมากในลักษณะตน ใบ ชอดอก ผล และเมล็ด สบูดําเปนพืชพืน้ เมืองของอเมริกาใต ชาวโปรตุเกสนําเขามาในชวงปลายสมัยกรุงศรี อยุธยา เพื่อรับซื้อเมล็ดไปคัดบีบเอาน้ํามันสําหรับทําสบู น้ํามันที่ไดจากเมล็ดสบูดํา ยังสามารถใชกับ เครื่องยนตดีเซลที่เกษตรกรใชอยูได โดยไมตองใชน้ํามันชนิดอื่นผสมอีก ใชเปนสมุนไพรรักษาโรค ใชปลูก เปนแนวรั้ว เพือ่ ปองกันสัตวเลี้ยงเขาทําลายผลผลิต สบูดําจึงเปนพืชทีน่ าใหความสนใจเปนอยางยิ่งในสภาวะที่ ราคาน้ํามันดีเซลมีราคาสูงอยางในปจจุบัน สบูดํา เปนชื่อเรียกในภาคกลาง ภาคเหนือเรียกวา มะหุง ฮั้ว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียกวา มะเยา หรือ สี หลอด ภาคใตเรียก มะหงเทศ มะเคาะ เมล็ดสบูดํามีสารพิษเรียกวา CURCIN หากบริโภคแลว ทําใหเกิดอาการ ทองเดินเหมือนสลอด ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมพุมยืนตนขนาดกลาง สูงประมาณ 2-7 เมตร ลําตนมีลักษณะเกลีย้ งเกลา ใบเรียบมี 4 แฉก คลายใบละหุง แตมีหยักตื้นกวาใบที่เจริญเติบโตเต็มที่ มีมีขนาดเทาฝามือ ลําตน ใบ ผล และเมล็ด มีสาร hydrocyanic สังเกต ไดเมื่อหักลําตน สวนยอดหรือสวนกานใบจะมียางสีขาวขุนคลายน้ํานมไหลออกมา มีกลิ่นเหม็นเขียว ตนสบู ดําออกดอกเปนชอกระจุกทีข่ อสวนปลายของยอด ขนาดดอกเล็กสีเหลืองมีกลิ่นหอมออนๆ มีดอกตัวผูจํานวน มากและดอกตัวเมียจํานวนนอยอยูบนตนเดียวกัน เมื่อติดผลแลวมีสีเขียวออนเกลีย้ งเกลาเปนชอพวงมีหลายผล เวลาสุกแกจัดมีสีเหลืองคลายลูกจัน รูปผลมีลักษณะทรงกลมขนาดปานกลาง เปลือกหนาปานกลาง มีปลูกทาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต ผลหนึ่งสวนมากมี 3 พู โดยแตละพูทําหนาที่หอหุมเมล็ดไว เมล็ด สีดําขนาดเล็กกวาเมล็ดละหุง พันธุลายขาวดําเล็กนอย สีตรงปลายเมล็ดมีจุดสีขาวเล็กๆ ติดอยู เมือ่ เก็บไวนาน จุดนี้จะหดตัวเหี่ยวแหงลง ขนาดของเมล็ดเฉลี่ยความยาว 1.7-1.9 เซนติเมตร หนา 0.8-0.9 เซนติเมตร น้ําหนัก 100 เมล็ด ประมาณ 69.8 กรัม เมื่อแกะเปลือกนอกสีดําออกจะเห็นเนื้อในสีขาว พิษวิทยาของสบูดํา เมล็ด สารพิษในเมล็ดคือ curcin มีฤทธิ์ตอสัตวหลายชนิดและมนุษยดงั นี้ ฤทธิ์กับหนู พบวาสารพิษ curcin มีฤทธิ์ยบั ยั้งการสรางโปรตีน แตในทางกลับกันพบวาในเมล็ด สบูดํา มีสารบางชนิด ซึ่ง มีฤทธิ์เปน tumor promoter กลาวคือไมเปนสารกอมะเร็ง แตสามารถกระตุนใหเซลล ที่มียีนผิดปกติเนื่องจากของสารกอมะเร็ง แบงตัวอยางรวดเร็วและอาจพัฒนาเจริญเปนกอนมะเร็งได พิษเฉียบพลันของเมล็ดสบูดํา

27

- พิษกับหนู เมือ่ ใหทางปากในหนูถีบจักร พบวาทําใหหนูตาย เนื่องจากการคั่งในหลอดเลือด และ/หรือ เลือดออกในลําไสใหญ ปอด - พิษกับลูกไก พบวาเมื่อนําเมล็ดมาผสมอาหารใหลูกไกกิน ทําใหลูกไกโตชา ตับและไตโต - พิษในสัตว เชน แกะ แพะ ทําใหทองเสีย ขาดน้ํา ไมกินอาหาร และมีเลือดออกในอวัยวะ ภายใน เชน กระเพาะอาหาร ปอด ไต หัวใจผิดปกติ มีเลือกออกหลายแหงในรางกาย - พิษที่พบในเด็ก ที่รับประทานเมล็ดสบูดําไดแก อาการกระสับกระสาย คลื่นไส อาเจียน ทองเดิน และขาดน้ํา อาจถายเปนเลือดไดมีความดันโลหิตต่ํา - พิษที่พบในผูใหญ กรณีที่เปนสายพันธุที่มสี ารเปนพิษสูง หากรับประทานเพียงแค 3 เมล็ด ก็ เปนอันตรายแกระบบทางเดินอาหาร แตบางพันธุรับประทานถึง 50 เมล็ดก็ไมเปนอันตราย ประโยชน และพิษของสบูด าํ ประโยชน เมือ่ หีบเมล็ดเปนน้ํามัน ใชทดแทนน้ํามันดีเซลที่เกษตรกรใชอยูจนทุกวันนี้ พิษ สารพิษในสบูดํา คือ curcin มีฤทธิ์เหมือนสลอด เมื่อกินเขาไปจะมีอาการเปนพิษตอทางเดินอาหาร การรักษา 1. กําจัดสารพิษออกทางทางเดินอาหาร เชน ทําใหอาเจียน ลางทอง ดูดซับสารพิษดวยผง activated charcoal หรือใหยาระบาย ประคับประคอง และรักษาตามอาการ 2. รักษา symptomatic และ supportive treatment เชนใหสารน้ําเกลือแรแกภาวะขาดน้ํา ใหเลือดใน รายที่เสียเลือดมาก ใหยาแกปวดทอง เปนตน Reference 1.ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดชัยนาท (จักรกลเกษตร) ตําบลเขาทาพระ อําเภอเมือง จังหวัด ชัยนาท 2. กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยไทยสถาบันการแพทยแผนไทย ป 2548 3. สุวรรณา เรือนกาญจนเศรษฐ การรักษาสารพิษ ตํารากุมารเวชศาสตร ฉบับเรียบเรียงใหมเลม1 ภาควิชา กุมารเวชศาสตรรามาธิบดี วันดี วราวิทย และคณะบรรณาธิการ 2540 : 780 - 785

28

สารพิษจากสัตวที่มีพิษ ตัวอยาง ปลาปกเปา แมงดาทะเล ปลาทะเลที่มีพิษ หอยน้ําเค็มและหอยน้ําจืด คางคก ฯลฯ 1. พิษจากหอย

พิษจากหอยทําใหเกิดอาการได 3 รูปแบบ

1.1 พิษตอระบบทางเดินอาหาร ผูปวยจะมีอาการคลืน่ ไส อาเจียน ปวดทอง และอุจจาระรวง อาการจะเกิดขึน้ 8 – 12 ชั่วโมง หลังรับประทานหอยเขาไป ซึ่งสาเหตุเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ที่ ติดอยูกับหอย เชน V.Cholerae V.parahemolyticus หรือ Norovirus เปนตน (รายละเอียดแสดงในอาหารเปน พิษเกิดจากเชือ้ จุลินทรีย) 1.2 พิษจากการแพหอย (allergic reaction) ภาวะนีเ้ กิดขึ้นเฉพาะบางเทานั้น ที่ไวตอการแพ ผูปวย จะมีผื่นคัน ลมพิษ ปากและคอบวมทําใหหายใจลําบาก อาจทําใหเสียชีวิตได อาการมักเกิดขึ้นในเวลา รวดเร็ว (ภายใน 30 นาที ถึง 6 ชั่วโมง) (นอกจากการแพหอยแลว บางคนมีแพอาหารที่เปนสัตวทะเล เชน กุง ปู และปลาได) การรักษา เปนการรักษาภาวะ allergic reaction เหมือนเกิดจากสาร หรือสัตวอื่นๆ เชนกัน โดย ก. หยุดบริโภคสารแพทันที ข. การรักษาทางยาแกภาวะแพ ¾ ในผูป วยที่หายใจปกติ ให antihistamine ไดแก hydroxyzine - hydrochloride (atarax) ¾ Dose เด็ก : 6 – 10 ป 20 – 40 มก./วัน (10 มก./เม็ด) 6 ด. – 1 ป 10 – 15 มก./วัน ผูใหญ : 30 – 60 มก./วัน ¾ ในรายรุนแรง หายใจลําบาก คอบวม ลักษณะคลาย Anaphylaxis ตองให Sympathomimetic drug เชน Epinephrine ซึ่งไดแก Adrenaline 1:1000 ขนาด 0.01 มล./กก./ครั้ง IV ทันที - ให Corticosteroid ในรายเปนลมพิษรุนแรงจากอาหาร หรือยา เชน predrisolone 1 – 2 มก./กก./วัน เปนเวลา 3 – 5 วัน ¾ ในรายเปนลมพิษเรื้อรัง จะให antihistamine นาน และขนาดคอนขางสูง มีการใช Histamine receptor antagonist เชน Cimetidine ในรายที่เปนลมพิษไมทราบสาเหตุ ปรากฏวาไดผลดี 29

1.3 พิษตอระบบประสาททําใหเกิดอัมพาต (Paralytic shellfish poisoning) ในประเทศไทยมีรายงาน 34 ราย จากการรับประทานหอยแมลงภู ที่จับมาจากบริเวณปากน้ํา อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ ซึ่งเหตุเกิดเดือน พฤษภาคม 2526 และผลการตรวจสอบหอยที่เปนสาเหตุ พบวาสารพิษ Saxitoxin มีปริมาณมากกวาที่ รายงานจากตางประเทศ สารพิษนี้สรางโดย dinoflagellate ซึ่งเปน Plankton พืชเซลลเดียว ซึ่งในบางสภาวะ ประมาณตนฤดูฝน (พฤษภาคม – สิงหาคม) จะเจริญแพรพันธุมาก จะทําใหน้ําทะเลเปนสีน้ําตาลแดง เหมือนสี สนิมเหล็ก หอยกาบคู เชน หอยแมลงภูทอี่ าศัยอยูในบริเวณนั้น จะกินแพลงตอนเหลานี้เปนอาหาร ทําให หอยแมลงภูมพี ิษอยูใ นตัว Saxitoxin เปนชีวสารที่มีพษิ รุนแรงมากอยางหนึ่ง ซึ่งละลายน้ําไดดี ทนตอความรอน การทํา ใหหอยสุก ทําใหพษิ ลดลง แตไมสามารถทําลายพิษได พิษถูกดูดซึมไดอยางรวดเร็วจากทางเดินอาหาร ออก ฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนปลาย และระบบประสาทอัตโนมัติ เชนเดียวกับ Curare คือ ยับยั้ง depolarization ที่ nuro-muscular junction โดยทําใหโซเดียมผานเยื้อหุมเซลลเพิ่มขึ้น และขัดขวางการสื่อกระแสประสาท อาการพิษจะเกิดขึ้นภายใน 30 นาที หลังรับประทานหอย เริ่มจากการชาบริเวณปาก ลิ้น และ หนา รูสึกตัวลอย ปวดแสบปวดรอนที่ลนิ้ ในปาก และตามแขน ขา ปวดทอง คลื่นไส อาเจียน และอุจจาระรวง หายใจลําบาก พูดไมชัด กลืนลําบาก เดินโซเซ กลามเนื้อสั่นกระตุก และชัก ตอมากลามเนือ้ หัวใจจะเปน อัมพาต ผูปวยอาจเสียชีวิตไดใน 2 – 12 ชั่วโมง แตถาผูปวยรอดไดถึง 24 ชั่วโมง การพยากรณโรคจะดีมาก การวินิจฉัยภาวะพิษตอประสาทของหอยพิษ หลักสําคัญ คือ 1. แพทยตองรูจัก และนึกถึงภาวะพิษนี้ โดยผูปวยมีประวัติรับประทานหอย และเกิดอาการทางระบบ ประสาทดังกลาวขางตน และตัดสาเหตุอื่นที่ทําใหเกิดอาการออกไป 2. การตรวจหาสารพิษในหอย จะชวยยืนยันการวินิจฉัย นอกจากนี้ อาจตรวจสารพิษดังกลาวในเลือด และในปสสาวะของผูปวย การรักษา เปนการรักษาตามอาการและการรักษาประคับประคอง เนื่องจากยังไมมียาแกพษิ จําเพาะ การใช antisaxitoxin antibody ในสัตว พบวาไดผลดี แตยังไมมกี ารศึกษาในคน ถาไดประวัติ เพิ่งรับประทานหอยพิษเขาไปไมนาน การทํา gastric lavage รวมกับการใหผง activated charcoal ซึ่งสามารถชวยดูดซับพิษใหลดลงไดดีมาก การทําปสสาวะใหเปนดาง โดยให Sodium bicarbonate อาจชวยไดบา ง เพราะสารพิษนีจ้ ะไมคงอยูใน สภาวะดาง อาจให Corticosteroid เขน hydrocortisone ดวย จะมีผลดี 30

แตประการสําคัญที่สุด คือการชวยการหายใจ การติดตามดู EKG การรักษาระดับความดันโลหิตให คงที่เปนปกติ ตลอดจนการรักษา Symptomatic + Supportive treatment เปนอยางดี และไมมภี าวะแทรกซอน ผูปวยจะหายเปนปกติไดภายใน 3 – 5 วัน

Food poisoning จากสัตวพิษ 1.พิษจากหอยน้ําจืด Angiostrongylus cantonensis สาเหตุ เกิดจากผูปวย (ซึ่งมักเปนเด็กโตหรือผูใหญ) รับประทานหอยน้ําจืดหรือกุง, ปู (หรือทาก, ตัวตะกวด) ที่ยังดิบอยู และสัตวดังกลาวมีตัวออนระยะติดตอ (3rd stage larvae) ของพยาธิ Angiostrongylus cantonensis เขาไป ทําใหเกิดเยื่อหุมสมองอักเสบชนิด esinophilic memingo – encephalitis อาการและอาการแสดง ผูป วยจะมีอาการหลังรับประทานอาหารดังกลาวขางตน ประมาณ 1 – 3 สัปดาห โดยพยาธิจะ migrate จากทางเดินอาหารสูสมองสวนกลางทําใหผูปวยอาจมีไข (ต่ํา) อาเจียน ปวดทอง หรือไช ผานผิวหนัง หรือเขาเยื่อหุม ปอดเกิดเยื่อหุมปอดอักเสบ แตอาการเดนชัดมากคือผูปวยจะมีอาการปวดศีรษะ คอนขางรุนแรง จนอาเจียนและมีคอแข็ง (siffneck) ผูปวยมีความรูสึกตัวดีเปนสวนใหญ บางรายอาจมี ataxia, cranial nerve palsy หรือ paresthesia อาจพบมี myelitis เกิด paraparesis ได การวินิจฉัย ก. โดยทางออม คือ 1. ประวัติ การรับประทานหอยน้ําจืดดิบ, ทาก กุง หรือปูดบิ มาราว 1 – 3 สัปดาห 2. อาการและการแสดงที่ตรวจพบ โดยเฉพาะปวดศีรษะมาก มี siffneck และมักจะมีความ รูสึกตัวดี 3. ตรวจ CSF พบมี Pressure สูง ลักษณะขุน คลายน้ําซาวขาว มี eosinophilic pleocytosis พบสูงไดรอยละ 15 – 90 มี protein ใน CSF สูง ในขณะที่ sugar ปกติ พบ WBC ใน CSF มากกวา 100 เซลล/ไมโครลิตร ข. การตรวจโดยตรง คือตรวจพบพยาธิในน้าํ CSF หรือในลูกตาหรือในเนื้อสมองและในไขสัน หลัง การรักษา – เปนการรักษาตามอาการเปนสวนใหญ โดยเฉพาะการเจาะเอาน้าํ CSF ออกอยางระมัดระวัง (กรณีที่ CSF Pressure สูง) จะทําใหผปู วยหายปวดหัวที่รุนแรง ดีขึ้น หรือหายปวด 31

- สวนใหญผูปวยหายไดเองในเวลา 1 – 2 สัปดาห ถามีอาการไมมาก มีบางรายอาจให glucocorticoid ถา จําเปน - อาจใช Mebenazole 100 มก. เชา – เย็น x 5 วัน ในบางราย การพยากรณโรค ดีและหายภายใน 1 – 2 สัปดาห ราวรอยละ 70 มีอตั ราตายนอยกวารอยละ 1 วงจรชีวิตของ Angiostrongylus cantonensis

32

แสดงหอยน้ําจืดตางๆที่มีตัวออนระยะติดตอของ Angiostrongylus cantonensis ได

References 33

1. James W. Kazura Angiostrongylus cantonensis Nelson Text Book of Pediatrics 16th ed. 2000 Chapter 289 : 1071 2. ประยงค ระดมยศ, อัญชลี ตั้งตรงจิตร, ศรีวิชา ครุฑสูตร, พลรัตน วิไลรัตน, ศรชัย หลูอารี สุวรรณ Atlas of Medical Parasitology 7th ed 2547 : 83 , 160 – 61 2. พิษจากปลาทะเล ภาวะพิษนี้เกิดระบาดเปนครั้งคราว ซึ่งเกิดจากการรับประทานปลาทะเลทีก่ ินสาหรายสี เขียวแกมน้าํ เงิน Gambierdiscus toxicus (ซึ่งสรางสารชีวพิษ ciquatoxin) เปนอาหารของปลาทะเลจะไมไดรับ อันตราย แตจะสะสมสารชีวพิษนีม้ ากขึ้นๆ ตามสายใยอาหาร ปลายิ่งตัวโต ยิ่งมีสารชีวพิษมาก มีปลาทะเลหลาย ชนิด โดยเฉพาะปลาที่กนิ สัตวอื่นเปนอาหาร อาจเปนพาหะของสารชีวพิษนี้ เชน ปลาสาก ปลาน้าํ ดอกไม ปลา กระพง ปลานกแกว เปนตน

ปลาสาก

ปลาน้ําดอกไม

ปลากระพง

ปลานกแกว

ciquatoxin เปนสารพิษที่ทนตอความรอน ทนกรด ละลายไดดีในไขมัน ไมมีกลิ่นและไมมีรส เปน พิษตอระบบทางเดินอาหารและระบบประสาท โดยออกฤทธิ์ขัดขวางการทํางานของ cholinesterase ของเม็ด เลือดแดง และเพิ่มอัตราการซึมของ sodium ผานเยื่อหุม เซลลในเนื้อเยื่อตางๆ ผูปวยจะเกิดอาการพิษภายหลัง รับประทาน 2 – 6 ชั่วโมง ปลาทะเลแมจะทําใหสุกแลวก็ตาม โดยเริม่ มีอาการปวดทองเกร็ง คลื่นไส อุจจาระ รวงเปนน้ํา เหงื่อแตก และมีอาการทางระบบประสาทบางอยาง เชน ปวดศีรษะ และรูสึกโหวงเหวง ปวดฟน ปวดตามขอ ปวดกลามเนื้อ วิงเวียน มีความรูสึกผิดปกติบริเวณปาก ลิ้น ลําคอ การรับรูอุณหภูมผิ ิดไป เชน รอนวาเย็น – เย็นวารอน การมองเห็นผิดปกติ จนกระทั่งถึงชัก อาการจะเปนอยูหลายวันจนถึงสัปดาห ระยะ หลังๆ อาจมีคันและสะอึก ผูปวยจะเสียชีวิตจากกลามเนื้อหัวใจเปนอัมพาต การวินิจฉัย

- การตรวจรางกาย และประวัติการรับประทานปลาทะเล ประกอบกับอาการพิษที่แสดงออกมา - การตรวจหา ciquatoxin ในปลา ในเลือด และ/หรือ ในปสสาวะ เปนการสนับสนุนการ วินิจฉัยพิษจากปลาทะเล

การรักษา การรักษาตามอาการ และการประคับประคองเหมือนผูปวยไดรับสารพิษทั่วไป เชน การกําจัดพิษ ออกจากรางกายโดยการทําใหอาเจียน (ถาผูปวยไมอาเจียน) 34

การทํา Gastric lavage และการดูดซับพิษดวยผง activated charcoal และใหยาระบายในรายไมมีอจุ จาระ รวง ถามีภาวะอุจจาระรวงตองใหสารน้ําทดแทน และแกไขภาวะเกลือแรที่ไมมีสมดุลใหสูภาวะปกติ มีรายงานวาการให mannitol 1กรัม/กก. ในรูปสารละลาย 20% ในอัตรา 500 มล/ชม. ทําใหอาการทาง ระบบประสาทและกลามเนือ้ ทุเลาขึ้นอยางเห็นไดชัด โดยที่ยังไมทราบกลไกการออกฤทธิ์ (นอกจากนี้ อาจให atropine corticosteroid และ calcium gluconate รวมทั้งใหวิตามินรวม ทั้งนี้ขนึ้ อยู กับลักษณะอาการที่เกิดขึ้น) 3. พิษจากคางคก คางคกเปนสัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา มีตอมน้ําเมือกใกลหู (parotid gland) ซึ่งขับเมือกที่มีสารชีว พิษประเภท digitaloid ไดแก bufotoxin , aglucanes , bufagins และ bufotalins ซึ่งมีลักษณะทางเคมีและการ ออกฤทธิ์คลาย digitalis glycosides นอกจากนี้มี alkaloids และสารประกอบอื่นๆ อีกหลายชนิด ซึง่ มีฤทธิ์ ระคายเคืองเฉพาะที่ แตไมมากพอที่จะทําใหเกิดอาการตามระบบตางๆได สามารถพบสารชีวพิษดังกลาวไดที่ หนัง และเลือดของคางคกทั่วไป (Bufo vulgaris) และคางคกใหญ (Bufo agua)

อาการพิษที่แสดงออก อาการพิษของคางคกมักเกิดขึ้นชาๆ ภายหลังรับประทานคางคกแลวหลายชัว่ โมง เด็ก สามารถทนพิษคางคกไดดีเทาผูใหญ อาการพิษเริ่มตนดวยพิษทางระบบทางเดินอาหารกอน มีอาการคลื่นไส อาเจียน ปวดทอง และมี อุจจาระรวง ตอมามีอาการสับสน วิงเวียน เห็นภาพเปนสีเหลือง มีความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลงไปจากอาการสับสน เพอ งวงซึม มีอาการทางจิตประสาท จนถึงชัก และหมดสติ อาการสําคัญ คือ หัวใจเตนชาลง และหัวใจเตนผิดจังหวะ ถาตรวจ EKG จะพบ atrio-ventricular block ในระดับความรุนแรงตางๆ ทัง้ นี้ขึ้นอยูกบั ขนาดของพิษทีไ่ ดรับ มี PVC , multiple foci extrasystole หรือ Ventri cular tachycardia จนสุดทายเปน ventricular fibrillation และเสียชีวิตจาก circulatory failure การรักษา เชนเดียวกับการรักษาผูปวยที่รับประทานสารพิษตามมาตรฐานทั่วไป ถาผูปวยยังไมอาเจียน ควร กระตุนใหอาเจียน ให activated charcoal และใหยาระบายถาไมมีอาการทองเสีย ตรวจระดับเกลือแร โดยเฉพาะ potassium ในเลือด ถาชีพจรชา และระบบไหลเวียนโลหิตผิดปกติใหฉีด atropine และถาอาการ 35

ไมดีขึ้นตองใชเครื่องกํากับจังหวะการเตนของหัวใจ นอกจากนี้อาจใชยารักษาและปองกันการเตนผิดจังหวะอื่นๆ เชน lidocaine, diphenylhydantoin, quinidine, amiodarone เปนตน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับลักษณะการเตนผิดจังหวะของ หัวใจ และถามี digitalis FAB antibody อาจทดลองใชได (หมายเหตุ digital is FAB antibody เปน antidote ที่ดึงสารพิษออกจาก myocardium ทําให myocardium กลับมาทํางานได ปกติอีกครั้ง ) References 1. ศรชัย หลูอารียสุวรรณ พิษจากการกินสัตวบางชนิด : พิษจากหอย ตํารากุมารเวชศาสตร (เลม 1) ภาควิชา กุมารเวชศาสตร คณะแพทยศาสตรรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 2522 : 834 – 836 2. วันชัย อาจเจียน การระบาดของโรคอาหารเปนพิษจากหอยแมลงภู ที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ วารสาร โรคติดตอ 2526 ; 9(4) : 358 – 370 3. Gessner RD, Middough JP : Paralytic shellfish poisoning in Alaska : A 20 year retrospective analysis Am J Epidemiol 1995 ; 141 : 766 4. Morris PD, Compell DS , Tayler TJ, et al. : Clinical and epidemiological features of nurotoxic shellfish poisoning in North Carolina Am J Publ Hlth 1991 ; 81 : 471 5. Popkins MEE, Harstman DA, Harpur D: Paralytic shellfish poisoning : A report of 17 cases in Cape Town. S Afr. Med. J 1979 ; 55 : 1017 6. Lawrence DN, Enriquez MB, Lu-nish RM, et al. Ciguatera fish poisoning in Miami JAMA 1980 : 244 – 254 7. Morris JG, Lewin P, Hargrett NT, et al Clinical feature of Ciguatera fish poisoning Arch. Intern Med. 1982; 142 : 1090 8. Palatose NA, Jain LG, Pinano AZ, et al Successful treatment of Ciguatera fish poisoning with intravenous mannitol JAMA 1988 ; 259 : 2740 9. สุจริต วินโกมินทร พิษคางคก สารศิริราช 2508 ; 17(7) : 379 – 385

36

Food poisoning สารพิษจากรา สารพิษจากราพิษ ในภูมิอากาศที่เหมาะสม โดยเฉพาะที่อากาศอบอาวและมีความชืน้ สูง เชื้อราจะ เจริญเติบโตไดดี และบางสายพันธจะสรางชีวสารบางอยาง ซึ่งเปนอันตรายตอคนและสัตว เชื้อราสวนมาก เจริญไดดีบนอาหาร เมล็ดธัญพืช และผลิตผลทางการเกษตร ที่ใชเปนอาหารคนและปศุสัตว เชน ขาว, ขาวโพด, ถั่วลิสง, พริก เปนตน ดังนั้น ประเทศกสิกรรมซึ่งอยูในเขตรอนชื้นอยางประเทศไทย จึงเอือ้ อํานวยใหเชือ้ ราเจริญ และสรางสารชีวพิษไดมาก โดยเฉพาะถาเก็บเกีย่ วไมดี หรือเก็บรักษาไวในที่อับชื้นคางป เชื้อราแตละสาย พันธุจะสรางสารพิษแตกตางกัน จําแนกสารพิษจากราตามลักษณะทางพิษวิทยาออกเปน 5 กลุม ดังนี้ 1. พิษตอตับ ไดแก aflatoxin 2. พิษตอเซลล และระบบภูมิคุมกันไดแก richothecenes 3. พิษตอระบบประสาท และกลามเนื้อไดแก ergot alkaloids 4. พิษตอไตไดแก ochratoxin A 5. พิษตอระบบสืบพันธุไดแก zearalenone อาการและการแสดง สวนใหญมักเปนอันตรายตอระบบตางๆ อยางคอยเปนคอยไป กอใหเกิดการเจ็บปวย เรื้อรัง มีราพิษเพียงบางชนิดเทานั้นทีก่ อใหเกิดอาการอยางเฉียบพลัน และตองไดรบั สารพิษในปริมาณที่มาก จนทําใหเกิดอาการได เชน ergot, alkaloids, trichothecenes การรักษา ในรายที่มีอาการอยางเฉียบพลัน รักษาเชนเดียวกับผูปวยไดรับพิษ หรือยาเกินขนาดโดยทัว่ ไป คือ การรักษาประคับประคองใหพนขีดอันตราย ลดหรือกําจัดสารพิษโดยทําใหอาเจียน, ลางทอง, ใหผง activated charcoal ที่สําคัญ รักษาตามอาการที่เกิดขึน้ ตามระบบตางๆ 1) พิษตอตับ สารชีวพิษจากราที่มีพิษตอตับที่สําคัญ คือ aflatoxins สารนี้ถูกสังเคราะหโดย เชื้อรา Aspergillus flavus , Aspergillus parasiticus เปนตน ซึ่งพบงายทั่วไปในสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะใน

37

อาหารและผลิตผลทางเกษตร เชน ขาว ขาวโพด ถั่วลิสง กระเทียม พริกแหง กุงแหง สมุนไพร และอาหาร ที่ทําจากนม รานี้เจริญไดดีในภาวะที่มีความชื้นสูงและอากาศอบอุน Aflatoxin ทนตอความรอนไดสูงถึง 250 oc ความรอนจากกระบวนการหุงตม หรืออบนึ่ง ฆาเชื้อ อาจลดความเปนพิษไดบาง แตไมสามารถทําลายพิษได จึงเปนปญหาสําคัญตอสุขภาพของผูบริโภค เมื่อคนไดรับสารพิษซึ่งปะปนมากับอาหารดังกลาวเขาสูรางกาย สารพิษ จะเขาไปทําปฏิกิริยาทางชีวเคมีกับ DNA ทําใหการสังเคราะห DNA และ RNA ถูกยับยั้ง รวมทั้งสารพิษอาจ เขาไปรวมตัวกับ endoplasmic reticulum ในเซลล ทําใหรบกวนการสรางโปรตีน และหยุดชะงักลง และยัง เปนอันตรายตอสารทางพันธุกรรมดวย สารชีวพิษนี้อาจกอใหเกิดโรคตางๆ ได คือ 1.1 Acute hepatitis มีรายงานที่อินเดียในป 2517 พบวา เด็กที่ รับประทานขาวโพดขึ้นรา ปวยเปน acute hepatitis อยางนอย 397 ราย และถึงแกกรรม 106 ราย ตรวจพบ สารในขาวโพดสูงถึง 6 – 15 มก./กก. นอกจากนี้ ยั งมีรายงานผู ปวยตั บอั กเสบโดยเฉพาะเด็ก ที่ไ ตห วัน อูกานดา และเยอรมัน โดยสรุปไดวาสารนี้เปนพิษตอตับ 1.2 Reye’s syndrome เปนกลุมอาการที่พบในเด็กกอนวัยเรียน (อายุ 3 – 8 ป) มีอาการไข ปวดทอง อาเจียน และชัก มักเสียชีวิตใน 24 – 72 ชั่วโมง และตรวจศพพบสมองบวม มี ไขมันแทรกระหวางเซลลของอวัยวะตางๆ และมีเลือดออกเปนจุดเล็กๆ ภายในดวย ในประเทศไทย มี รายงานโรค Udorn encephalopathy ซึ่งมีลักษณะคลายกลุมอาการ Reye’s syndrome ซึ่งเกิดจากผูปวย รับประทานขาวเหนียวคางคืนที่ขึ้นรา จากการตรวจเนื้อเยื่อตับของเด็กที่เสียชีวิต พบสาร aflatoxins สะสมอยู มาก นอกจากนี้ มีรายงานจากประเทศออสเตรเลีย อยางไรก็ตามมีผูตรวจพบเชื้อไวรัสในเด็กบางคนที่ เสียชีวิตดวยโรคนี้ จึงยังสรุปหาสาเหตุที่แทจริงไมได 1.3 โรคมะเร็งตับ มีการศึกษาแสดงใหเห็นวา ปริมาณสาร aflatoxin ที่ ไดรับจากอาหารประจําวัน มีความสัมพันธกับอุบัติการณของโรคมะเร็งตับ โดยเฉพาะในบริเวณที่มีเชื้อรา สรางสาร aflatoxin เจริญงอกงามในอาหารหรือผลิตผลทางการเกษตร เชน โมซัมบิก สวาซิแลนด และไทย อยางไรก็ตาม ในบริเวณดังกลาวมีอุบัติการณของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีสูงดวย จึงยังสรุปไมไดวา สาร aflatoxin เปนสาเหตุทําใหเกิดมะเร็งตับไดหรือไม 2) พิษตอระบบเซลลและภูมิคุมกัน สารชีวพิษที่สรางโดยเชื้อรา ซึ่งมีฤทธิ์ทําลายเซลลที่ กําลังแบงตัวอยางรวดเร็ว อาทิ เซลลในไขกระดูก เซลลบุเยื่อเมือกของทางเดินอาหาร เปนตน สารชีวพิษนี้ ไดแก trichothecenes ซึ่งสรางโดยเชื้อราที่ขึ้นไดในอุณหภูมิต่ํา เชน เชื้อราในสกุล fusarium , acremonium , trichothecium เปนตน เชื้อรานี้ไมคอยพบในประเทศไทย มีการนํา สารชีวพิษนี้มาใชทางการยุทธ และวิศวกรรมที่เรียกวา ฝนเหลือง Trichothecenes ประกอบดวยสารชีวพิษมากกวา 30 ชนิด ถูกดูดซึมเขาสูรางกายได ดีทั้งทางเดินอาหาร การหายใจ และทางผิวหนัง กอใหเกิดโรคในคนและสัตวไดกวางขวาง

38

3) พิษตอระบบประสาทและกลามเนื้อ สารชีวพิษจากเชื้อราที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาท และกลามเนื้อ ไดแก ergot alkaloids สารนี้เปนที่รูจักกันมานานแลวในประเทศจีน Ergot alkaloids เปนอนุพันธของ lysergic acid สรางจากเชื้อราสกุล Claviceps ประกอบดวยชีวสาร 2 ชนิด คือ amino acid alkaloids และ amine alkaloids สารนี้ถูกดูดซึมจากทางเดิน อาหารไดไมดีเทาใดนัก ออกฤทธิ์ตอประสาททั้งสวนกลางและสวนปลาย ในระบบประสาทสวนกลางมีผล ตอ sympathetic กระตุนและเสริมฤทธิ์ serotonin ซึ่งเปนสารสื่อประสาทประเภทยับยั้ง สวนในระบบประสาทสวนปลาย ออกฤทธิ์ partial alpha - agonist หรือเปน antagonist ที่ adrenergic dopaminergic และ tryptaminergic receptors นอกจากนี้ยังมีผลโดยตรง ทําใหหลอด เลือดแดงเล็กหดเกร็ง จากผลการออกฤทธิ์ดังกลาว ถาไดรับสารพิษจํานวนมาก จะเกิดอาการเฉียบพลัน ไดแก ปวดศีรษะ อาเจียน อุจจาระรวง ชีพจรชา หายใจขัด ความดันต่ําหรือสูง และชัก บางรายที่ ไ ด รับพิษ เรื้อรัง จะมี อาการ อาเจี ย น ท อ งเสีย ปวดศีรษะ สั่น ใบหน า กระตุก และชัก อาการในสวนรอบนอกจะรูสึกชาที่แขนขา เจ็บหนาอก เนื้อบริเวณปลายแขนขาตาย เลือด แข็งตัวงาย และหลอดไตถูกทําลาย (จากหลอดเลือดไต หดตัว) การรักษา ขึ้นอยูกับความรุนแรงของอาการเกิดพิษ ในรายหลอดเลือดหดเกร็งอยางรุนแรง ตองใชยาขยายหลอดเลือด เชน nitropresside หรือ nitroglycerine นอกจากนี้ ควรใหรับประทาน prazosin 1 มก. วันละ 3 ครั้ง และ captopril 50 มก. วันละ 3 ครั้ง ถาผูปวยชักให diazepam เขาหลอดเลือดดําชาๆ ** อยางไรก็ตาม ในปจจุบันมีรายงานการเกิดพิษจากสารนี้ในธรรมชาตินอยมาก การเกิด พิษสวนใหญ เกิดจากการใชยารักษา หรือใหยาเกินขนาด จึงควรพิจารณาไวดวย 4) พิษตอไต สารชีวพิษจากเชื้อราที่ทําลายเซลลไต ไดแก ochratoxin ซึ่งสรางโดยเชื้อรา Asplrgillus ochraceus และเชื้อราในสกุล Penicillium บางชนิด ซึ่งขึ้นในขาวสาลีและขาวโพด ทําใหเยื่อบุ หลอดไตฝอ มีพังผืดบริเวณ cortex และ glomerulus ทําใหโปรตีนรั่วออกทางปสสาวะ อาการที่เกิดขึ้นจะคอย เปนคอยไป มีอาการปวดศีรษะ ออนเพลีย เบื่ออาหาร บางรายปวดหลังมาก คลายมีนิ่วในไต ถายปสสาวะ เปนเลือด ไตวายเรื้อรัง และหดเล็กลงจนถึงแกเสียชีวิตในที่สุด นอกจากนี้ มีสารชีว พิ ษ จากเชื้อ ราอื่น ที่ทํ า ให เ กิด พยาธิส ภาพที่ ไ ตคล า ยกั บ สาร ดังกลาว ไดแก rubratoxins และ citrinin 5) พิษตอระบบสืบพันธุ สารชีวพิษที่สรางจากรา Fusarium ซึ่งขึ้นบนขาวบารเลย , ขาวโพด , ขาวสาลี ออก ฤทธิ์คลาย estrogen ไดแกสาร zeasalenone ทําใหผลกระทบตอปศุสัตวพวกหมู ทําใหอวัยวะเพศบวม เตานม โต ในขณะตั้งทองทําใหลูกตาย หรือทุพพลภาพในโครงกระดูก ยังไมมีรายงานเกิดพิษในมนุษย Reference : 39

1. สุรจิต สุนทรธรรม สารพิษจากรา หลักการวินิจฉัยและรักษาภาวะเปนพิษ สารพิษ สมิง เกาเจริญ และ คณะ : 2541 : 355 - 62 2. ธงธวัช อนุครรนานนท Human mycotoxicosis รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการ “สารพิษ จากเชื้อราใน ประเทศไทย” มหาวิทยาลัยมหิดลและกระทรวงสาธารณสุข 13 – 14 มกราคม 2526 3. สมชัย บวรกิตติ ยุทธการ “ฝนเหลือง” สารศิริราช 1982 ; 34 : 319-40 4. สมชัย บวรกิตติ , วีกิจ วีรานุวัติ “โรคสารพิษเชื้อราทริโมชิดีน” สารศิริราช 1982 ; 34 : 309 – 12

Food poisoning จากเห็ดมีพิษ (Poisonous mushroom) ประเทศไทยอยูในเขตรอนและชื้น จึงมีเห็ดเกิดขึ้นมากมาย และมีหลายชนิดที่มีพิษ ปญหาสําคัญคือ ทั้งผูปวยและผูรักษายังไมรูจักเห็นพิษทั้งหมด เพราะนอกจากเห็ดพิษจะมีหลายชนิดแลว ในเห็ดพิษชนิด เดียวกัน อาจจะมีสารชีวพิษไมเหมือนกัน และเห็ดที่ไมมีพิษแตไปงอกในบริเวณซึ่งมีสารพิษอยูในดิน อาจทํา ใหเกิดอันตรายไดในบางกรณี ขึ้นอยูกับสารนั้นเปนอะไร และมีพิษรุนแรงมากนอยเพียงไหน อีกทั้งการ พิสูจนทางหองปฏิบัติการวาเปนเห็ดพิษชนิดใด นอกจากตองรีบสงเห็ดที่ไปตรวจที่ใหมและสดแลว การ ตรวจอาจตองใชเวลานานมาก จนไมทันการกับใหการรักษา ฉะนั้น การวินิจฉัยและการรักษาพิษจากเห็น จึง ขึ้นอยูกับลักษณะทางคลินิก โดยเฉพาะอาการแสดงเบื้องตน และระยะเวลาเริ่มมีอาการ เปนสิ่งสําคัญในการ พิจารณาเปนอยางยิ่ง ขั้นตอนการ approach ผูปวยที่สงสัยวารับประทานเห็ดพิษที่มารับการรักษา ดังนี้ 1. การรักษาเบื้องตน สําคัญที่สุด คือ การรักษา symptomatic and supportive treatment (การรักษา ประคับประคอง) เพื่อใหผูปวยพนขีดอันตราย การลดปริมาณสารพิษที่ผูปวยไดรับ และเรงขับสารพิษออก จากรางกาย ถาผูปวยไมอาเจียน ใหกระตุนใหอาเจียน หรือใหรับประทานยา Ipecac เพื่อใหอาเจียน ถาทําให ผูปวยอาเจียนไมไดใหทํา gastric lavage และตามดวยดูดซับพิษดวยผง activated charcoal ถาผูปวยไมมีอาการ อุจจาระรวง ใหใชระบายเพื่อขับสารพิษออกจากทางเดินอาหาร เมื่อคนไขอยูในเสถียรภาพ (หtable) แลวจึง เริ่มซักประวัติ 2. การซักประวัติ ควรถามประวัติการรับประทานเห็ดไปกี่ชนิด , เวลาที่เริ่มรับประทานเห็ด , ถามี ผูอื่นรับประทานรวมดวย มีอาการอยางไรบาง หรือไม สําหรับประวัติการเกิดอาการ ตองเนนถึงระยะเวลาที่เริ่มมีอาการ และลําดับการเกิดอาการกอน – หลัง แลวพยายามแยกใหไดวา พิษที่เกิดขึ้น เขากับกลุมอาการใด ตัวอยางเชน ถาอาการเกิดขึ้น 6 ชั่วโมง หลังรับประทานเห็ด ใหนึกถึงสารพิษเห็ดที่มีตอตับ คือ แyclopeptide , พิษตอ CNS คือ monomethy chydrazine หรือพิษตอไต คือ orelline เปนตน 40

ถาทําได ควรเก็บสิ่งที่ผูปวยอาเจียนออกมา หรือน้ําลางกระเพาะอาหาร รวมทั้งชิ้นสวนของเห็ดที่ สงสัย เพื่อสงตรวจแยกชนิดดวย เพราะเห็ดพิษและเห็ดที่รับประทานได อาจมีรูปรางคลายคลึงกัน อาจ แตกตางกันเฉพาะที่สัณฐานวิทยาปลีกยอยจําเพาะพันธุ 3. การรักษาจําเพาะ เมื่อซักประวัติ ตรวจรางกาย ทราบอาการทางคลินิกบงชี้วาเกิดจากพิษของ เห็ดพิษชนิดไหนแลว จึงทําการรักษาเฉพาะพิษจากเห็ดพิษชนิดนั้นๆ ตอไป

การจําแนกตามลักษณะอาการเดนในระบบตางๆ และลักษณะทางพิษวิทยาของเห็ดพิษ มี 6 กลุม ดังนี้ 1. พิษตอตับไดแก cyclopeptide 2. พิษตอระบบประสาทสวนกลาง (CNS) ไดแก 2.1 Monomethylhydrazine (gyromitrin) 2.2 Indoles (psilocin-psilocybin) 3. พิษตอระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS)ไดแก 3.1 Cholinergic syndrome ไดแก Muscarine 3.2 Anticholinergic syndrome ไดแก ibotenic acid และ muscimol 4. พิษตอไตไดแก orelline , orellanine 5. พิษรวมกับแอลกอฮอล เหมือน disulfiram ไดแก coprine 6. พิษตอทางเดินอาหาร เกิดจากสารชีวพิษ ที่ยังไมมีการพิสูจนทราบแนชัด 1. พิษตอตับ สารชีวพิษจากเห็ดที่มีพิษตอตับ ไดแก สารในกลุม Cyclopeptide และเห็ดที่มีสารพิษนี้อยูใน ตระกูล Amanita , Lepiota , Conocybe และ Galerina ในพวกดังกลาวนี้ Amanita มีอันตรายมากที่สุด ลักษณะเปนดอกเห็ดขนาดใหญ รูปทรงสะดุดตา พบเห็นอยูทั่วไป ขึ้นอยูตามเรือกสวนไรนา และในปา

41

Cyclopeptide ประกอบดวยสารชีวพิษ 2 จําพวก ไดแก amatoxins และ phallotoxin Amatoxin ถู ก ดู ด ซึ ม ได ดี จ ากทางเดิ น อาหาร เป น สารพิ ษ ที่ มี พิ ษ รุ น แรงต อ เซลล โดย ขัดขวางการทํางานของ ribonucleic acid (RNA) polymerase cell จึงสรางโปรตีนไมไดและตาย ทําใหตับถูก ทําลาย นอกจากนี้ยังมีพิษตอตับออน ไต ตอมหมวกไต กลามเนื้อ และสมอง สามารถตรวจพบไดโดยการ ทําการทดสอบ meixner ขางเตียง โดยหยดน้ําจากกระเพาะอาหาร หรือคั้นน้ําจากเห็ด หยดลงบนกระดาษ กรอง แลวทิ้งไวใหแหง หยดกรดเกลือ (HCl) เขมขนลงไป ผล ถามีสาร amatoxin จะมีสีฟาเกิดขึ้นในครึ่ง ชั่วโมง Amatoxin จะถูกขับออกทางไต สามารถตรวจพบไดใน ซีรั่ม และ ปสสาวะ ดวยวิธี radio immunoassay แตไมสะดวกในการใชทางคลินิก 42

Phallatoxin เปนสารพิษที่เปนพิษตอตับรุนแรงมาก แตถูกดูดซึมไดนอยจากทางเดินอาหาร จึงเปนพิษตอรางกายนอย ทําใหเกิดอาการคลายทางเดินอาหารอักเสบในชวงตนเทานั้น ลักษณะทางคลินิก แบงออกเปน 3 ระยะ คือ ระยะตน : เกิดขึ้นใน 6 – 12 ชั่วโมง หลังรับประทานอาหาร ผูปวยจะมีอาการทางเดินอาหารอักเสบ อยางรุนแรง อุจจาระรวงรุนแรง ถายอุจจาระรวงเปนน้ําคลายอหิวาต อาจมีมูกเลือดปน ถา ไมไดรับการรักษาในชวงนี้ ผูปวยอาจตายได ถาไดแกภาวะขาดน้ําเกลือแรรุนแรงทันทวงที และถูกตอง ผูปวยจะมีอาการดีขึ้น เขาสูระยะที่ 2 ระยะที่ 2 : ในระยะนี้ดูเหมือนผูปวยจะไมมีอาการอะไร แตจะตรวจพบ enzyme ของตับสูงขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งหลังรับประทาน 2 – 4 วัน จะเขาสูระยะที่ 3 ระยะที่ 3 : มีอาการตับอักเสบ ไตวาย หัวใจวาย ตับออนอักเสบ เลือดเปนลิ่ม แพรกระจาย(DIC) ชัก และถึงแกกรรม 2. พิษตอระบบประสาทสวนกลาง (CNS) สารชีวพิษจากเห็ดออกฤทธิ์ตอ CNS มี 2 จําพวก ไดแก 2.1 Monomethylhydrazine (Gyromitrin) เห็ดมีพิษชนิดนี้ ไดแก เห็ดในตระกูล Gyromitra , Helvila , Disciotis และ Sarcos phaera ลักษณะเห็ดคลายอานมา บางสายพันธุรับประทานได การออกฤทธิ์ของชีวพิษ พวกสาร hydrazine ที่เปนสารพิษในเห็ด ออกฤทธิ์คลายกับที่พบใน พิษของ Isoniazid คือ ออกฤทธิ์ทําปฏิกิริยากับ pyridoxine โดยยับยั้ง enzyme ที่ทําปฏิกิริยาสัมพันธกับ pyridoxal phosphate ขัดขวางการสราง gamma aminobytyric acid (GABA) ซึ่งเปน Neurotransmitter ยับยั้ง ในสมอง อาการและอาการแสดง หลังจากผูปวยรับประทานสารพิษชนิดนี้ 6 – 12 ชั่วโมง จะเริ่มมี อาการมึนงง ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน อุจจาระรวง และเปนตะคริว ผูปวยสวนใหญจะมีอาการในชวงนี้ ไมมากนัก หลังจากนั้นอาจมีอาการเพอ ชักจนถึงหมดสติได นอกจากนี้ อาจเกิดภาวะ methemoglobinemia และมี เม็ดเลือดแดง แตก และในตอนสุดทาย ผูปวยจะมีอาการตับวาย ไตวาย จนเปนสาเหตุที่ทําใหผูปวยเสียชีวิตได การวินิจฉัย เนื่องจากการสงสวนของอาเจียน , น้ําลางกระเพาะอาหาร หรือเห็ดที่สงสัยเปน เห็ดพิษ สงตรวจสารพิษที่กรมวิทยาศาสตรการแพทย หรือกรมวิชาการเกษตร นั้น ตองใชเวลานาน ไมทันตอ การรักษา ซึ่งเรงดวน ซึ่งตอนแรกตองใชประวัติการไดรับสารพิษ onset ของการเกิดอาการพิษ และลักษณะ อาการและการแสดงเดนตอระบบใด มาชวยวินิจฉัยและตัดสินใหการรักษา ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ มาชวยยืนยันใหแนนอนวาเปนเห็ดพิษชนิดใด ชวยติดตามการรักษาจําเพาะตอไปดวย

43

การรักษา 1. เปนการรักษาอยาง symptomatic และ supportive treatment และทําการลดพิษ เหมือนผูปวยไดรับสารพิษทั่วไป เชน ทําใหอาเจียน (ถาผูปวยไมอาเจียน) , ลางทอง , ดูดซึมพิษโดยใหผง activated charcoal ทุก 4 ชั่วโมง และใหยาระบาย ถาไมมีอุจจาระรวง 2. รักษาจําเพาะในรายรุนแรง โดยเฉพาะมีชัก ควรใหยาตานพิษ คือ ให pyridoxin (วิตามิน B6) 25 มก./กก. IV แตเนื่องจาก pyridoxine ขนาดสูงจะทําใหเกิด peripheral neuropathy จึงตอง ระวังขนาดของยา B6 ที่ใหดวย จะใหซ้ําไดในรายที่มีการชักซ้ําเทานั้น ผูปวยที่ไดรับสารชีวพิษนี้ ถาไมไดรับการรักษาจะมีอัตราตายประมาณ 40% ความรอนอาจ ทําใหสารนี้ระเหยไปได ซึ่งขณะปรุงอาหารในครัว อาจสูดดมสารนี้จนเกิดเปนพิษขึ้นได จึงตองระวังและ แนะนําผูปวยในการปองกันดวย 2.2 Indoles (psilocin – psilocybin) เห็ดที่มีสารชีวพิษในกลุมนี้ ไดแก เห็นในตระกูล Conocybe , Copelandia , Gymnopilus , Naematoloma , Panacolina , Psilocybe และ Stropharia

เปนเห็ดพิษที่ขึ้นอยูตามมูลวัวมูลควายแหง มีอยูทั่วไปทุกภาคของประเทศไทย ตําราแพทยโบราณเรียกวา “เห็ดโอสถรวมจิต” นักทองเที่ยวจากตางประเทศเดินทางมาพักผอนที่เกาะสมุย รูจักเห็ดนี้ในนาม magic mushroom นิยมรับประทานกันในรูปสลัด หรือ เจียวกับไข Psilocin และ Psilocybin มีอยูทั้งในเห็ดสดและเห็ดแหง มีลักษณะทางเคมีสัมพันธกับ serotonin และออกฤทธิ์ตอระบบประสาทหลอน หลังจากรับประทานเห็ดพิษนี้ประมาณ 30 นาที – 1 ชั่วโมง

44

อาการและอาการแสดง ผูปวยจะเริ่มมีอาการเคลิบเคลิ้ม ตามดวยความรูสึกที่ผิดไปจากความเปน จริง และประสาทหลอน มีอาการเดินโซเซ มานตาขยาย หัวใจเตนเร็ว หายใจถี่ ความดันโลหิตสูง ระดับ น้ํ า ตาลในเลื อ ดลด มี อ าการของระบบประสาทส ว นกลางถู ก กระตุ น มี ค วามเคลื่ อ นไหวมากผิ ด ปกติ จนกระทั่งถึงชักได ถาฉีดสารพิษนี้เขาทางหลอดเลือดดํา จะมีอาการเริ่มดวยอาการหนาวสั่น กลามเนื้อเกร็ง หายใจลําบาก ปวดศีรษะ ปวดกลามเนื้อมาก อาเจียนไมมีแรง นอกจากนี้อาจมี อุณหภูมิรางกายสูงผิดปกติ มีภาวะขาด oxygen และเกิด methemoglobinemia ได การรักษา นอกจากใหการรักษาโดยทั่วไปแลว ควรแยกใหผูปวยอยูในที่สงบ ใหความมั่นใจ แกผูปวยวาอาการจะหายไปในเวลาไมกี่ชั่วโมง ในรายที่มีอาการตื่นตระหนก ประสาทหลอน และกลัวตาย อาจตองใหยากลอมประสาทใน กลุม enzodiazepine หรือ แhlordiazepoxide (Librium) ถา เป น เด็ก เล็ กต อ งให ก ารรั ก ษาเต็ มที่ เพราะมีร ายงานว ารั บ ประทานเห็ น ชนิด นี้ แล ว มี เสียชีวิต เพราะเด็กเล็กระบบน้ํายอยยังไมสมบูรณเทาผูใหญ 3. พิษตอระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS) สารพิษของเห็ดชนิดนี้ ที่สําคัญมี 2 ชนิด คือ 3.1 Muscarine เห็ด พันธุ ที่มีสารชีวพิษ นี้มากจนสามารถเปน พิษแกคนได คื อ เห็ด ใน ตระกูล Inveybe , Clitocybe และ Omphalotus สวนใน Amonita muscaria มีสารชีวพิษชนิดนี้เพียงเล็กนอย เทานั้น เนื่องจากสารพิษ muscarine ไมสามารถผาน blood-brain barrier ได จึงกระตุน parasympathetic nerve เฉพาะสวนปลาย ที่ตําแหนง postganglionic เทานั้น อาการและอาการแสดง หลังจากรับประทานเห็ดที่มีชีวพิษชนิดนี้ประมาณ 30 นาที - 1 ชั่วโมง จะเกิดอาการที่ เรียกวา “ Cholinergic crisis ” ซึ่งประกอบดวย หัวใจเตนชา หลอดลมหดเกร็ง มีเสมหะมาก มานตาหด เล็ก น้ําลายฟูมปาก น้ําตาไหล ปสสาวะอุจจาระราดและอาเจียน อยางไรก็ตาม อาการดังกลาวนอยกวาที่เกิดจากสารฆาแมลง กลุม Organophosphate มาก เนื่องจากสารพิษนี้ดูดซึมผานทางทางเดินอาหารไดนอยมาก และถูกทําลายไดดวยความรอน การปรุงอาหาร จึงสามารถทําลายสารชีวพิษนี้ได การรักษา 1. การรักษาประคับประคอง 2. ให atropine 1 – 2 มก. IV ชาๆ สามารถใหไดซ้ําจนกระทั่งเสมหะแหง ยังไมเคยมีรายงานผูปวยถึงแกกรรมดวยสารชีวพิษนี้ 3.2 Ibotenic acid และ muscimol 45

เห็ดที่สรางสารชีวพิษนี้ ไดแก เห็ดบางพันธุในตระกูล Amanita รวมทั้ง A.muscaria ชนบางเผารวมทั้งชาวอเมริกันในบางรัฐ นิยมเสพเห็ดเหลานี้เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน การออกฤทธิ์ กรด ibotenic ออกฤทธิ์ตาน cholinergic ทั้งในระบบสวนกลางและสวน ปลาย เมื่อเขารางกายจะถูก decarboxylation เปลี่ยนไปเปน muscimol ซึ่งมีฤทธิ์เพิ่มขึ้น 5 – 10 เทา ภายใน 30 นาที อาการและอาการแสดง หลังจากผูปวยรับประทานเห็ดที่มีชีวพิษนี้ประมาณ 30 นาที จะเกิดอาการเมา เดินโซเซ เคลิ้มฝน ราเริง กระปรี้กระเปรา การรับรูภาพเปลี่ยนแปลง ประสาทหลอน และเอะอะโวยวาย หลังจากนั้น ผูปวยจะหลับนาน เมื่อตื่นขึ้น อาการจะกลับคืนสูสภาพปกติใน 1 – 2 วัน ถารับประทานเห็ดชนิดนี้มากๆ จะเกิดอาการทางจิตอยางชัดเจน อาจชัก และหมดสติได ควรนึกเสมอวา เห็ดพวกดังกลาวขางตนนี้มีสารชีว พิษหลายชนิด อาจแสดงอาการของ anticholinergic หรือ cholinergic ก็ได ขึ้นอยูกับสารชีวพิษชนิดใด มากกวากัน ซึ่งการวินิจฉัยนอกจากประวัติรับประทานสงสัยเห็ดพิษแลว การตรวจรางกายอยางละเอียดจะ สามารถวินิจฉัยสารพิษที่แสดงเดนใหถูกตองได การรักษา 1. เบื้องตน รักษาประคับประคองและกําจัดสารชีวพิษออกจากรางกาย เชนเดียวกับผูปวยไดรับสารชีวพิษตางๆ ดังกลาวมาแลวขางตน 2. ถามีชักให Diazepam 0.5 – 1 มก./กก IV ชาๆ 3. ให Anticholinergic drug เชน physostigmine 0.5 – 2 มก/กก. IV ชาๆ ใน 2 – 3 นาที ในรายที่มีอาการอันตราย ซึ่งอาจทําใหเสียชีวิตได เชน คลุมคลั่ง หรือหมดสติ 4. พิษตอไต สารชีวพิษของเห็ดที่มีพิษตอไต คือ สารพิษกลุม bipyridyl ไดแก orelline และ orellanine ซึ่ง ทนตอความรอน มีลักษณะทางเคมีสัมพันธกับสารปราบวัชพืช diquat พบในเห็ดตระกูล Cortinarius เดิม เชื่อวาเห็ดนี้ไมมีพิษ แตมีปจจุบันมีรายงานจากประเทศโปแลนดและญี่ปุน วาทําใหเนื้อไตอักเสบ หลอดไต ถูกทําลาย (tubulo – interstitial nephritis and fibrosis) แต glomerulus คอนขางปกติ และยังมีรายงานวาสาร ชีวพิษของเห็ดชนิดนี้มีพิษตอตับดวย อาการและอาการแสดง อาการจะเริ่มเกิดขึ้นใน 24 – 36 ชั่วโมง หลังรับประทาน ผูปวยจะมีอาการกระเพาะอาหาร อักเสบ เบื่ออาหาร คลื่นไส ปวดศีรษะ หนาวสั่น และปวดกลามเนื้อ ภายหลังจากมีอาการดังกลาวแลวหลาย วันจนถึงสัปดาห ผูปวยจะมีอาการปสสาวะบอย ไตวายอยางชาๆ และเรื้อรัง การรักษา เนื่องจากอาการที่เกิดขึ้นจากชีวพิษกลุมนี้ เกิดขึ้นชา การลดปริมาณสารพิษที่ รางกายไดรับ รวมทั้งการใหผง activated charcoal จึงไมคอยไดผลเทาใดนัก การรักษาจึงตองประคับประคองการ 46

ใหสารน้ํา และการปรับภาวะสมดุลยของเกลือแรอยางเต็มที่ รวมทั้งการเฝาติดตามหนาที่ไตอยางใกลชิด สําคัญมาก ถาจําเปนอาจตองทํา hemoperfusion , hemodialysis หรือ kidney tramsplant n ก็ได 5. พิษรวมกับ alcohol คลาย disulfiram (antabuse) สารชีวพิษที่มีฤทธิ์คลาย disulfiram ไดแก coprine ซึ่งประกอบดวยกรดอะมิโน พบในเห็ด ตระกูล coprinus สารนี้จะไมมีพิษถาไมรับประทานรวมกับการดื่มสุรา Coprine ออกฤทธิ์ยับยั้ง acetaldehyde dehydrogenase enzyme ทําให acetaldehyde จากการ เผาผลาญ alcohol ไมถูกเปลี่ยนเปน acetate ทําให acetaldehyde คั่งอยูในเลือดเปนจํานวนมาก อาการและอาการแสดง อาการจะเริ่มเกิดขึ้นใน 10 – 30 นาที หลังจากรับประทานเห็นแกลม สุรา หรืออาจเกิดขึ้นเมื่อดื่มสุราหลังจากรับประทานเห็นแลวถึง 1 สัปดาหก็ได โดยผูปวยจะมีอาการหนาแดง ตัวแดง ใจสั่น หายใจหอบ เหงื่อแตก เจ็บหนาอก ชาตามตัว มานตาขยาย และความดันโลหิตสูง อาจพบ ความดันโลหิตต่ําได เนื่องจากหลอดเลือดขยายตัว การรักษา รักษาเชนเดียวกับผูปวยที่เกิดปฏิกิริยาจาก disulfiram กับสุรา คือ ใหคําแนะนําวา ไมเปนอันตราย และหายเองไดในไมชา ในรายที่มีความดันโลหิตต่ํา ควรใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา ถาไมไดผลอาจตอง ให norepinephrine และถามีอาการรุนแรงมาก อาจทํา hemodialysis เพื่อขจัด ethanol และ acetaldehyde ออก จากเลือด 6. พิษตอระบบทางเดินอาหาร เห็ดที่มีชีวพิษที่ทําใหเกิดอาการเฉพาะระบบทางเดินอาหาร และเกิดขึ้นภายใน 30 นาที – 3 ชั่วโมง นั้น ผูปวยจะมีอาการ จุกเสียดที่ยอดอก คลื่นไส อาเจียน อุจจาระรวง และออนเพลีย โดยไมทํา ใหเกิดอาการทางระบบอื่น ๆ นั้น มีเห็ดหลายชนิด และมากมายหลายพันธุที่ทําใหเกิดอาการดังกลาวได สวน ใหญอาการจะไมรุนแรง และไมตองรักษาจําเพาะใดๆ นอกจากรักษาตามอาการ และทดแทนสารน้ําเกลือแร เทาที่ผูปวยสูญเสียไปทางอาเจียนและอุจจาระรวง แตมีรายงานเด็กรับประทานเห็ดกลุมนี้มากอาจถึงตายได เห็ดกลุมนี้มีหลายชนิด เมื่อรับประทานดิบจะเปนพิษ แตถาตมสุกแลวไมเปนอันตรายเพราะพิษถูกความรอน ทําลายหมดไป สวนหนึ่งของเห็ดกลุมนี้ที่พบในประเทศไทย มีชื่อสามัญวา เห็ดหัวโกรดครีบเดียว เห็ด กรวยเกล็ดทอง เห็ดไขเนา เห็ดแดงน้ําหมาก เห็ดไขหงส ฯลฯ สรุป การบริโภคเห็ดโดยทั่วไปควรปฏิบัติ

47

1. ขอควรระวัง : สิ่งสําคัญที่แพทยมักผิดพลาดในการรักษาผูปวยที่ไดรับพิษจากเห็ดพิษ คือ การใหผูปวยกลับบาน หลังจากอาการทางระบบทางเดินอาหารทุเลาแลว โดยไมไดติดตามดูผูปวยตอสัก ระยะ ทั้งนี้เพราะเห็ดพิษหลายชนิดมักแสดงอาการทางระบบทางเดินอาหารกอน แลวชีวพิษแตละกลุมอาจ แสดงลักษณะพิษจําเพาะตามมาภายหลัง เชน เห็ดในตระกูล Amanita มักมีอาการรุนแรงจนทําใหผูปวย เสียชีวิตได หลังจากอาการแสดงทางระบบทางเดินอาหารดีขึ้นหลายวัน ฉะนั้น การติดตามดูอาการใกลชิดตอไปเปนระยะๆ หลังจากใหกลับบาน โดย Follow up ตรวจดูหนาที่ของตับและไต เปนระยะๆ จนแนใจวาผูปวยพนขีดอันตรายแลวเสมอ 2. ขอควรจํา : 1) ไมควรรับประทานเห็ดปาถาไมรูจักเห็ดชนิดนั้นวารับประทานไดหรือไม 2) พิษของเห็ดแตละชนิดจะแตกตางกันไปได ขึ้นกับแหลงที่เห็ดนั้นขึ้นอยู 3) ถาสงสัยวาเกิดอาการพิษขึ้น ใหพยายามเก็บตัวอยางเห็ดที่รับประทานเขาไป เพื่อตรวจวิเคราะหหาชนิดของเห็ดและสารพิษ 4) เมื่อเกิดอาการไมสบายขึ้น โดยมากจะโทษวาเห็ดเปนสาเหตุของอาการเหลานั้น ทั้งๆที่ ในความเปนจริงแลวอาจมีสาเหตุอื่นมาเกี่ยวของ เชน มีการติดเชื้อ หรือโรคอื่นๆ เกิดขึ้น วิธีหรือ ขั้นตอนในการเตรียมอาหารก็อาจเปนสาเหตุได เชน เครื่องปรุงรสตางๆ 5) ยังไมมีแนวทางที่แนนอนในการประเมินความแรงในการเปนพิษของเห็ด กลิ่น และรสไมสามารถใชเปนตัวบงชี้ถึงความเปนพิษที่ดีได โดยทั่วไปมีหลักวาเห็ดสีขาวลวนมีสีน้ําตาลเล็กนอย และชนิดที่มีสีน้ําตาลมาก และมี pored boletes สีแดงหรือน้ําตาลมักจะมีพิษมาก (boletes เปนลักษณะของกลุม เห็ดชนิดหนึ่งที่มีรู (pore) ใตหมวกเห็ดและเนื้อเห็ดนุมหนา ฉ่ําน้ํา เนางายเมื่อทิ้งไว) 6) การนําเห็ดมาปรุงใหสุกอาจจะทําลายสารพิษบางชนิดได โดยทั่วไปไมควร รับประทานเห็ดปาดิบๆ หรือรับประทานในปริมาณมาก เชน เห็ด Armillariella mellea (honey mushroom) สามารถรับประทานไดเมื่อปรุงใหสุกแลว ถายังดิบอยูจะเปนอันตรายเนื่องจากพิษของเห็ดได เห็ด Verpa bohemica ก็สามารถรับประทานได แตถารับประทานในปริมาณมากจะเกิดอาการไมสบายขึ้นได 7) การพิ จ ารณาพิ ษ จากเห็ ด ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง ที่ เ กี่ ย วข อ งอื่ น ๆ เช น เห็ ด ที่ นํ า มา รับประทาน มีการพนสารเคมีกําจัดศัตรูพืชหรือไม เปนอาการที่มีความสัมพันธกับการดื่มสุราหรือ alcohol หรือไม เนื่องจากมีเห็ดบางชนิดที่ทําใหเกิด disulfiram reaction ได เชน Coprinus atramentarius และเห็ดที่ รับประทานไดอื่นๆ เชน Morchella elata (Black morel) และ Laetiporus sulfurous (sulfur polypore) ซึ่ง สามารถทําใหเกิดอาการไมพึงประสงคไดถารับประทานรวมกับ alcohol 8) แมวาเปนเห็ดที่รับประทานได ถาทิ้งไวนานมากหรือเสื่อมไปก็จะเกิดเปนพิษขึ้น ไดเมื่อนํามารับประทาน ดังนั้น ควรรับประทานเห็ดที่ออนหรือถึงกําหนดที่จะรับประทานไดแลวไมนานนัก

48

9) ในกรณีที่มีผูรับประทานเห็ดบางชนิดแลวเกิดอาการพิษขึ้นในบางรายนั้น ไม สามารถวินิจฉัยไดวาเห็ดชนิดนั้นมีพิษ ความเปนพิษนั้นอาจจะเกี่ยวของกับขนาดที่รับประทาน พันธุกรรม หรือผูปวยนั้นอาจมีพยาธิสภาพที่มีความโนมเอียงที่ทําใหเกิดความเปนพิษขึ้นได 10) ปญหาที่เกิดเนื่องจากการรับประทานเห็ดสวนมาก คือ เกิดการแพ ซึ่งอาจแสดง อาการ anaphylaxis 11) เห็ดที่มีพิษสวนใหญจะมีลักษณะคลายคลึงกับเห็ดที่รับประทานไดในบางชวง ของการเจริญเติบโต แมวาการตรวจสอบชนิดของเห็ด เชน วงแหวน สี หมวก รูปราง อยางระมัดระวังก็ อาจจะไมสามารถระบุวาเปนเห็ดชนิดที่รับประทานได รวมทั้งเห็ดอาจจะไมมีรูปรางตามแบบที่คาดไวใน สภาวะเดิมได 3. การจําแนกเห็ดพิษ : กรณีที่สงสัยวาเห็ดนั้นมีพิษหรือไมนั้น ตรวจสอบเบื้องตนไดจาก ลักษณะภายนอกและสปอร ซึ่งสปอรเปนสวนที่ใชแพรพันธุจะมีความตานทานตออุณหภูมิและความแหง เห็ดแตละชนิดจะผลิตสปอรเปนลานๆ ที่ spore bearing surface สปอรของเห็ดแตละชนิดจะแตกตางกัน แมวาเห็ดหลายชนิดจะมีสปอรที่มีลักษณะคลายกันก็ตาม ดังนั้นสปอรจึงเปนประโยชนในการจําแนกชนิด ของเห็ดได โดยทั่วไปสีของสปอรในเห็ดแตละชนิดจะคงที่ ซึ่งมีตั้งแตสีขาวจนถึงดํา ชมพู สีเหลืองออน น้ําตาล และมวง เปนตน 4. ลักษณะภายนอกของเห็ดพิษ : 1) เห็ดมีสีสมสดตั้งแตหมวกเห็ดจนถึงครีบดอก (gill) และกานดอก (stipe) 2) หมวกเห็ดมีขนาด 3 – 5 นิ้ว ลักษณะจุดยอดเรียบ umbilication (ลักษณะหมวก เห็ดชนิดหนึ่งที่ตรงกลางหมวกดานบนบุมลงและมีจุกเล็กๆ ตรงกลาง) และศูนยกลางอยูตรงกับตน 3) สวนครีบดอก (gills) จะยื่นลงสูสวนตน (decurrent) 4) สวนตนกวาง 1 นิ้ว และสูง 4 – 6 นิ้ว และรวมกันที่ฐาน 5) ไมมี volva , veil (แผนเนื้อเยื่อที่เปนกระเปาะหุมดอกออนทั้งหมด เมื่อดอกออน เจริญยืดตัวขึ้น แผนเนื้อเยื่อนี้จะขาดออกโดยสวนที่เหลือติดอยูโคนดอกเรียกวา volva สวนที่ติดอยูที่หมวก เห็ดเรียกวา veil) , annulus (วงแหวนซึ่งอยูรอบกานดอก) ปรากฏ 6) เมื่ อ นํ า เห็ ด นั้ น มาวางในห อ งมื ด เป น เวลาหลายนาที เห็ ด จะเรื อ งแสง (phosphorescence) ป จ จั ย ที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ อาการแสดงอั น ได แ ก อาเจี ย น ท อ งเสี ย ออนเพลีย คือ ระยะเวลาที่จะเริ่มอาการอยางรวดเร็ว อาการจะแสดงในเวลานอยกวา 2 ชั่วโมง และหายไปใน 6 – 12 ชั่วโมง ซึ่งระยะเวลาที่เกิดอาการขึ้นอยางรวดเร็วนี้แสดงวา อาการพิษที่เกิดขึ้นไมไดเกิดจากเห็ดกลุมที่ มี cyclopeptide

49

5. ขั้นตอนการบงชี้ชนิดเห็ดที่ไมรูจัก : 1) ถาระยะเวลาในการเริ่มแสดงอาการทางกระเพาะและลําไสเกิดขึ้นภายใน 2 – 3 ชั่วโมง หลังจากรับประทาน (แนใจวาไมไดรับประทานเห็ดอื่นๆ ใน 12 ชั่วโมง) อาการพิษนั้นไมไดเกิดจาก เห็ดสกุล Amanitia 2) ตองพยายามเก็บตัวอยางเห็ดหรือรายละเอียดลักษณะรูปรางเพื่อนํามาตรวจสอบ ชนิดและน้ําลางกระเพาะ อาจมีสปอรของเห็ดอยูดวย ซึ่งจะตองตรวจวิเคราะหดวย 3) ถาสามารถเก็บตัวอยางของหมวกเห็ด (cap) ได ใหนํามาพิมพสปอรไวโดยวาง หมวกเห็ด (pileus) ลงบนกระดาษ (เอาสวน spore bearing surface ลง) ทิ้งไวอยางนอย 4 – 6 ชั่วโมง ใน บริเวณที่ไมมีลม จะสามารถนําสปอรที่ติดบนกระดาษไปตรวจดูสี 4) ในการจําแนกชนิดของเห็ดควรติดตอและใชแหลงขอมูลที่ถูกตอง เชน สงตรวจ วิเคราะหไดที่กรมวิทยาศาสตรการแพทย หรือกรมวิชาการเกษตร ลักษณะของเห็ดที่จะสงตรวจวิเคราะห จะตองมีสภาพดอกสมบูรณไมเนาเสีย 5) ในกรณีเรงดวนที่จําเปนตองทราบชนิดเห็ดพิษนั้นควรมี Melzer’s reagent (เปน สารละลายของ potassium iodide 1.5 กรัม , iodine 0.5 กรัม , chloral hydrate 20 กรัม และน้ํา 20 มล.) ใชยอม สีตัวอยางสปอร โดยหยด reagent 1 หยด และตรวจดูภายใตกลองจุลทัศน ซึ่งอยางนอยจะชวยชี้วาเห็ดเปน ชนิด Amanita ถาพบวารอบสปอรเกิด bluish black Amyloid

50

------------------------------------------------------------Reference 1. สุรจิต สุนทรธรรม สารพิษจากเห็ด หลักการวินิจฉัยและรักษาภาวะเปนพิษ บทที่ 24 บรรณาธิการ สมิง เกาเจริญ และคณะ 2541 : 362 – 374 2. ฉันทนา จุติเทพรักษ, ดร. ฉลอง กอนันทเกียรติ, สุรีย เจียรณมงคล ชนิดของเห็ดพิษ การตรวจสอบ การ รักษา และการปองกันพิษภัยจากสารตามธรรมชาติ พิช สัตว จุลินทรีย 2531 : 7 -19 3. พาณี เตชะเสน เห็ดพิษ พิษวิทยา หลักการวินิจฉัยและรักษา 2521 : 77 – 90

51

การวินิจฉัยแยกโรคพิษจากเห็ดพิษชนิดตางๆโดยอาศัยลักษณะทางคลินิก (ดัดแปลง) (Lampe KF Mushroom poisoning in children update Pediatrician 1977; 6: 289 – 99 ) เริ่มเกิดอาการภายใน 3 ชม. หลังรับประทาน

อาการแสดงเบื้องตน - หนาแดง - คลื่นไสอาเจียน - อุจจาระรวง - ตะคริว

อาการแสดงเบื้องตน - เหงื่อออกมาก - คลื่นไส - ปวดทอง

อาการแสดงเบื้องตน - ประสาทหลอน - เพอฝน

Disulfiram – like reaction

Muscarine (3.1)

- รวมกับซึม, หมดสติ - ชัก

ไมใช Gastrointestinal tom (6)

จําแนกชีวพิษของเห็ดตามอาการเดนในระบบตางๆ 1. พิษตอตับ ไดแก Cyclopeptide 2. พิษตอระบบประสาทสวนกลาง ไดแก 2.1 Monome thylhydrazine (gyromitrin) 2.2 Indoles (psilocin – psilobycin) 3. พิษตอระบบประสาทอัตโนมัติ ไดแก 3.1 Cholinergic syndrome ไดแก muscarine 3.2 Anticholinergic syndrome ไดแก ibotenic acid และ muscimol 4. พิษตอไต ไดแก orelline, orellanine 5. พิษรวมกับ alcohol เหมือน disulfiram ไดแก coprine 6. พิษตอทางเดินอาหาร เกิดจากสารชีวพิษที่ยังไมมีการพิสูจนทราบแนชัด

ไมใช Psilocybin หรือ Psilocin (2.2)

Coprine (5)

Ibotenic acid muscimol (3,2) 52

การวินิจฉัยแยกโรคพิษจากเห็ดพิษชนิดตางๆโดยอาศัยลักษณะทางคลินิก (ดัดแปลง) (Lampe KF. : Mushroom poisoning in children update Pediatrician 1977; 6: 289 – 99 ) เริ่มเกิดอาการภายใน 6 ชม. หรือมากกวา หลังรับประทานเห็ด

อาการแสดงเบื้องตน ใน 6 – 24 ชม - ปวดศรีษะ ไมมีแรง - คลื่นไส - ตอมามีอาการ ผิดปกติทางระบบ ประสาทสวนกลาง

อาการแสดง เบื้องตนใน 10 ชม. หรือมากกวา - อาเจียน - อุจจาระรวง ตามดวย hepate-

Monomethyl hepdrazine (2.1)

Cyclopeptide (1)

อาการแสดง เบื้องตนใน 3 วัน หรือมากกวา - ปวดทอง คลืน่ ไส - อาเจียน - ไตวาย

renal syndrome

จําแนกชีวพิษของเห็ดตามอาการเดนในระบบตางๆ 1. พิษตอตับ ไดแก cyclopeptide 2. พิษตอระบบประสาทสวนกลาง ไดแก 2.1 Monome thylhydrazine (gyromitrin) 2.2 Indoles (psilocin – psilobycin) 3. พิษตอระบบประสาทอัตโนมัติ ไดแก 3.1 Cholinergic syndrome ไดแก muscarine 3.2 Anticholinergic syndrome ไดแก ibotenic acid และ muscimol 4. พิษตอไต ไดแก orelline, orellanine 5. พิษรวมกับ alcohol เหมือน disulfiram ไดแก coprine 6. พิษตอทางเดินอาหาร เกิดจากสารชีวพิษที่ยังไมมีการพิสูจนทราบแนชัด

oreline, orellamine (4)

53

54

Related Documents