Final Red Breasted Parakeet Present1

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Final Red Breasted Parakeet Present1 as PDF for free.

More details

  • Words: 543
  • Pages: 67
โครงการวิจัย การเพาะเลี้ยงนกแขกเตาในกรง เพาะเลี้ยงของสวนสัตวนคราชสีมา

Common name: Red - breasted Parakeet Scientific name : Psittacula alexandri Total length : 33 – 37 cm. Female: Bill all black, breast richer pink, strong light blue wash on crown and side of head, tail streamer average shorter.

Male: Bill thick, yellow-tipped red upper mandible and blackish Lower mandible. Crown and side of head mostly pale lilac-grey to lilac blue . Black loral line ( crossing forehead ).

Habitat & Behavior : Open broadleaved evergreen, semi-evergreen and Deciduous Forest. Visitis cultivation; up to 1,200 m. Range and Status: Resident N,NE India subcontitent,AndamanIs, SW,S China, Sumatra, Java, S Borneo. SE Asia: Common Resident Myanmar ,Thailand

Breeding: December – April, Loosely colonial. Nest: Existing tree hole ( often adapted ) or woodpecker or barbet nest; 3-10 m above ground. Eggs 3 -4 egg/ cluster. Incubation period about 24 days.

Status

LEAST CONCERN ( LC ) A taxon is least concern when it has been evaluated against the criteria, and does not qualify for Critically endangered, Endangered, Vulnerable or Near Threatened. Widespread and abundant taxa

are included in this category

ความสําคัญและที่มา เนื่องดวยสวนสัตวนครราชสีมา ไดเริ่มมีการนํานกแกวแขกเตามา เพาะเลี้ยงตั้งแตป 2542 จํานวนลูกนกที่เกิดตอปคอนขางนอย โดยไดลูกนก 2-3 ปตอหนึ่งครอก ซึ่งขอจํากัดที่ทําใหเกิดกรณีดังกลาวเนื่องมาจาก

นกขาดความรูสึกปลอดภัยในพื้นที่ เนื่องจากเปนพื้นที่จัดแสดงสัตว มีนกแกว หลายชนิดอยูรวมกัน มีสิ่งแวดลอมมีสิ่งรบกวนมาก เชนผูเที่ยวชมที่ผานไปมา และดานหนาเปนกระจกใส

พื้นที่ตอตัวนกนอยเกินไปโดยเปนสวนแสดงที่มีขนาด กวาง*ยาว*สูง 3*3*3 เมตร ตอนกแกวแขกเตาจํานวน 12 ตัว ( 2.25 ลูกบาศเมตร/ตัว)

ความสูงของโพรงรังเทียมต่ําเกินไปประมาณ 1 -1.50 เมตรและขนาด ของโพรงรังเทียม ไมแนนอน ขึ้นกับขนาดทอนไมที่จะจัดหามาได

จุดประสงคของโครงการวิจัย - ถึงแมวาสถานภาพการถูกคุกคามของนกแกวแขกเตายังอยูในระดับ

เสี่ยงตอการสูญพันธนอย ( least concern ) แตองคความรูที่จะจัดการนกชนิด นี้ในกรงเลี้ยงใหสามารถวางไขและฟกเปนตัวยังมีไมมากนัก ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้ จึงตองการหาวิธีการที่เหมาะสมเพื่อการจัดการในดานตาง ๆ เชน การสุขาภิบาล อาหาร วิธีการจับคู ลักษณะกรงเลี้ยง พฤติกรรมของนกนอก และในฤดูผสมพันธุ เพื่อใหไดเปนความรูพื้นฐานอันหวังผลที่จะใหไดรับความสําเร็จในเรื่องเพาะ ขยายพันธุในกรงเลี้ยง

วิธีการดําเนินการวิจัย และสถานที่ทําการทดลอง/เก็บขอมูล

- จัดสรางกรงเพาะเลี้ยงจํานวน 1 กรงใหญขนาดกรงรวมขนาด 4.8*4.8*3.5 เมตร ( 6.72 ลบม/ตัว ) และ 3กรงยอยขนาดขนาด 2.4*2.4*2.4 เมตร ( 6.92 ลบม/ตัว ) ในพื้นที่นอกสวนแสดงสัตวและทําการปรับปรุงระบบนิเวศรอบ ๆ บริเวณกรงเพาะเลี้ยง

วิธีการดําเนินการวิจัย และสถานที่ทําการทดลอง/เก็บขอมูล

•จัดสรางกรงเพาะเลี้ยงจํานวน 1 กรงใหญ และ 3กรงยอย ในพื้นที่นอกสวนแสดง สัตวและทําการปรับปรุงระบบนิเวศรอบ ๆ บริเวณกรงเพาะเลี้ยง

ตกแตงสภาพภายในกรงเพาะเลี้ยง จัดวางโพรงรังเทียมรูปตัวแอลใหญขนาด 28 *หัวตัวแอล 25.5 , ฐานตัวแอล 50 เซนติเมตร*50 เซนติเมตร และโพรงรัง เทียมรูปแอลเล็กขนาด และติดตั้งกลองวิดีโอวงจรปดเพื่อชวยในการสังเกต พฤติกรรม

ติดตั้งโพรงรังเทียมที่ตั้ง ภายในกรงดักเพื่อจุดประสงค แยกคูนกที่จับคูกัน

ทําการชั่งน้ําหนัก วัดขนาดนก ตรวจสุขภาพนกเบื้องตน และยายนกไปยัง กรงเพาะเลี้ยงแหงใหม

ยายนกไปยังกรงเพาะเลี้ยงแหงใหม

วิธีการเก็บขอมูลประจําวัน • • • • •

เก็บขอมูลจากกลองวงจรปด (5ตัว) กลองสองทางไกลสองและบันทึกภาพจากกลองดิจิตอล บันทึกขอมูลตามแบบฟอรม บันทึกอุณหภูมิ ความชื้น ความเขมของแสงประจําวัน ชั่งอาหารกอนใหและหลังให

ผลการศึกษา

ฤดูผสมพันธุนกแกวแขกเตา • ชวงนอกฤดูผสมพันธุ ( มิถุนายน - กันยายน ) ของนกแขกเตามี ความสัมพันธระหวางคูนกแบบหลวมๆ โดยนกเพศผูและนกเพศเมียมักไม เขามาใกลชิดกันและทํากิจกรรมรวมกันนอย - ฤดูผสมพันธุหมายถึงชวงเวลาที่เริ่มตั้งแตการเกี้ยวพาราสี สนใจโพรง รังเทียม ผสมพันธุ ออกไข ฟกไขและเลี้ยงลูกออนจนกระทั่งลูกนก สามารถกินอาหารไดเอง

ในชวงเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน นกเพศผู และเมียสนใจโพรงรังเทียม ซึ่งใชชวงเวลานี้ สามารถใชในการแยกคูนกออกจากกรงรวม นก โดยตัวเมียจะเปนตัวเริ่มที่จะสนใจรัง กอนตัวผู

พฤติกรรมการผสมพันธุของนกแขกเตาอยูระหวางเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธุ

นกแกวแขกเตาเพศเมียวางไขในชวงเดือนกุมภาพันธุและมีนาคม

พอและแมนกเลี้ยงลูกนกในชวงเดือนเมษายนและพฤษภาคม

ลูกนกออกจากโพรงรังเทียมในชวงเดือนพฤษภาคม

พฤติกรรมการวางไขและลักษณะของไขนกแขกเตา • นกเพศเมียวางไขในระหวางเดือนกุมภาพันธุถึง มีนาคม ระยะหางของ การวางไขในแตละฟองของแมนกแขกเตาวางไขทุก 1 - 5 วัน จํานวนไข ตอครอกเฉลี่ย 4 ฟอง

ลักษณะและขนาดของไข

รูปทรงของไขนกแกวเปนรูปยาวรี ขนาดความยาวของไข 24 มิลลิเมตร ขนาดความกวางของไข 19 มิลลิเมตร น้ําหนัก 10กรัม

พฤติกรรมการฟกไข

พบวานกเพศเมียเทานั้นที่ทําหนาที่ฟกไข นกเพศผูจะมาที่ปากโพรงชวงๆเพื่อปอน อาหารใหแกนกเพศเมียแตไมไดฟกไข แมนกใชเวลาในการฟกไขเฉลี่ย 24วัน

ลูกนกที่มีอายุ 7 วัน

ลูกนกที่มีอายุ 14 วัน

ลูกนกที่มีอายุ 21 วัน

ลูกนกอายุ 28 วัน

ลูกนกอายุ 35 วัน

ลูกนกอายุ 42 วัน

ลูกนกออกจากโพรงรังเทียมที่อายุ วัน

การแยกลูกนกเพื่อศึกษาพัฒนาการการเจริญเติบโต สาเหตุของการแยกลูกนกจากการดูแลของพอและแมนกเพื่อเพิ่มจํานวน ครอกตอฤดูผสมพันธุ ไดลูกนกทีเชื่องกับมนุษยมากขึ้นเหมาะสมตอการเปน นกเลี้ยงในบาน

ภาพกอนแยกลูกนกออกจากแม

แยกลูกนกที่มีชวงอายุประมาณ 7-9 วันออกจากโพรงรังเทียม

ลูกนกอายุ 9 – 52 วัน จัดใหลูกนกอยูในถาดพลาสติกรองดวยขี้เลื่อยหนา ประมาณ 2 นิ้ว

ใสถาดพลาสติกไวในตะกราพลาสติก เปลี่ยนขี้เลื่อยและทําความสะอาด ภาชนะดวยน้ํายาฆาเชื้อทุก 3 วัน ตั้งตะกราพลาสติกไวในตูกกลูกนก

ตั้งตะกราพลาสติกไวในตูกกลูกนก โดยประสิทธิภาพของตูกกลูกนกนี้สามารถ ควบคุมอุณหภูมิภายในใหอยูในชวง 30 -32 องศาเซลเซียส และ ชวงความชื้น สัมพัทธ 41-91%

ปอนอาหารสําเร็จรูปสําหรับลูกนกใหแกลูกนกจนกระทั่งลูกนกกินอาหารเองได ชวงลูกนกอายุนอยปริมาณอาหารและระยะหางของการปอนอาหารขึ้นอยูกบั การสังเกต ความจุกระเพาะพักและเวลาที่ใชในการยอยอาหารของลูกนกแตละตัว

สูตรอาหารลูกนกแบบสําเร็จรูป

โปรตีนไมนอยกวา19% ไขมันไมนอยกวา13% เยื่อใยไมนอยกวา4% ความชื้นไมเกิน4%

เมื่อลูกนกเริ่มบินไดและหัดกินอาหารเอง จึงลดปริมาณอาหารและเพิ่มระยะหาง ของการปอนอาหารเพื่อบังคับใหลูกนกกินอาหารเอง

การเก็บขอมูล ของการเลี้ยงลูกนก แกวโดยมนุษย 1.น้ําหนักของลูกนกในแตละวัน โดยชั่งชวงเชากอนปอนอาหาร 2.ปริมาณอาหารที่ปอนลูกนก 3. จํานวนมื้อ 4.

ทุก 7 วันวัดความยาวปก,วัดจะงอยปาก และความยาวแขง บันทึกภาพการเปลี่ยน แปลงของรางกาย

ดูภาพแสดงการเจริญเติบโตของลูกนกแกวแขกเตาที่เลี้ยงโดยมนุษย

แยกลูกนกเมื่อมีอายุได 7 วัน

ลูกนกแขกเตาอายุ 13 วันเริ่มมีขนสีเหลืองที่กระเพาะพักและลําตัว

อายุ18วันมีขนสีเทาโผลพนผิวหนังบริเวณลําตัวและปก

อายุ 26 วันเริ่มมีขนออนสีเทาขึ้นบริเวณปก

ลูกนกแขกเตาอายุ32วันมีขนสีเขียวที่ปก,สวนหางและที่บริเวณหัวมีขนสี เทาขึ้นปกคลุม

อายุ48วันขนขึ้นเต็มทั้งรางกาย

อายุ55วันนกสามารถบินได

ลูกนกอายุ 60 วัน แยกออกมาเลี้ยงในกรง

ปอนอาหารลูกนกจํานวน 2 ครั้ง/วัน

ลูกนกสามารถกินอาหารไดเองภายใน 7 วันหลังจากเริ่มนําอาหารมาวาง

สรุปจํานวนนกที่สามารถเพาะขยายพันธุได ป

คูนก

จํานวนไข

2008

4

12

10

7,6

3,3

9

2009

4

16

12

8,8

4,3

11

ฟกออกเปน เลี้ยงโดยพอ- เลี้ยงโดย รวมลูก ตัว แมนก/รอด มนุษย/รอด นก

20

สรุปผลการศึกษา - การเพาะเลี้ยงนกแกวแขกเตาในพื้นที่นอกสวนแสดงสัตวที่มีการรบกวนนอยจะ เพิ่มโอกาสในการเพาะขยายพันธุมากยิ่งขึ้น - นกแขกเตาสามารถเพาะขยายพันธุไดทั้งในสภาพอยูรวมฝูงและแยกเปนคูเดี่ยว - ขนาดของขนาดของโพรงรังเทียม กวาง*ยาว*สูง 28*28* 55 เซนติเมตร และ ขนาดโพรงรังเทียมรูปตัว (L) ( กวาง*ยาว*สูง ) 28*( สวนบน 25.5, ฐาน 50 ) *50 cm -ตูกกลูกนก ควบคุมอุณหภูมิภายในใหอยูในชวง 30 -32 องศาเซลเซียส และ ชวงความชื้นสัมพัทธ 41-91% -สูตรอาหารลูกนกแบบสําเร็จรูป โปรตีนไมนอยกวา19% ไขมันไมนอยกวา13% เยื่อใยไมนอยกวา4% ความชื้นไมเกิน4%

Related Documents