Red Breasted Parakeet Parrot Korea

  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Red Breasted Parakeet Parrot Korea as PDF for free.

More details

  • Words: 662
  • Pages: 99
โครงการวิจัย การเพาะเลี้ยงนกแขกเตาในกรง เพาะเลี้ยงของสวนสัตวนคราชสีมา

Common name: Red - breasted Parakeet Scientific name : Psittacula alexandri Total length : 33 – 37 cm. Female: Bill all black, breast richer pink, strong light blue wash on crown and side of head, tail streamer average shorter.

Male: Bill thick, yellow-tipped red upper mandible and blackish Lower mandible. Crown and side of head mostly pale lilac-grey to lilac blue . Black loral line ( crossing forehead ).

Habitat & Behavior : Open broadleaved evergreen, semi-evergreen and Deciduous Forest. Visitis cultivation; up to 1,200 m. Range and Status: Resident N,NE India subcontitent,AndamanIs, SW,S China, Sumatra, Java, S Borneo. SE Asia: Common Resident Myanmar ,Thailand

Breeding: December – April, Loosely colonial. Nest: Existing tree hole ( often adapted ) or woodpecker or barbet nest; 3-10 m above ground. Eggs 3 -4 egg/ cluster. Incubation period about 24 days.

คณะผูวิจัย • • • • •

หัวหนาโครงการ ผูรวมวิจัยคนที่1 ผูรวมวิจัยคนที่2 ผูชวยวิจัย ผูชวยวิจัย

น.สพ.วิชิต นายวันชัย นายจํานงค นายสามารถ นายเอนก

กองคํา สวาสุ สุรพัฒน กําลังฤทธิ์ พิมพจันทึก

ความสําคัญและที่มา • เพื่อหาแนวทาง ที่เหมาะสมเพื่อการจัดการในดานตาง ๆ เชน การ สุขาภิบาล อาหาร วิธีการจับคู ลักษณะกรงเลี้ยงที่เหมาะสม พฤติกรรมของนกนอก และในฤดูผสมพันธุ เพื่อใหไดเปนความรู พื้นฐานอัน หวังผลที่จะใหไดรับความสําเร็จในเรื่องเพาะขยายพันธุใน กรงเลี้ยง ถามีการนําขอมูลนี้นํามาทําเปนฟารมเลี้ยงนกแกวเพื่อเปน การคา ทําใหราคานกที่ขายในตลาดมีราคาไมสูงเกินไป คนเลี้ยงนกก็ จะหันมาเลี้ยงนกที่เกิดในกรงเลี้ยงมากขึ้นเนื่องจากนกที่เกิดในกรงเลี้ยงมี ความเชื่องมากกวาและการปรับตัวกับสภาพกรงเลี้ยงมีไดมากกวาดวย

วัตถุประสงคโครงการวิจัย • เพื่อศึกษารูปแบบของพฤติกรรมการจับคูผสมพันธุของนกแขกเตา ใน สภาพที่มีการเลี้ยงอยูในกรงเพาะเลี้ยง ของสวนสัตวนครราชสีมา • เพื่อศึกษาลักษณะของกรงเลี้ยงนกแขกเตาที่เหมาะสมตอการขยายพันธุ เพาะเลี้ยง • เพื่อศึกษาพฤติกรรมการผสมพันธุ ออกไข ฟกไข เลี้ยงดูลูก และการ พัฒนาการของลูกนกแขกเตาเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการเพาะเลี้ยง ขยายพันธุนกแขกเตาตอไปในอนาคต

วิธีการดําเนินการวิจัย และสถานที่ทําการทดลอง/เก็บขอมูล • จัดเตรียมนกที่จะใชในการศึกษาจํานวน 8 คู (รวม 16 ตัว) โดยเปนนกที่มี การเจริญ เติบโตเต็มที่แลว พรอมทําการตรวจสอบสุขภาพเบื้องตน • จัดสรางกรงเพาะเลี้ยงจํานวน 1 กรงใหญ และ 3กรงยอย และทําการ ปรับปรุงระบบนิเวศรอบ ๆ บริเวณกรงเพาะเลี้ยง • จัดเตรียมอุปกรณในการดําเนินงาน ไดแก ถาดน้ํา ถาดอาหาร พรอม ทั้งอุปกรณทําความสะอาด และเวชภัณฑ • สถานที่ในการทําการวิจัยและเก็บขอมูล ใชพื้นที่จัดแสดงบริเวณกรง เพาะเลี้ยงนกแขกเตา ของสวนสัตวนครราชสีมา

ขั้นตอนการดําเนินการศึกษา • นํานกแขกเตาทั้งหมดจํานวน 16 ตัว (เพศผู 8 ตัว และเพศเมีย 8 ตัว) เขาไป เลี้ยงในกรงเพาะเลี้ยงขนาดใหญที่ไดจัดเตรียมไว เพื่อใหนกแขกเตาไดมีการ เลือกคูผสมพันธุกันโดยอิสระ • เมื่อถึงชวงฤดูผสมพันธุ ทําการแยกนกแขกเตาที่จับคูโดยการใชกรงดัก เพื่อ มาเลี้ยงไวในกรงเล็กเปนคู ๆ โดยในกรงขนาดเล็กจะประกอบไปดวยถาดน้ํา ถาดอาหาร และรังเทียม • ทําการศึกษาพฤติกรรมการเลือกคู การเกี้ยวพาราสี การผสมพันธุ การวางไข การฟกไข การเลี้ยงดูลูก และการพัฒนาการของลูกนก

ขนาดกรงเพาะขยายพันธุมี 2 แบบ • กรงรวมขนาด4.8×4.8×3.5เมตร จํานวน1กรง • และกรงสําหรับนก1คูขนาด 2.4×2.4×3.5เมตร จํานวน3กรง

ขนาดโพรงรังเทียมและกรงดักจับ

ขนาดโพรงรังเทียมรูปตัว (L) ( กวาง*ยาว*สูง ) 28*( สวนบน 25.5, ฐาน 50 ) *50 cm

ขนาดของโพรงรังเทียม กวาง*ยาว*สูง 28*28* 55 เซนติเมตร

ขนาดกรงดักจับนก 64×120×90cm ขนาดประตูปด55×90cm

กลองวงจรปดที่ติดตั้งภายในกรงเพาะเลี้ยง

วิธีการเก็บขอมูลประจําวัน • • • •

เก็บขอมูลจากกลองวงจรปด (5ตัว) กลองสองทางไกลสองและบันทึกภาพจากกลองดิจิตอล บันทึกอุณหภูมิ ความชื้น ความเขมของแสงประจําวัน ชั่งอาหารกอนใหและหลังให

ฤดูผสมพันธุนกแกวแขกเตา • ในชวงนอกฤดูผสมพันธุ ( มิถุนายน - กันยายน ) ของนกแขกเตามี ความสัมพันธระหวางคูนกแบบหลวมๆ โดยนกเพศผูและนกเพศเมียมัก ไมเขามาใกลชิดกันและทํากิจกรรมรวมกันนอย • สรุปฤดูผสมพันธุหมายถึงชวงเวลาที่เริ่มตั้งแตการเกี้ยวพาราสี ผสม พันธุ ออกไข ฟกไขและเลี้ยงลูกออนจนกระทั่งลูกนกสามารถกิน อาหารไดเอง

พฤติกรรมการผสมพันธุของนกแขกเตาอยูระหวางเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธุ

นกแกวแขกเตาเพศเมียวางไขในชวงเดือนกุมภาพันธุและมีนาคม

พอและแมนกเลี้ยงลูกนกในชวงเดือนเมษายนและพฤษภาคม

ลูกนกออกจากโพรงรังเทียมในชวงเดือนเมษายนและพฤษภาคม

ฤดูผสมพันธุนกแกวแขกเตา • เมื่อเริ่มเขาฤดูสืบพันธุ( ตุลาคม ) นกทั้งสองตัวจึงเขามาใกลกันมากขึ้น • • ในชวงเริ่มตนของฤดูผสมพันธุนกเพศผูและเมียสนใจโพรงรังเทียม ซึ่ง สามารถใชชวงเวลานี้เพื่อแยกคูนกออกจากกรงรวมนก โดยตัวเมียจะ เปนตัวเริ่มที่จะสนใจรังกอนตัวผู

นกเพศผูและเมียสนใจรังไขในชวงเดือน ตุลาคมถึงพฤศจิกายน ซึ่งใชชวงเวลานี้ สามารถใชในการแยกคูนกออกจากกรงรวม นก โดยตัวเมียจะเปนตัวเริ่มที่จะสนใจรัง กอนตัวผู

ภาพแสดงวิธีการดักจับนกเพื่อแยกนกที่จับคูกันออกจากฝูง

พฤติกรรมการปอนอาหารระหวางพอและแมนก • 1.

การปอนอาหารในนกแกวแขกเตามีเกิดขึ้นใน 4 กรณีคือ ในพฤติกรรมเกี้ยวพาราสีในชวงเริ่มตนฤดูผสมพันธุ กอนที่จะถึงชวงการผสม พันธุโดยมีจุดประสงคที่นกเพศผูตองการสรางความสัมพันธกับนกเพศเมีย ซึ่ง พฤติกรรมดังกลาวเปนการบอกวานกทั้งสองตัวไดทําการเลือกคูและจับคูกัน แนนอนแลว และ 2. ในชวงกอนที่นกเพศผูจะขึ้นผสมพันธกับตัวเมีย 3. พอนกนําอาหารมาปอนแมนกที่บริเวณปากรังเทียม ในชวงที่แมนกฟกไขและ แมนกเลี้ยงลูกนก 4. พอนกและแมนกชวยกันปอนอาหารใหแกลูกนกโดยเริ่มตั้งแตลูกนกสามารถปน ปายมาที่ปากโพรงของรังเทียมไดจนกระทั่งลูกนกสามารถกินอาหารไดเอง

ในพฤติกรรมเกี้ยวพาราสีในชวงเริ่มตนฤดูผสมพันธุ เพื่อกอนที่จะผสมพันธุที่นกเพศ ผูตองการสรางความสัมพันธกับนกเพศเมีย และในชวงกอนที่นกเพศผูจะขึ้นผสม พันธกับตัวเมีย

รูปภาพเคลื่อนไหวแสดงนกแกวแขกเตาเพศผูปอนอาหารนกเพศเมียในชวงเริ่ม ตนของฤดูผสมพันธุ

การปอนอาหารของพอนกใหกับแมนก อาหารสวนใหญจะนําไปใชสําหรับ การเลี้ยงลูกนกซึ่งเปนอาหารเหลว

พฤติกรรมการปอนอาหารใหกับลูกนกที่เกิดในปที่ผานมา สามารถสังเกตพฤติ กรรมดังกลาวไดในชวงการเลี้ยงลูกออนที่เกิดใหม

พฤติกรรมการผสมพันธุ - นกเพศใดเพศหนึ่งจะเปนฝายเขาหานกเพศตรงขามกอน ตัวที่เปนฝาย เขาหาจะกมหมอบเดินเขานกเพศตรงขามชาๆ หรืออาจไมกมตัวแต สาวเทาเดินเขาหาอยางรวดเร็ว ถานกเพศตรงขามไมยอมรับก็จะถอย ออกหางหรือบินหนีไป ถาฝายตรงขามยอมรับก็จะยืนนิ่ง นกตัวที่เปน ฝายเขาหาก็จะเขาไปใกลจนชิดแลวเอาหัวชนสีขางหรือทองของฝายตรง ขามเบาๆหรือเอาจะงอยปากขบตีนของฝายตรงขามเบาๆ หลังจากนั้น นกทั้งสองตัวเริ่มมีปฏิสัมพันธกันมากขึ้น โดยตัวผูจะเปนฝายปอน อาหารให

รูปภาพแสดงการผสมพันธุของนกแกวแขกเตา

รูปแสดงภาพเคลื่อนไหวในชวงการผสมพันธุของนกแกวแขกเตา

รูปภาพแสดงทาทางของพอและแมนกในพฤติกรรมเกี่ยวพาราสีกัน กอนที่จะผสมพันธุ

รูปภาพแสดงทาทางของพอและแมนกในพฤติกรรมเกี่ยวพาราสีกัน กอนที่จะผสมพันธุ

ภาพแสดงชวงการผสมพันธุของนกแกวแขกเตา ใชเวลาในการผสมพันธุเฉลี่ย 2 - 4 นาทีตอครั้ง โดยเริ่มตั้งแตตัวผูขึ้นทับตัวเมีย จนกระทั่งลงจากหลังตัวเมีย

ภาพแสดงชวงการผสมพันธุของนกแกวแขกเตา ใชเวลาในการผสมพันธุเฉลี่ย 2 - 4 นาทีตอครั้ง โดยเริ่มตั้งแตตัวผูขึ้นทับตัวเมีย จนกระทั่งลงจากหลังตัวเมีย

พฤติกรรมการเขารังของนกเพศเมีย • พฤติกรรมการเขารังเปนพฤติกรรมเฉพาะแมนก โดยพฤติกรรมภายใน รังจะมีการวางไข ฟกไขและเลี้ยงลูกนก • โดยนกจะเริ่มอยูในรังมากขึ้น เมื่อวางไขฟองที่ 2 เสร็จ • ในชวงการฟกไขแมนกจะออกจากรังนอยมา การออกจากรังเพื่อไปกิน อาหาร ขยับรางกายและขับถาย โดยใชเวลาครั้งละ 1-2 นาที • ในชวงการเลี้ยงลูกนก การออกจากรังจะเห็นบอยครั้งในชวงเชาหลังจาก ผูเลี้ยงใหอาหาร ซึ่งแมนกจะตองกินอาหารเพื่อนําไปปอนลูกนกในรัง • การพึ่งพาอาหารของแมนกจากพอนก อาหารที่รับจากพอนกสวนใหญนี้ จะนําไปใชเพื่อการเลี้ยงลูกนก

ภาพแสดงแมนกเกาะที่ปากโพรงรังเทียม เพิ่อพักผอนในชวงที่แมนกตองมี กิจกรรมภายในโพรงรังเทียม

พฤติกรรมการวางไขและลักษณะของไขนกแขกเตา • นกเพศเมียวางไขในระหวางเดือนกุมภาพันธุถึง มีนาคม ระยะหางของ การวางไขในแตละฟองของแมนกแขกเตาวางไขทุก 1 - 5 วัน จํานวนไข ตอครอกเฉลี่ย 4 ฟอง

ลักษณะและขนาดของไข

รูปทรงของไขนกแกวเปนรูปยาวรี ขนาดความยาวของไข 24 มิลลิเมตร ขนาดความกวางของไข 19 มิลลิเมตร น้ําหนัก 10กรัม

พฤติกรรมการฟกไข

พบวานกเพศเมียเทานั้นที่ทําหนาที่ฟกไข นกเพศผูจะมาที่ปากโพรงชวงๆเพื่อปอน อาหารใหแกนกเพศเมียแตไมไดฟกไข แมนกใชเวลาในการฟกไขเฉลี่ย 24วัน

ศัตรูทางธรรมชาติที่รบกวนกระบวนการผสมพันธุของนก แขกเตา

ผึ้งจะเขาไปทํารังในโพรงรังเทียม หนูที่จะมาแยงอาหารและรบกวนภายในโพรงรังไขเทียม

ชวงของพอและแมนกเลี้ยงลูกนกในชวงเดือนเมษายนและพฤษภาคม

การปอนอาหารของพอนกใหกับแมนก อาหารสวนใหญจะนําไปใชสําหรับ การเลี้ยงลูกนกซึ่งเปนอาหารเหลว

ภาพเคลื่อนไหวแสดงการปอนอาหารของพอนกใหกับแมนกในชวงที่แมนกเลี้ยง ลูกในโพรงรังเทียม

ขาวโพดเปนอาหารสําคัญที่มีพอและแมนกมีปริมาณการกินเพิ่มมากขึ้น ในชวงการเลี้ยงลูก

ภาพแสดงการเจริญเติบโตของลูกนกแกวแขกเตาในชวงเวลาตางๆ

ลูกนกที่มีอายุ 7 วัน

ลูกนกที่มีอายุ 14 วัน

ลูกนกที่มีอายุ 21 วัน

ลูกนกอายุ 28 วัน

ลูกนกอายุ 35 วัน

ลูกนกอายุ 42 วัน

ลูกนกออกจากโพรงรังเทียมที่อายุ วัน

การแยกลูกนกเพื่อศึกษาพัฒนาการการเจริญเติบโต สาเหตุของการแยกลูกนกจากการดูแลของพอและแมนกเพื่อเพิ่มจํานวน ครอกตอฤดูผสมพันธุ ไดลูกนกทีเชื่องกับมนุษยมากขึ้นเหมาะสมตอการเปน นกเลี้ยงในบาน การเก็บขอมูล 1.น้ําหนักของลูกนกในแตละวันโดยชั่งชวงเชากอนปอนอาหาร 2.ปริมาณอาหารที่ปอนลูกนก 3. จํานวนมื้อ

การแยกลูกนกเพื่อศึกษาพัฒนาการการเจริญเติบโต • อุปกรณและเครื่องมือที่ใชการเลี้ยงลูกนก • • • • • • • •

ตูกกลูกนก ตะกรา ถวยใสอาหาร/ชอน ผาเช็ดปากลูกนก กระติกน้ํารอน ตาชั่งดิจิตอล เวอรเนียร ไซริ้งคกระบอกฉีดยา

ภาพกอนแยกลูกนกออกจากแม

แยกลูกนกที่มีชวงอายุประมาณ 7-9 วันออกจากโพรงรังเทียม

ลูกนกอายุ 9 – 52 วัน จัดใหลูกนกอยูในถาดพลาสติกรองดวยขี้เลื่อยหนา ประมาณ 2 นิ้ว

ใสถาดพลาสติกไวในตะกราพลาสติก เปลี่ยนขี้เลื่อยและทําความสะอาดภาชนะ ดวยน้ํายาฆาเชื้อทุก 3 วัน ตั้งตะกราพลาสติกไวในตูกกลูกนก

ตั้งตะกราพลาสติกไวในตูกกลูกนก โดยประสิทธิภาพของตูกกลูกนกนี้สามารถ ควบคุมอุณหภูมิภายในใหอยูในชวง 30 -32 องศาเซลเซียส และ ชวงความชื้น สัมพัทธ 41-91%

ปอนอาหารสําเร็จรูปสําหรับลูกนกใหแกลูกนกจนกระทั่งลูกนกกินอาหารเองได ชวงลูกนกอายุนอยปริมาณอาหารและระยะหางของการปอนอาหารขึ้นอยูกบั ความจุกระเพาะพักและเวลาที่ใชในการยอยอาหารของลูกนกแตละตัว

สูตรอาหารลูกนกแบบสําเร็จรูป

โปรตีนไมนอยกวา19% ไขมันไมนอยกวา13% เยื่อใยไมนอยกวา4% ความชื้นไมเกิน4%

เมื่อลูกนกเริ่มบินไดและหัดกินอาหารเอง จึงลดปริมาณอาหารและเพิ่มระยะหาง ของการปอนอาหารเพื่อบังคับใหลูกนกกินอาหารเอง

การเก็บขอมูล ของการเลี้ยงลูกนก แกวโดยมนุษย 1.น้ําหนักของลูกนกในแตละวัน โดยชั่งชวงเชากอนปอนอาหาร 2.ปริมาณอาหารที่ปอนลูกนก 3. จํานวนมื้อ 4.

ทุก 7 วันวัดความยาวปก,วัดจะงอยปาก และความยาวแขง

ดูภาพแสดงการเจริญเติบโตของลูกนกแกวแขกเตาที่เลี้ยงโดยมนุษย

แยกลูกนกเมื่อมีอายุได 7 วัน

ลูกนกแขกเตาอายุ 13 วันเริ่มมีขนสีเหลืองที่กระเพาะพักและลําตัว

อายุ18วันมีขนสีเทาโผลพนผิวหนังบริเวณลําตัวและปก

อายุ 26 วันเริ่มมีขนออนสีเทาขึ้นบริเวณปก

ลูกนกแขกเตาอายุ32วันมีขนสีเขียวที่ปก,สวนหางและที่บริเวณหัวมีขนสี เทาขึ้นปกคลุม

อายุ48วันขนขึ้นเต็มทั้งรางกาย

อายุ55วันนกสามารถบินได

ลูกนกอายุ 60 วัน แยกออกมาเลี้ยงในกรง

ปอนอาหารลูกนกจํานวน 2 ครั้ง/วัน

ลูกนกสามารถกินอาหารไดเองภายใน 7 วันหลังจากเริ่มนําอาหารมาวาง

การเพิ่มกิจกรรมในกรงเพาะเลี้ยง ตัวอยางการเพิ่มกิจกรรมในกรงเพาะเลี้ยง • การเปดน้ําฝนเทียม • การแขวนกิ่งไม • การเสียบผลไม

เปดน้ําฝนเทียมใหนกเลน

เปดชวงเชาของทุกวัน ใชเวลาในการเปด10-15นาที

พฤติกรรมที่พบเวลาเปดน้ําฝนเทียม

• เกาะโซ ปนปายดานบนของกรง บินไปมา

ภาพเคลื่อนไหวแสดงพฤติกรรมนกแกวแขกเตาชวงอาบน้ําเมื่อเปดฝนเทียมให

ภาพแสดงกอนและหลังการกัดแทะกิ่งปาลม

ภาพแสดงกอนและหลังการกัดแทะผลไม

ปญหาที่เกิดขึ้นระหวางการทํางานวิจัย - เครื่องบันทึกภาพวงจรปดชํารุดบอย - ไมสามารถสังเกตพฤติกรรมจากกลองวงจรปดไดทั้งหมด ตองใชการ สังเกตพฤติกรรมนกจาก การนั่งระยะไกลแลวดูดวยกลองสองทางไกลรวม ดวย

Related Documents