สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
คํานํา ในช ว ง 5 ป ที่ ผ า นมา เศรษฐกิ จ ไทยเผชิ ญ ความท า ทายต อ การบริหารเศรษฐกิจ เพื่อรักษาอัตราการเจริญเติบโตและเสถียรภาพ เพื่ อ ให ก ารสรา งรายไดแ กป ระชาชน การจ า งงาน และการลดความ ยากจนเปนไปอยางตอเนื่อง
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทย ในชวง 5 ป (2544-2548)
อุปสรรคทางเศรษฐกิจมีทั้งปจจัยเฉพาะที่หลายประเทศในโลก ไมตองเผชิญ เชน ธรณีพิบัติภัย (สึนามิ) ภัยแลงและน้ําทวมภายในป เดียวกัน ความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต โรค SARs และ ไขหวัดนก และปจจัยที่ทุกประเทศในโลกตองเผชิญ เชน ราคาน้ํามัน สงครามในตะวันออกกลาง การกอการรายสากล การชะลอตัวของ เศรษฐกิจสหรัฐฯ และความผันผวนของคาเงินสกุลหลักในโลก เปนตน เ ค รื่ อ ง ชี้ ภ า ว ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ไ ท ย ใ น ภ า พ ร ว ม ในชวง 5 ปที่ผานมา ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสั ง คมแห ง ชาติ (สศช.) ได ร ายงานภาวะเศรษฐกิ จ และสั ง คม ทุ ก ไตรมาส และข อ มู ล ที่ ร วบรวมจาก ธนาคารแห ง ประเทศไทย กระทรวงการคลัง สํานักงานสถิติแหงชาติ และหนวยงานที่เกี่ยวของ แสดงให เ ห็ น ถึ ง การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ อย า งต อ เนื่ อ ง ป ญ หา เศรษฐกิ จ ในช ว งวิ ก ฤตได ค ลี่ ค ลายลงอย า งชั ด เจนและเสถี ย รภาพ ทางเศรษฐกิ จ มี ค วามมั่ น คงเพิ่ ม ขึ้ น ดั ง ที่ นั ก วิ เ คราะห เ ศรษฐกิ จ และ สถาบั น ประเมิ น ความน า เชื่ อ ถื อ ของเศรษฐกิ จ ในระดั บ โลก ไดปรับอันดับความนาเชื่อถือของเศรษฐกิจไทยเพิ่มขึ้นมาอยางตอเนื่อง
สิงหาคม 2549
www.nesdb.go.th
2
I
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
สารบัญ ในขณะเดี ย วกั น เครื่ อ งชี้ ท างด า นสั ง คมและคุ ณ ภาพชี วิ ต ในภาพรวมก็ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น ทั้ ง ด า นความยากจน การกระจายรายได โอกาสในการศึ ก ษา และด า นสาธารณสุ ข อย า งไรก็ ดี มี ป ญ หาใหม ๆ ที่เ กิดขึ้ นจากกระแสโลกาภิ วั ตน ที่ ทํา ใหคานิยมอันดี งามของสังคมไทย โดยเฉพาะในกลุ ม ที่ มี ค วามอ อ นไหว เช น เด็ ก และเยาวชน ต อ งได รั บ การดูแลอยางจริงจังมากขึ้น
2. นโยบายรัฐบาลที่สาํ คัญ
4
2
12
ภาพรวมเศรษฐกิจ
12
ภาคเกษตรกรรม
13
ภาคอุตสาหกรรม
14
ภาคบริการทองเที่ยว
15
ภาคการคาระหวางประเทศ และ FTA
16
การจางงานและขีดความสามารถในการแขงขัน
19
รายไดครัวเรือน
20
การกระจายรายได
21
สถาบันการเงินและตลาดทุน
22
รัฐวิสาหกิจ
24
ฐานะการคลังและเสถียรภาพเศรษฐกิจ
25
หนี้สาธารณะ
27
หนี้ภาคธุรกิจและภาคครัวเรือน
28
31
ภาวะสังคม
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สิงหาคม 2549
I
1
3. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม 2544-2549
ในชวงตอไป เศรษฐกิจไทยจะยังเผชิญความผันผวนของภาวะ เศรษฐกิจโลก ราคาน้ํามัน และการกอการรายสากล ในขณะที่การแขงขัน จากการรวมตัวดานเศรษฐกิจและการเงินของโลก จะเปนทั้งโอกาสและ ขอจํากัดที่ทุกประเทศตองวางยุทธศาสตรและดําเนินการในการรองรับ ดั ง นั้ น ประเด็ น ท า ทายของการบริ ห ารเศรษฐกิ จ ไทย คื อ การปรั บ โครงสรางทางเศรษฐกิจ ใหสามารถเขาสูการเพิ่มคุณคาของสินคาและ บริ ก าร บนฐานความรู แ ละเอกลัก ษณไ ทยไดอ ย า งแท จริ ง การสร า ง ความเขมแข็งของชุมชนอยางตอเนื่อง และการเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน อยางมีภูมิคุ มกัน เพื่อใหเศรษฐกิจและสังคมไทยกาวหนาอยางมั่นคง ตอไป
II
1. เศรษฐกิจไทยป 2544-2549: เผชิญขอจํากัดทางเศรษฐกิจ
คุณภาพชีวิต
31
การศึกษา
32
ความมั่นคงของมนุษย และความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ
33
III
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
เศรษฐกิจไทย ในป 2544-2549
เผชิญกับขอจํากัดทางเศรษฐกิจ
เผชิญกับขอจํากัดทางเศรษฐกิจ ป 2544: เหตุการณ 911 และเศรษฐกิจ โลกชะลอตัว มูลคาการสงออกชะลอตัวลง จากที่ขยายตัวรอยละ 27 ในป 2543 เหลือรอยละ 2.6 ในป 2544 1,200
150
1,000
100
800
50
600
0
400
-50
200
-100 2545
ที่มา ททท.
2546
2547
จํานวนนักทองเที่ยว
2548
2549
( %)
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ราคาน้ํามัน % 5
US
4
Japan
3 2 1 0 -1
2543
ที่มา IMF
2544
2545
2546
2547
2548
ราคาน้ํามันดิบดูไบเพิ่มขึ้นสูง จาก 26.8 $/บาเรล ณ สิ้นป 2545 เปน 53.5 $ ณ สิ้นป 2548 และ 70.74 $ ณ 8 สิงหาคม 2549
-2
OMAN ดูไบ สิงคโปร 95 สิงคโปร HSD
75 65 55 45 35 25 15 2544
ป 2545-2546: สงครามสหรัฐฯ – อิรัก (2545) และ SARs (2546) นักทองเที่ยวตางชาติลดลง จาก 10.8 ลานคน ในป 2545 เหลือ 10.0 ลานคน ในป 2546 (ลดลง 7.4%) เปนการสูญเสีย รายได 15,000 ลานบาท
2545
2546
2547
2548
2549
ราคาน้ํามันดีเซล เพิ่มขึ้นสูง จาก 13.9 บาทตอลิตร ณ สิ้นป 2545 เปน 23.5 บาท ณ สิ้นป 2548 และ 27.5 บาท ในเดือน สิงหาคม 2549 ประเทศไทยต อ งใช เ งิ น ตราต า งประเทศเพื่ อ จ า ย คาเชื้อเพลิงและน้ํามันนําเขาเพิ่มขึ้น จาก 13,150 ลาน ดอลลาร (531,709 ลานบาท) ในป 2547 เปน 20,920 ลาน ดอลลาร (842,737 ลานบาท) ในป 2548
ป 2547: การระบาดไขหวัดนก การสงออกไกสด สูญเสียรายได ประมาณ 20,000 ลานบาท 1
$/bbl 85
2
2
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
เผชิญกับขอจํากัดทางเศรษฐกิจ
ภาวะภัยแลง ผลผลิตเกษตรกรรมลดลง ภัยแลงสงผลใหมูลคาสินคาเกษตร ลดลงประมาณ 19,366 ลานบาท ในป 2547 และ 17,951 ลานบาท ในป 2548
ธรณีพิบัติภัย จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ ลดลง 130,000 คน ในป 2548 หรือลดลง 1.1% ผลกระทบสึนามิทําใหสูญเสียรายไดจากการทองเที่ยว ในป 2548 ประมาณ 2,900 ลานบาท (มูลคาความเสียหาย ดานทรัพยสินประมาณ 64,000 ลานบาท)
3
การดําเนินนโยบายเศรษฐกิจ
แบบ Dual Track เพื่อสรางสมดุล
มาตรการเพิ่มรายได โครงการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) ปรับเพิ่มอัตราคาจางขัน้ ต่าํ ในเขตกรุงเทพฯ จาก 165 บาทในป 2544 เปน 184 ในป 2548 ปรับฐานเงินเดือนขาราชการ 2 ครั้ง ในป 2547 และ 2548 โดยปรับเพิม่ 13% รวมทั้งการปรับเพิ่มฐานเงินเดือน ขัน้ ต่าํ ใหเปน 7,000 บาท และสําหรับกลุมที่มีเงินเดือน ไมเกิน 10,000 บาท ใหเพิม่ เงินเดือน อีก 1,000 บาท
4
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
การผลักดันการสงออกไปยังตลาดใหม ใหเพิ่มขึน้ และการสรางความมัน่ ใจแก นักลงทุนตางชาติ รวมทั้งมาตรการ สงเสริมการสงออกอยางตอเนือ่ ง เรงผลักดันแหลงทองเที่ยว ใหม ๆ รวมทั้งการเปด สนามบินสุวรรณภูมิและสราง ระบบเตือนภัยธรรมชาติเพือ่ สรางความมั่นใจแก นักทองเที่ยว
มาตรการลดรายจาย โครงการพักชําระหนี้เกษตรกร เพื่อใหเกษตรกรไดมีโอกาส ฟนฟูอาชีพ โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค เพื่อเสริมสรางสุขภาพ ที่ดีสําหรับประชาชน โครงการศูนยซอมสรางประจําหมูบา น (Fix it Center) เพื่อ ลดรายจายในการซือ้ เครือ่ งจักร/เครือ่ งมือใหม การพัฒนาพลังงานทดแทน ไดแก กาซธรรมชาติ แกสโซฮอล และ ไบโอดีเซล เพื่อลดการพึ่งพาการ นําเขาพลังงาน
สรางเสถียรภาพของราคาพืชผลเกษตร ที่สําคัญคือ ขาว ยางพารา เพื่อเพิ่มรายไดจากสินคาเกษตร ขยายการใหเบี้ยยังชีพแกคนชรา และผูดอยโอกาสใหครบ ทุกคน
5
2
6
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
มาตรการสรางโอกาส โครงการกองทุนหมูบ า นธนาคาร ประชาชน และธนาคาร พัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ยอม เพื่อเปนชองทางในการ เขาถึงแหลงทุนสําหรับประชาชนในระดับรากหญา
โครงการแปลงสินทรัพย เปนทุน เพื่อสนับสนุน ชองทางในการเขาถึง แหลงทุน
7
งบประมาณตามโครงการ พัฒนาศักยภาพของ หมูบ า น/ชุมชน (SML) และ งบประมาณตามโครงการ เงินอุดหนุนคาใชจายใน การบริหารจัดการของจังหวัดแบบบูรณาการ (งบ CEO) เพื่อสนับสนุนการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค ขยายโอกาสทางการศึกษาของเด็กยากจนและดอยโอกาส โดยใชเงินรายไดจากการจําหนายสลากแบบเลขทาย 3 ตัว 2 ตัว จํานวน 13,059 ลานบาท และในป 2549 มี ทุนการศึกษา 11,237 ลานบาทสําหรับลูกผูมีรายไดนอย จํ า นวน 800,000 ทุ น ทุ น การศึ ก ษาในช ว งเศรษฐกิ จ ฝดเคือง 500,000 ทุน ทุนการศึกษาแกเด็กพิการ 35,000 ทุน รวมถึงโครงการหนึง่ ทุนหนึ่งอําเภอ และโครงการ นักศึกษาทํางานระหวางเรียน 2
8
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
การดําเนินนโยบายดานสังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม
เปดโทรศัพทสายดวน 1191, 1194 ใหผูปกครองแจงขาว รณรงคมาตรการลงโทษทางสังคม (Social Sanction)
นโยบายรัฐบาลทีส่ ําคัญ การสรางหลักประกันสุขภาพใหครอบคลุมประชาชน ทั่วประเทศ (โครงการ 30 บาท) และสงเสริมใหคนมี พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกตอง การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรูต ลอดชีวติ เชน โครงการหนึ่งอําเภอหนึ่งโรงเรียนในฝน พัฒนาการใชระบบ อินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษา โครงการคอมพิวเตอรพกพา สําหรับนักเรียน (One Laptop Per Child) และขยายโอกาส ทางการศึกษา เชน โครงการหนึ่งอําเภอหนึ่งทุนการศึกษา และโครงการใหการกูย ืมเพือ่ การศึกษา
ตรวจสอบ/ดําเนินคดีเว็บไซต ผิดกฎหมาย พบ 800,000 เว็ป ผิดกฎหมาย เอ็กซเรยทุกพืน้ ที่ทั่วประเทศและพื้นที่ออนไหว เชน บริเวณโรงเรียน กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขยายกิจกรรม เพื่อสอดสองดูแลสื่ออินเตอรเน็ต
บานเอือ้ อาทร และ บานมัน่ คง สําหรับ ผูมีรายไดนอ ย การปราบปรามผูมอี ทิ ธิพลและยาเสพติดอยางตอเนือ่ ง 9
2
X
จัดกิจกรรมเสริมสรางความสัมพันธระหวาง ผูปกครอง อาจารย และเด็ก
X
พัฒนาเครือขายผูปกครอง
X
ใหความรูเรือ่ งการใชเทคโนโลยีสมัยใหม จิตวิทยาเด็กและ วัยรุน
X
จัดระเบียบหอพัก และรณรงคบานปลอดสื่อลามก 10
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
นโยบายรัฐบาลทีส่ ําคัญ การฟน ฟูที่ดินที่ขาดความอุดม สมบูรณ ปาเสื่อมโทรม และการ แกไขปญหาน้ําขาดแคลน
ภาพรวมการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจของประเทศเจริญเติบโตตอเนื่อง ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศมีมูลคาเพิ่มขึน้ จาก 4.9 ลานลานบาท ในป 2543 เปน 7.1 ลานลานบาท ในป 2548 เพิ่มขึน้ รอยละ 44.3 ในชวงระยะเวลา 5 ป
การจัดทําแผนที่ขนาด 1 : 4000 เพื่อปรับปรุงการใชที่ดินและการ กระจายกรรมสิทธิ์ที่ดินอยาง เปนธรรม
2543
2546
2548p
2549f
GDP (ราคาตลาด) (ลานลานบาท)
4.92
5.93
7.10
7.75
GDP (% ณ ราคาคงที)่
4.8
7.0
4.5
4.6
79.1
93.1
109.7
118.4
รายไดตอหัว (พันบาท/ป)
ที่มา : สศช. หมายเหตุ : ป 2548 เปนตัวเลขเบื้องตน ป 2549 เปนตัวเลขประมาณการ
การปฏิรูประบบราชการและการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารของ รัฐวิสาหกิจ
11
รายไดตอหัวประชากรเพิ่มขึน้ จาก 79,100 บาทตอปในป 2543 เปน 109,700 บาทตอปในป 2548 รายไดครัวเรือน เพิ่มขึน้ จาก 145,800 บาทตอปในป 2543 เปน 178,272 บาทตอปในป 2547 2
12
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ภาคเกษตรกรรม
ภาคอุตสาหกรรม
ป 2543 รายไดเกษตรกรเทากับ 31,972 บาท /คน/ป เพิ่มเปน 51,870 บาทตอคนตอป ในป 2548 มูลคาผลผลิตเกษตรกรรม เพิ่มขึ้นจาก 444,185 ลานบาท ในป 2543 เปน 706,285 ลานบาท ในป 2548 จากราคาพืชผลสําคัญที่เพิ่มขึน้ มาก
มูลคาผลผลิตอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นตอเนื่องจาก 1.65 ลานลานบาทในป 2543 เปน 2.47 ลานลาน บาท ในป 2548 จากการสงออกที่เพิ่มขึน้ มาก ลานบาท
*
ลานลานบาท
2543
2548
2549
มูลคาผลผลิต เกษตรกรรม
444,185
706,285 (9.8% / ป)
798,102 (ประมาณการ)
มูลคาผลผลิต พืชผลสําคัญ*
205,104
408,505
207,281 (H1)
(14.1% / ป)
(44.7% YOY)
มูลคาการสงออกสินคา อุตสาหกรรม
2.38
มูลคาสงออกสินคา เกษตรกรรม
291,956
418,086
230,606 (H1)
มูลคาการสงออกสินคา อุตสาหกรรมสําคัญ*
1.18
(9.8% / ป)
(22.7% YOY)
พืชผลสําคัญ ไดแก ขาวเปลือก ยางพารา มันสําปะหลัง ออย และปาลมน้ํามัน
ที่มา: สศช. กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงพาณิชย หมายเหตุ: YOY หมายถึงอัตราเพิ่มรอยละของระยะเวลาเดียวของปปจจุบันกับปกอนหนา H1 หมายถึง ชวงระยะเวลาครึง่ แรกของป
13
มูลคาผลผลิต อุตสาหกรรม
2543
2548
2549
1.65
2.47
2.70
(8.4% / ป)
(ประมาณการ)
3.89
2.06 (H1)
(10.6% / ป)
(10.6% YOY)
1.97
1.07 (H1)
(11.3% / ป)
* ยานยนตและชิ้นสวน อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร และสวนประกอบเครือ่ งใชไฟฟา และปโตรเคมี ที่มา: สศช. กระทรวงพาณิชย
2
14
(20.3% YOY)
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
การคาระหวางประเทศ
ภาคบริการ/ทองเที่ยว รายไดจากการทองเที่ยวเพิม่ ขึ้นจาก 299,536 ลานบาท ในป 2543 เปน 406,535 ลานบาท ในป 2548 จากการสงเสริมการตลาดและการ พัฒนาแพ็คเกจดานการทองเที่ยวใหม ๆ
จํานวน นักทองเที่ยว รายไดจาก นักทองเที่ยว
มูลคาการสงออกเพิ่มขึ้น ในขณะที่ภาระคาใชจาย เพื่อการนําเขาน้ํามันเพิ่มขึน้ เชนกัน จึงทําให ดุลการคาเกินดุลลดลง อยางไรก็ดี การเกินดุล บริการสามารถชวยชดเชยดุลการคาไดบางสวน ดุลบัญชีเดินสะพัดจึงขาดดุลไมมาก
2543
2548
2549
9.51
11.52
6.2 (H1)
ลานคน
ลานคน
มูลคาสงออกรวม
ลานคน
(4.2% / ป)
(19.1% YOY)
299,536
406,535
124,369
ลานบาท
ลานบาท
ลานบาท (Q1)
(6.7% / ป)
(25.2% YOY)
2543
2548
67,889
109,211
59,683
- 8,578*
- 1,929
ดุลการคาเกินดุลลดลง 5,466 ดุลบริการ
ลาน US$
2549 (H1)
3,862
4,864
2,432
9,328
- 3,714
503
ที่มา: ททท. ดุลบัญชีเดินสะพัด เกินดุลลดลง
* ในป 2548 เนื่องจากวิกฤตราคาน้ํามัน ประเทศตองสูญเสียเงินตราตางประเทศในการซื้อน้ํามัน/ เชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นถึง 7,700 ลานเหรียญ สรอ. (จาก 13.15 พันลานเหรียญ สรอ. ในป 2547 เปน 20.92 พันลานเหรียญ สรอ. ในป 2548) ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย
15
2
16
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
FTA : ดุลการคาระหวางประเทศไทยและประเทศคูคา FTA : ดุลการคาระหวางประเทศไทยและประเทศคูคา ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการทยอยเปดเสรีการคากับจีนภายใต กรอบ FTA ของอาเซียนจีน โดยประเทศไทยเริ่มเปดเสรีสําหรับ สินคาผักและผลไมลวงหนา เมื่อ 1 ตุลาคม 2546 นอกจากนั้น ประเทศไทยยังมีการตกลงเปดเสรีการคาภาคีกับประเทศอื่นๆ เชน อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ลานบาท
ที่มา : กระทรวงพาณิชย
กอนเปด (46) FTA ไทย – จีน เริ่มเปด 1 ต.ค. 46 เฉพาะผักและผลไม (HS 07, 08) การสงออก
8,230
11,319
การนําเขา
3,319
4,502
ดุลการคา
4,911
6,817
กอนเปด (47)
FTA ไทย – จีน ทุกรายการ (ภายใตกรอบอาเซียน – จีน) เริ่มเปดสินคาเกษตร HS 01–08 เมื่อ 1 ม.ค. 2547 และเปดทุก รายการเมื่อ 1 ก.ค. 2548
2
หลังเปด (ต.ค. 46 – ก.ย. 47)
หลังเปด (ก.ค. 47 – มิ.ย. 48)
การสงออก
285,918
313,241
การนําเขา
329,772
401,127
ดุลการคา
-80,946
-87,886 17
ต.ค. 47–ก.ย. 48
การเปดเสรีการคาสงผลใหมีการเพิ่มขึ้นของการสงออกและ นําเขา ซึ่งแสดงถึงประโยชนของผูสงออกในการขยายตลาด และประโยชน ข องผู ผ ลิ ต ที่ ใ ช สิ น ค า ชั้ น กลางราคาถู ก ลงใน การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น และผู บ ริ โ ภคที่ มี กํ า ลั ง ซื้ อ มากขึ้ น ในขณะที่ ผู ผ ลิ ต ในประเทศบางกลุ ม ตองปรับตัว เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อรับการแขงขัน
ลานบาท
ที่มา : กระทรวงพาณิชย
หลังเปด (ก.ย. 46 – ส.ค. 47)
กอนเปด (46)
ก.ย. 47–ส.ค. 48
FTA ไทย – อินเดีย เริ่มเปด 1 ก.ย. 2547 รวม 82 รายการ การสงออก 4,545 2,703 10,395 14,466 การนําเขา 3,024 2,685 3,025 4,730 1,522 7,710 -322 ดุลการคา กอนเปด หลังเปด 9,736 ม.ค. 49–มิ.ย. 49 (47) (ม.ค. 48 – ธ.ค. 48) ลานบาท หมายเหตุ : * ผลกระทบจากการนําเขาทองคําและน้ํามันดิบ FTA ไทย – ออสเตรเลีย ก.ค. 48–มิ.ย. 49 เริ่มเปด 1 ม.ค. 2548 ทุกรายการ เพิ่มขึ้นมาก 127,104 74,406 การสงออก 99,096 66,503 การนําเขา 88,823 130,576 ดุลการคา 7,903 -3,472* 10,273 กอนเปด หลังเปด ก.ค. 48–มิ.ย. 49 (47) (ก.ค. 47 – มิ.ย. 48) FTA ไทย – นิวซีแลนด 412,871 เริ่มเปด 1 ก.ค. 2548 ทุกรายการ การสงออก 17,057 20,038 13,257 475,627 การนําเขา 10,649 9,549 9,675 -63,756 ดุลการคา 3,708 9,388 7,382 2
18
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
การจางงาน
รายไดครัวเรือน
เศรษฐกิ จ ที่ ข ยายตั ว ต อ เนื่ อ ง และนโยบายส ง เสริ ม เศรษฐกิจฐานราก เชน การสรางผูประกอบการรายใหม OTOP ธนาคารประชาชน กองทุนหมูบาน สงผลใหมีการ จางงานเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 8 แสนคน อัตราการวางงาน ลดลงจากรอยละ 3.6 ในป 2543 เปนรอยละ 1.7 ในป 2548 ซึ่งเปนระดับที่ต่ํากวาอัตราการวางงานธรรมชาติ
มาตรการเพิ่ ม รายได ที่ สํ า คั ญ เช น การเพิ่ ม อัตราคาจางขั้นต่ํา การปรับฐานเงินเดือนขั้น ต่ําขาราชการ การสรางเสถียรภาพราคาสินคา เกษตรและเพิ่มรายไดจากสินคาเกษตร การ สงเสริม SMEs โครงการ OTOP และกองทุน หมูบาน ชวยเพิ่มรายไดประชาชนโดยเฉพาะ ในกลุมที่รายไดนอย
2543
ลานคน
2548
2549 (มิ.ย.)
การจางงาน
31.3
35.3
35.8
การวางงาน
1.19
0.62
0.56
3.6
1.7
1.5
อัตราการวางงาน (% ของกําลังแรงงานรวม) ที่มา: กระทรวงแรงงาน
ขีดความสามารถในการแข งขันของไทย 2543 2548 อันดับที่
31
27
ที่มา: IMD 2
19
2549 32
มาตรการเพิ่มรายไดที่สําคัญ เพิ่มคาจางขั้นต่ําในเขตกรุงเทพฯ จาก 165 บาทในป 2544 เปน 184 ในป 2548 และการปรับเพิ่มในจังหวัดอื่น ๆ เพื่อรักษามาตรฐานการครองชีพ ปรับฐานเงินเดือนขาราชการ และการปรับเพิ่มฐานเงินเดือนขั้นต่ําใหเปน 7,000 บาท และสําหรับกลุมที่มีเงินเดือนไมเกิน 10,000 บาท ใหเพิม่ เงินเดือนอีก 1,000 บาท สรางเสถียรภาพราคาสินคาเกษตรและเพิ่มรายไดจากสินคาเกษตร OTOP มียอดจําหนายสินคาเพิ่มขึน้ จาก 16,714 ลานบาทในป 2545 เปน 54,448 ลานบาทในป 2548 SMEs ไดรับอนุมัติสินเชื่อเพิ่มขึ้นจาก 81.1 พันลานบาทในป 2545 เปน 194.6 พันลานบาทในป 2548 กองทุนหมูบาน ใหกู 18.9 ลานราย วงเงิน 255.4 พันลานบาท (สะสมตั้งแต ก.ค. 2544 ถึง มิ.ย. 2549) 20
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
คนจนลดลงและการกระจายรายไดดีขึ้น
สถาบันการเงินมีความมั่นคงมากขึ้น
จํานวนคนจน ลดลงจาก 12.8 ลานคนในป 2543 เหลือ 7.1 ลานคนในป 2548 และกลุม คนระดับกลางมีสวนแบงรายไดเพิม่ ขึน้ จาก รอยละ 38.6 เปนรอยละ 40.6 ของรายไดรวม ของประเทศ
NPLs ของสถาบันการเงิน ลดลงจาก 1.22 ลานลาน บาท หรือรอยละ 25.29 ของสินเชื่อรวม ณ สิ้นป 2543 เปน 476,647 ลานบาท หรือรอยละ 8.16 ของสินเชื่อ ณ สิ้นป 2548
2543 รายไดตอหัวของประชากร
79,098
บาท/ป
คนจนลดลง
12.8
เสนความยากจน (บาท/คน/เดือน) สวนแบงรายไดกลุมคนระดับลาง (กลุมยากจนสุด 20% แรก)
ที่มา : สศช. 2
บาท/ป 7.1
ลานคน
1,135
1,242
147,270
216,669
(3.9%)
(4.5%)
1,457,598
1,954,834
(38.6%)
(40.6%)
ลานบาท
21
101,305
ลานคน
ลานบาท
สวนแบงรายไดกลุมคนระดับกลาง (กลุมคน 60% ระดับกลาง)
2547
ลานบาท
ลานบาท
สิ้นป 2543
สิ้นป 2548
มิ.ย. 2549
1.22
476,647
484,265
ลานลานบาท
ลานบาท
ลานบาท
สัดสวนตอสินเชื่อรวม 25.29%
8.16%
8.23%
มูลคา NPLs ของ สถาบันการเงิน
ที่มา : ธปท.
บรรษัทบริหารสินทรัพยไทยไดรับโอน NPLs จากสถาบันการเงินและบริษัท บริหารสินทรัพย ในชวงป 2544-2548 มูลคารวม 777.2 พันลานบาท และ บริหารจัดการไดขอยุติแลว 772.3 พันลานบาท โดยมีการปรับปรุงโครงสราง หนี้หรือฟนฟูกิจการฯ 560 พันลานบาท (72.5%) และบังคับหลักประกัน 212.2 พันลานบาท (27.5%)
22
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ตลาดทุนมีขนาดใหญขึ้น
นโยบายปรับปรุงประสิทธิภาพรัฐวิสาหกิจ
ตลาดหลักทรัพยมีขนาดใหญขึ้นจากดัชนีราคา ตลาดหลักทรัพยที่สงู ขึน้ และจํานวนหุน จดทะเบียนที่เพิ่มขึ้น ณ สิ้นป 2548 มูลคาตลาด มีขนาดเทากับ 5.11 ลานลานบาท สิ้นป 2543 ดัชนีตลาดหลักทรัพย มูลคาตลาด
269.13
1.28
รัฐวิสาหกิจในภาพรวม มีผลประกอบการดีขึ้น โดยในชวงป 2543-2548 มีกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 15,016 ลานบาท/ป และสรางรายไดใหกับภาครัฐ เพิ่มขึน้ ในป 2548 มีมูลคาทรัพยสิน 2.74 ลานลาน บาท เพิ่มขึ้นจากป 2543 0.72 ลานลานบาท สิ้นป 2548 2549 (มิ.ย.) 713.73
5.11
2548
62,016
137,095
รัฐวิสาหกิจ* (รวม ปตท.) 678.1
4.95
ลานลานบาท ลานลานบาท ลานลานบาท ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
2543 กําไรสุทธิ เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 15,016 ลานบาท/ป มูลคาทรัพยสนิ เพิ่มขึ้น 0.7 ลานลานบาท รายไดรวมของรัฐ เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 12,589 ลานบาท/ป
ลานบาท 2.02
ลานบาท 2.74
ลานลานบาท
ลานลานบาท
39,131
102,077
ลานบาท
ลานบาท
*หมายเหตุ: รัฐวิสาหกิจ 51 แหง (2543) และ 54 แหง (2548)
กลุม ปตท. 12,280
กําไรสุทธิ
ลานบาท
229,854
649,807
รายไดของรัฐ
6,102 ลานบาท 35.75 บาท
35,344
ลานบาท
(เขาตลาดฯ 6 ธ.ค. 44)
ที่มา: กระทรวงการคลัง และตลาดหลักทรัพยฯ 23
ลานบาท
มูลคาทรัพยสนิ รวม
ราคาหลักทรัพย 2
85,521
24
ลานบาท
ลานบาท 226 บาท
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
เสถียรภาพเศรษฐกิจ
ฐานะการคลัง
เงินสํารองระหวางประเทศเพิ่มขึ้นเปน 52,066 ลานดอลลาร สรอ. ณ สิ้นป 2548 สัดสวนหนี้สาธารณะตอ GDP ลดลง จากรอยละ 57 ในป 2543 เปนรอยละ 46.4 อัตราเงินเฟอ เพิ่มสูงขึ้นในระยะหลัง เนื่องจากแรงกดดันของราคาน้ํามันที่ เพิ่มสูงขึ้น สงผลใหธนาคารแหงประเทศไทยตองปรับอัตรา ดอกเบี้ยนโยบายเพิ่มขึ้น 13 ครั้ง
การจัดเก็บรายไดเพิม่ ขึน้ จากภาวะเศรษฐกิจที่ ขยายตัวและประสิทธิภาพการจัดเก็บรายไดที่ดี ขึ้น และสามารถจัดทํางบประมาณสมดุลไดในป 2549
ภาครัฐจัดเก็บรายไดเพิ่มขึ้น
2543
2548
748,104
1,264,928
ลานบาท
ป 2548 เพิม่ ขึ้น 12.2% จากป 2547
จัดทํางบประมาณแบบสมดุลเปน ครั้งแรกในปงบประมาณ 2549
ขาดดุล 110,000
ลานบาท
ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ลานบาท
งบประมาณสมดุล ในปงบประมาณ 2549 (ต.ค.2548-ก.ย.2549)
เงินสํารองระหวางประเทศ (ใชหนี้ IMF = 12.0 พันลานUS$)
2543
2548
2549
32,661
52,066
58,057
(มิ.ย.)
(ลาน US$) หนี้สาธารณะ (พันลานบาท) สัดสวน ตอ GDP หนี้ตางประเทศ (ลาน US$) คาเงินบาทมีเสถียรภาพ (บาท/US$) อัตราเงินเฟอ (%) อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RP-14, %)
2,807
3,296
3,228 (พ.ค.)
(57.0%)
(46.4%)
(41.7%)
79,715
52,040
56,813 (Q1)
40.16
40.27
(เฉลี่ย 2544)
25
(เฉลี่ย H1)
1.6
4.5
5.9
1.5
4.0
5.0
ที่มา: ธปท. กระทรวงพาณิชย กระทรวงการคลัง 2
38.71
26
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
หนี้สาธารณะ
หนี้ ส าธารณะเพิ่ ม ขึ้ น จากการกู เ งิ น ในประเทศของรั ฐ บาลเพื่ อ ลดหนี้ ตางประเทศ ชดเชยการขาดดุลงบประมาณและชดเชยความเสียหายของ กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ (ตาม พ.ร.ก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินและ จัดการเงินกูเพื่อชวยเหลือกองทุนเพื่อการฟนฟูและการพัฒนาระบบสถาบัน การเงิน ระยะที่ 2 พ.ศ. 2545 และการกูเพื่อการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเปนการกูโดยรัฐบาลไมตองค้ําประกัน ในชวงป 2544-2548 รัฐวิสาหกิจ มีการลงทุน 7 แสนลานบาทในโครงการสําคัญ เชน สนามบินสุวรรณภูมิ สายสงไฟฟา และบานเอื้ออาทร เปนตน 2543
2548
หนี้สาธารณะ
2,807
3,296
1. หนี้รัฐบาล
1,140
1,857
1.1 เงินกูตางประเทศ
399
243
1.2 เงิน กูในประเทศ
741
1,615
(กูชดเชยขาดดุลงบประมาณ)
170
517
(พันธบัตรกองทุนฟนฟูฯ)
499
1,026
890
1,037
2.1 รัฐบาลค้ําประกัน
752
604
2.2 รัฐบาลไมค้ําประกัน
138
433
776
402
57.0
46.4
2. หนี้รัฐวิสาหกิจ
3. หนี้สินกองทุนฟนฟูฯ สัดสวนหนี้สาธารณะตอ GDP (%) ที่มา: กระทรวงการคลัง 2
พันลานบาท
หนี้ภาคธุรกิจและครัวเรือน หนี้ของภาคธุรกิจและครัวเรือนของธนาคาร พาณิชย สถาบันการเงินเฉพาะกิจ บัตรเครดิต และตราสารหนี้ มีมูลคา 7.75 ลานลานบาท ในป 2548 คิดเปนรอยละ 109 ของ GDP และ เมื่อรวมหนี้สาธารณะเทากับ รอยละ 155 ของ GDP
ลานบาท
2543
ประเภทสินเชือ่ สินเชื่อธนาคารพาณิชย สินเชื่อภาคธุรกิจ สินเชื่ออุปโภคบริโภคสวนบุคคล
สินเชื่อสถาบันการเงินอื่นๆ
4,606,312
5,681,451
3,177,012 506,316
3,781,520 1,022,826
875,290
1,514,173
32,597
143,454
209,883
487,620
5,724,082
7,749,343
220,826 บริษัทเงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย 3,358 บริษัทเครดิตฟองซิเอร 65,738 ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 256,663 ธนาคารอาคารสงเคราะห 278,458 ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย 48,144 2,104 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม
หนี้คงคางบัตรเครดิต (Bank and Non -bank) หุนกูภาคธุรกิจเอกชน
รวม สัดสวนหนี้ภาคธุรกิจและครัวเรือนตอGDP (%)
2548
116
162,058 877 340,023 418,626 489,411 61,401 41,776
109
ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย และกระทรวงการคลัง 27
28
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
หนี้ครัวเรือน
หในปนี้ค2547 รัวเรือน มูลคาหนี้ของครัวเรือนเฉลี่ยเทากับประมาณ 0.9
ครั ว เรื อ นทุ ก กลุ ม มี ห นี้ เ พิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากรายได ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อัตราดอกเบี้ยต่ํา การขยายธุรกิจของสถาบันการเงิน และ การเขาถึงทุนจากมาตรการของรัฐบาล ทั้งนี้หนี้ครัวเรือน ทั้ ง สิ้ น 1.95 ล า นล า นบาท ส ว นใหญ (60%) เป น หนี้ ข อง ครัวเรือนกลุมรายไดสูง ที่มีรายไดประมาณ 32,481 บาทตอ เดือน 2543 สัดสวนครัวเรือนเปนหนี้ (%)
2547
2543
กลุมคนจน: 20% ต่ําสุด
65.9
73.4
กลุมคนจน: 20% ต่ําสุด
ลําดับ 2
63.5
70.8
ลําดับ 3
55.5
ลําดับ 4
เทาของรายไดทั้งป โดยเปนการกูเพื่อการซื้อหรือเชาบานและ ที่ดิน (36.9%) กูเพื่อประกอบอาชีพ (30.9%) กูเพื่อการใชจาย ซึ่งรวมเงินกูเพื่อการศึกษา (29.5%) ทําให 81% ของครัวเรือน ที่เปนหนี้มีบานและที่ดินเปนของตนเอง นอกจากนี้ยังมีการ ถือครองทรัพยสินอื่นๆ เชน รถยนต รถปคอัพ รถจักรยานยนต มากขึ้น รายไดเฉลี่ยตอ ครัวเรือน/ป
เฉลี่ยหนี้สินรวม ตอครัวเรือน
หนวย: บาท ภาระหนี้ตอรายได ตอครัวเรือน
36,902
31,679
0.9
ลําดับ 2
58,388
43,256
0.7
67.4
ลําดับ 3
84,936
62,348
0.7
50.3
62.7
ลําดับ 4
135,037
99,129
0.7
กลุมคนรวย: 20% สูงสุด
49.6
59.5
กลุมคนรวย: 20% สูงสุด
331,617
351,953
1.1
เฉลี่ย
56.0
66.0
เฉลี่ย
145,552
124,560
0.9
2543
2547
2547
54,139
110,406
ลําดับ 2
82,898
131,078
ลําดับ 3
113,370
ลําดับ 4
ภาระหนี้ครัวเรือนรวม (ลานบาท) กลุมคนจน: 20% ต่ําสุด
กลุมคนรวย: 20% สูงสุด รวม 2
29
รายไดเฉลี่ยตอ ครัวเรือน/ป
กลุมคนจน: 20% ต่ําสุด
เฉลี่ยหนี้สินรวม ตอครัวเรือน
ภาระหนี้ตอรายได ตอครัวเรือน
50,124
50,843
1.0
ลําดับ 2
79,356
50,862
0.6
183,071
ลําดับ 3
112,702
75,517
0.7
177,500
345,205
ลําดับ 4
170,388
142,439
0.8
732,423
1,176,376
กลุมคนรวย: 20% สูงสุด
389,772
429,565
1.1
1,160,329
1,946,136
เฉลี่ย
178,272
160,781
0.9
ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ และ สศช.
30
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ดานสังคม: การศึกษา รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป อยาง คุณภาพชีวิตและโอกาสการเขาถึงบริการทางสังคมดีขึ้น เด็ทั่วกถึและเยาวชนได ง มีการเรียนตอระดับมัธยมปลายเพิ่มขึ้น แรงงานมี ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพเพิ่มขึ้น คาใชจาย ดานสุขภาพของครัวเรือนลดลง ขณะที่ประชาชนมี พฤติกรรมการออกกําลังกายมากขึ้น และการสูบบุหรี่ ลดลง 2543 ประชากรที่มีหลักประกันสุขภาพ
78.2%
รายจายสุขภาพของครัวเรือนไทย (บาท) 281 การออกกําลังกาย
24.2%
อัตราการสูบบุหรี่
22.5%
ระดับการศึกษาสูงขึ้น โดยมีการขยายโอกาสดวยทุน ใหกูยืมและทุนใหเปลาสําหรับเด็กดอยโอกาสและยากจน ขณะที่มีสัดสวนนักวิจัยเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนฐานสําคัญในการพัฒนาไปสูสังคม ฐานความรู ทีต่ องเรงรัดทั้งปริมาณและคุณภาพไปพรอม ๆ กัน
2548 96.25%
262
29.1% 19.5%
2543
2548
2549
อัตราเขาเรียนตอ ม.ปลาย
57.4%
64.0%
-
แรงงานที่มีการศึกษา ระดับ ม. ปลายขึ้นไป (รอยละ)
19.7%
กองทุนเงินใหกูยืม เพื่อการศึกษา (ลานบาท)
74,850
จํานวนบุคลากร ดานการวิจัย (ตอประชากร 10,000 คน)
ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ
31
212,393
25.9%
(ไตรมาส 1/2549)
242,759 (ปงบประมาณ 2549) รวมกองทุน ICL 5,493 ลานบาท
6 (ป 2546)
3
ที่มา: กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ 2
24.9%
32
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
ความมั่นคงของมนุษยและความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสิน ผูดอยโอกาสไดรับการชวยเหลือเกื้อกูลมากขึ้น ทั้งดาน ที่อยูอาศัย คนพิการและผูสูงอายุที่ยากไร ขณะที่คดี ยาเสพติดลดลงอยางนาพอใจ แตยังตองเฝาระวังอยาง ตอเนื่องทั้งพัฒนาการของตัวยา และรูปแบบการคาใหมๆ
คนพิการรับเบี้ยยังชีพ (รอยละของจํานวนคนพิการ)
2543
2548
4.6
7.1
400,000 คน
จํานวนคนชรายากไรไดรับเบี้ยยังชีพ
422.8
สัดสวนคดียาเสพติด (ตอแสนคน)
1.08 ลานคน 160.3
ที่มา: รายงานภาวะสังคม (สศช.)
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพฯ 10100 2
33
2