2d Barcode

  • Uploaded by: phuttarak mulmuang
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 2d Barcode as PDF for free.

More details

  • Words: 719
  • Pages: 3
 ⌫    ⌫        



  บทความนีก้ ลาวถึง เทคโนโลยีบารโคด 1 มิติ และ 2 มิตทิ เี่ ขามาชวยในการจัดการสินคา และการจัดเก็บขอมูล เพือ่ ความสะดวก รวดเร็ว ถูกตอง และแมนยำในการดำเนินงานขององคกรธุรกิจ คำสำคัญ : บารโคด

 ธุ ร กิ จ โดยทั่ ว ไปจะมี ก ารลงทุ น ในสิ น ค า คงคลั ง จำนวนมาก การจัดการสินคาคงคลังอยางมีประสิทธิภาพ จะชวยทำใหเพิม่ ความสามารถในการทำกำไร และเพิม่ ผล ตอบแทนในการลงทุน โดยธุรกิจจะตองมีสนิ คาไวเพือ่ ตอบ สนองความตองการของลูกคาเสมอดวยคาใชจายรวม ที่ต่ำที่สุด ดังนั้น ธุรกิจจึงพยายามที่จะผลิตสินคาใหมี คุณภาพสูง และขณะเดียวกันก็ตอ งมีตน ทุนทีต่ ่ำ ซึง่ วิธกี าร ทีม่ คี วามสำคัญทีจ่ ะชวยใหสนิ คามีราคาต่ำได คือ การควบคุม ปริมาณสินคาคงคลังใหมีเพียงพอที่จำเปนตองใชเทานั้น ไมใหมเี หลือเกินความจำเปนหรือมีการขาดแคลน อันจะมี ผลทำใหการผลิตหยุดชะงักและสงผลกระทบตอธุรกิจได ธุรกิจที่เห็นความสำคัญของการจัดการสินคาให มีประสิทธิภาพ จึงมีการนำเอาเทคโนโลยีเขามาชวยในระบบ สินคา โดยเชือ่ มโยงกับการจัดระบบฐานขอมูล เพือ่ สงผล ถึงระบบสารสนเทศซึ่งเปนแนวทางในการปรับปรุงการ

ปฏิบตั งิ าน เพือ่ เพิม่ ความรวดเร็ว ลดขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน ทีซ่ ้ำซอน และประหยัดเวลาในการปฏิบตั งิ าน ทำใหสามารถ นำไปควบคุมระบบสต็อกสินคาใหมคี วามถูกตอง รวดเร็ว แมนยำ และทีส่ ำคัญเปนการเพิม่ ประสิทธิภาพการวางแผน บริหารงานเพื่อการบริหารจัดการสินคาคงคลังไดอยางมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

 คื อ สั ญ ลั ก ษณ ร หั ส แท ง ที่ ใ ช แ ทนข อ มู ล ตั ว เลข มีลักษณะเปนแถบมีความหนาบางแตกตางกันขึ้นอยูกับ ตัวเลขที่กำกับอยูขางลาง การอานขอมูลจะอาศัยหลักการ สะทอนแสง เพือ่ อานขอมูลเขาเก็บในคอมพิวเตอรโดยตรง ไมตองผานการกดปุมที่แปนพิมพ ระบบนี้เปนมาตรฐาน สากลที่นิยมใชกันทั่วโลก การนำเขาขอมูลจากรหัสแถบ ของสินคาเปนวิธีที่รวดเร็วและความนาเชื่อถือขอมูลมีสูง และให ค วามสะดวกแก ผู ใ ช ง านได ดี การใช บ าร โ ค ด เพื่อความรวดเร็วทันสมัยตอเหตุการณ

ฑาริกา พลโลก นักศึกษาระดับปริญญาโท วิ ท ยาลั ย บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาการจั ด การ มหาวิทยาลัยขอนแกน

       

ธีระ ฤทธิรอด รองศาสตราจารย คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน



 ⌫    ⌫        

เทคโนโลยีบารโคดไดเขามาชวยอำนวยความสะดวก ในดานตาง ๆ อาทิ ดานการคา โดยนำบารโคดมาติด กับสินคา ผลิตภัณฑตา ง ๆ เพือ่ ใชในการจัดเก็บชือ่ รหัส และราคาของสินคา หรือทางดานการจัดการสต็อกสินคา ชวยในการตรวจสอบจำนวนสินคาคงเหลือไดอยางรวดเร็ว แมนยำ ทั้งนี้มีการนำบารโคดมาใชอยางแพรหลายและ เปนทีน่ ยิ มกันมาก เชน บนสินคาแทบทุกประเภททีว่ างขาย ในปจจุบนั มักมีบารโคด 1 มิติ ติดไวทตี่ วั สินคา หรือหีบหอ เพื่อความสะดวกในการเรียกดูราคาสินคา หรือตรวจสอบ ปริมาณสินคาทีม่ อี ยู โดยขอมูลทัง้ หมดจะถูกเก็บไวในฐาน ขอมูลและใชรหัสทีไ่ ดจากบารโคดเปนกุญแจในการเรียกดู ขอมูลที่ตองการแตทวา คุณสมบัติที่มีของบารโคดแบบ 1 มิตนิ นั้ ยังไมสามารถรองรับกับความตองการของผใู ชงาน ไดมากเทาที่ควร เนื่องจากการบรรจุของขอมูลทำไดนอย ปริมาณการใชงานมีจำนวนมากขึน้ และการเคลือ่ นยายฐาน ขอมูลขนาดใหญ เพื่อใหบารโคดรหัสเดียวกันใชงานได ยอมเปนเรื่องที่ยุงยาก จึงเกิดแนวคิดเรื่องการนำขอมูล ของสินคาบรรจุแทรกเขาไปในบารโคดโดยตรง และพื้นที่ ทีใ่ ชในการติดบารโคดทีส่ นิ คาตองมีขนาดนอยกวา หรือเทากับ ของเดิม ดังนัน้ จึงทำใหมกี ารพัฒนาบารโคด 2 มิติ ขึน้ มา

   บารโคด 1 มิติ มีลกั ษณะเปนแถบประกอบดวยเสน สี ดำสลั บ เส น สี ข าว ใช แ ทนรหั ส ตั ว เลขหรื อ ตั ว อั ก ษร โดยสามารถบรรจุขอ มูลไดประมาณ 20 ตัวอักษร การใช บารโคดมักใชรวมกับฐานขอมูลคือ เมื่ออานบารโคดและ ถอดรหัสแลวจึงนำรหัสทีไ่ ดใชเรียกขอมูลจากฐานขอมูลอีก ตอหนึง่ บารโคด 1 มิติ มีหลายชนิด เชน UPC, EAN-13 หรือ ISBN เปนตน ซึง่ บารโคด 1 มิตเิ หลานี้ สามารถพบได ตามสินคาทั่วไปในซุปเปอรมารเก็ต หรือหางสรรพสินคา ดังแสดงในรูปที่ 1





รูปที่ 1 แสดงบารโคด 1 มิติ แบบ ISBN

   บารโคด 2 มิติ เปนเทคโนโลยีที่พัฒนาเพิ่มเติม จากบารโคด 1 มิติ โดยออกแบบใหบรรจุขอมูลไดทั้ง ในแนวตั้งและแนวนอน ทำใหสามารถบรรจุขอมูลมาก ไดประมาณ 4,000 ตัวอักษร หรือประมาณ 200 เทา ของบารโคด 1 มิติ ในพืน้ ทีเ่ ทากันหรือเล็กกวา ขอมูลทีบ่ รรจุ สามารถใชภาษาอืน่ นอกจากภาษาอังกฤษได เชน ภาษาญีป่ นุ จีน หรือเกาหลี เปนตน และบารโคด 2 มิติ สามารถถอดรหัส ไดแมภาพบารโคดบางสวนมีการเสียหาย อุปกรณทใี่ ชอา น และถอดรหัสบารโคด 2 มิติ มีตั้งแตเครื่องอานแบบ ซีซีดีหรือเครื่องอานแบบเลเซอรเหมือนกับบารโคด 1 มิติ จนถึงโทรศัพทมือถือแบบมีกลองถายรูปในตัว ซึ่งติดตั้ง โปรแกรมถอดรหัสไว ในสวนลักษณะของบารโคด 2 มิติ มีอยมู ากมายตามชนิดของบารโคด เชน วงกลม สีเ่ หลีย่ ม จัตรุ สั หรือสีเ่ หลีย่ มผืนผา คลายบารโคด 1 มิติ ตัวอยาง บารโคด 2 มิติ ไดแก PDF417, Max5Code, Data Matrix และ QR Code ดังแสดงในรูปที่ 2

รูปที่ 2 แสดงตัวอยางบารโคด 2 มิติ แบบ QR Code และ Data Matrix

       

 ⌫    ⌫        

ซึง่ ปจจุบนั ไดมกี ารนำเอาเทคโนโลยีบารโคดชนิดนีเ้ ขามาใช ประโยชนในงานดานตาง ๆ ดังนี้ - ดานอุตสาหกรรมยานยนต มีการติดบารโคดบนชิน้ สวน อะไหลยนตตา ง ๆ เพือ่ เก็บขอมูลของอะไหลชนิ้ นัน้ เชน ชือ่ รนุ รหัสและประเภทของอะไหล เปนตน - ดานการขนสงสินคา มีการพิมพบารโคดบนใบสงสินคา เพื่อใชบารโคดในการจัดเก็บขอมูลตางๆ เชน ขอมูล ลูกคา ขอมูลการขนสง รหัสสินคา และจำนวนสินคา เปนตน - ด า นการจั ด การสต็ อ กสิ น ค า เพื่ อ ตรวจสอบชื่ อ รุ น ของสินคา รหัสสินคา และจำนวนของสินคาคงเหลือ - ดานสินคาทัว่ ไปทีใ่ ชในชีวติ ประจำวัน เพือ่ จัดเก็บขอมูล และรายละเอียดเกีย่ วกับสินคา และผลิตภัณฑ - ดานปศุสตั ว ในประเทศญีป่ นุ มีการนำบารโคดมาติด ลงบนสายรัดทีห่ างของสัตวเลีย้ ง เพือ่ ใชบารโคดในการ จัดเก็บขอมูลตางๆ ของสัตว เชน อายุ เพศ สายพันธุ เปนตน - ดานการแพทย มีการนำบารโคดมาพิมพลงบนสายรัด ขอมือผูปวย เพื่อใชในการเก็บประวัติขอมูลตาง ๆ ของผูปวย เชน ชื่อ ที่อยู อาการปวย โรคประจำตัว และชนิดของยาทีแ่ พ เปนตน - การนำบารโคดมาพิมพลงบนนามบัตร เพือ่ นำบารโคด มาใชในการบันทึกขอมูลติดตอลงมือถือโดยตรง



- การนำบาร โ ค ด มาพิ ม พ ล งบนนามบั ต รเครดิ ต เพื่อจัดเก็บรหัสบัตรเครดิต รหัสผานการนำมาใชกับ บัตรประชาชน - การนำบารโคดมาพิมพลงบนใบอนุญาตขับรถเพื่อใช ในการเก็บขอมูล และประวัตติ า ง ๆ ของผขู บั ขี่ - การนำบารโคดไปใชกับบัตรประกันสังคม

 องคกรธุรกิจที่เล็งเห็นความสำคัญของการจัดการ สินคาคงคลังและมีการนำเอาเทคโนโลยีบารโคด มาใช จะสง ผลตอประสิทธิภาพในการจัดการสินคาคงคลังในดาน ตาง ๆ เชน ดานการผลิต เปนการสรางเอกลักษณ ยกระดับ มาตรฐานสินคา และทราบขอมูลแหลงผูผลิตอยางชัดเจน ดานการนำสินคาออกจำหนาย เปนการเพิ่มประสิทธิภาพ การหมุนเวียนของสินคา เพิม่ ประสิทธิภาพและลดขัน้ ตอน การสั่งซื้อใหเปนไปอยางรวดเร็วและแมนยำ เปดโอกาส ในชองทางการคาไดอยางกวางขวางขึ้น และลดขั้นตอน ในการคา สะดวกตอการควบคุมสต็อกสินคา รวมทั้งการ สั่งซื้อสินคาในครั้งตอไป และเพิ่มประสิทธิภาพในการ บริการลูกคาทีร่ วดเร็วใหเปนทีน่ า พอใจ ดานการเก็บรักษาสินคา เปนการชวยในการควบคุมคลังสินคา ขจัดปญหาเรือ่ งสินคา ขาดสต็อก และสินคาเกินความจำเปนเหลานี้ เปนตน

 คำนาย อภิปรัชญาสกุล. 2547. คมู อื ออกแบบและติดตัง้ ระบบบารโคดในโลจิสติกสและการจัดการ ซัพพลายเชน. กรุงเทพ: นัฐพรการพิมพ. สีมา พันธพิจติ ร. 2548. พิมพบารโคดดีไซนแบบลอจิสติกส. นนทบุร:ี นิวเลเยอรซอฟท. กิตศิ กั ดิ์ จิรวรรณกูลและคณะ.2550. แนวโนมภัยรายเกีย่ วกับบารโคด 2 มิต.ิ [ออนไลน] [อางถึงเมือ่ 19 กันยายน 2550]. เขาถึงไดจาก http://thaicert.nectec.or.th/paper/basic/2dbarcode.pdf. ชัยกาล พิทยาเกษม และคณะ. 2550. แนะนำเทคโนโลยีบารโคด 2 มิต.ิ [ออนไลน] [อางถึงเมือ่ 19 กันยายน 2550]. เขาถึงไดจาก http://www.thaicert.org/paper/basic/2dbarcode_intro.pdf. บริษทั ไวซ เนส ซีสเต็มส จำกัด. 2550. barcode คืออะไร?.[ออนไลน] [อางถึงเมือ่ 17 สิงหาคม 2550] เขาถึงไดจากhttp://www.barcodewiseness.comindex.asp? pageid=0072&title= barcode+%A4% D7%CD%CD%D0%E4%C3+%3F%3F&getarticle =32&keyword=&catid=1.        



Related Documents

2d Barcode
November 2019 26
Barcode Scanner.docx
June 2020 8
2d
June 2020 32
Barcode Requirements
June 2020 8
Barcode Jadi.pdf
December 2019 10
Barcode Proposal
November 2019 11

More Documents from ""

Dell_promotion_oct_2008
October 2019 27
May 2020 16
June 2020 22
November 2019 24
Gis
October 2019 50