Gis

  • Uploaded by: phuttarak mulmuang
  • 0
  • 0
  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Gis as PDF for free.

More details

  • Words: 2,121
  • Pages: 13
ระ บบภู มิสา รสนเ ทศ (G IS ) สำา หรับ นั กบริ หาร ยุทธนา ช่วงอรุณ นักวิเคราะห์ระบบภูมิสารสนเทศ บริษัท จีเอส อาร์ เอ แห่งประเทศไทย

สวัสดีทุกท่าน วันนี้เป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้มาพบปะทุกท่านที่กำาลังจะก้าวเข้าสู่ผู้ บริหารระดับกลางต่อไป ยินดีกับทุกท่านที่ได้เลื่อนตำาแหน่งสูงขึ้น ในเรื่องของ GIS (Georgramphy Information System) ระบบภูมิสารสนเทศสำาหรับนักบริหาร นั้นมีความ จำาเป็นอย่างมากสำาหรับในยุคปัจจุบันซึ่งในวันนี้มีหัวข้อการบรรยาย อยู่ 4 หัวข้อดังนี้คือ 1. เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ 2. องค์ประกอบของระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) 3. การประยุกต์ระบบภูมิสารสนเทศ(GIS)สำาหรับงานบริหาร 4. ตัวอย่างระบบภูมิสารสนเทศ(GIS) กับการบริหาร

1. เทค โน โล ยีภ ูม ิสารส นเทศ A map i s w orth t hou sa nd re po rt s

ความคิดแรก ๆเกิดจากเรื่องของแผนที่ มีประโยคๆหนึ่งแทนได้เป็นพัน ๆคำา เมื่อ เข้าไปดูรูปภาพที่เราเห็น ตัวภาพที่เห็น เขาบรรยายเหตุการณ์ สถานการณ์ตอนนั้น ให้เราฟังรวม แล้วก็เป็นพันคำา เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เป็นแผนที่ที่เก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีข้อมูลเชิง บรรยายเข้ามาเกี่ยวข้องทางด้านกราฟฟิก ข้อมูลทางด้านภูมิประเทศ หากเรามองแผนที่ๆหนึ่ง จะได้จากแผนที่คือ เรื่องของตำาแหน่ง ดูแผนที่เพื่อให้ทราบตำาแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง ดูเพื่อให้ ทราบพื้นที่ สิ่งเหล่านี้ก็จะเป็นการนำามาประมวลผลต่อไป สรุปก็คือ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีสำาหรับการสำารวจ จัดสร้าง จัดการ วิเคราะห์ ใช้งาน และนำาเสนอข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ นีค้ ือ คำาจำากัดความเบื้องต้นของคำาว่าเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพื่อที่จะให้ท่านก้าวไปอีกขั้นหนึ่งเพื่อ นำามาใช้ในการบริหารงานต่อไป สมมติวา่ เรามีโลกอยูใ่ บหนึ่ง ที่เป็นโลกจริง ๆ เพื่อจัดทำาเป็นแผนที่โดยแยกเป็นชิ้น ๆ แล้วเก็บไว้ในฐานขัอมูล แล้วถึงนำามาวิเคราะห์ใช้ในการตัดสินใจ ใช้ในการวางแผน ใช้ในการ

2 ถ อ ด เ ท ป ก า ร บ ร ร ย า ย /เ ร ีย บ เ ร ีย ง /พ ิม พ ์ โ ด ย พ ร ร ณ ธ ิภ า ธ น ส ัน ต ิ น พ บ .6 ว . จ า ก ห ล ัก ส ูต ร น า ย อ ำา เ ภ อ ท บ ท ว น ร ุ ่น ท ี่ 9 เ ม ื่อ ว ั น พ ฤ ห ัส บ ด ีท ี ่ 31 ส ิง ห า ค ม 254 9 เ ว ล า 09 .0 0 -1 2. 00 น . ณ โ ร ง เ ร ี ย น น ัก ป ก ค ร อ ง ร ะ ด ับ ส ูง ว ิท ย า ล ั ย ก า ร ป ก ค ร อ ง ก ร ม ก า ร ป ก ค ร อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย

มอนิเตอร์งานต่าง ๆ ในพื้นที่หรือในองค์กรที่เราอยู่ นีค้ ือภาพรวมของข้อมูลเทคโนโลยีภูมิ สารสนเทศ เท คโนโลย ีภ ูม ิสาร สนเทศส ำาคั ญอย ่างไร ? มีความสำาคัญดังนี้ คือ ข้อมูลที่มนุษย์ต้องการเกือบทั้งหมด เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆบนโลก ข้อมูลตำาแหน่งที่ตั้งของสิ่งต่าง ๆบนโลก ทีเ่ ป็นปัจจัยสำาคัญต่อการตัดสินใจของมนุษย์ ช่วยให้มีฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ(แผนที่) ที่จัดเก็บในรูปแบบข้อมูลดิจิตอล ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ตอบคำาถามอะไร ? นัน่ คือ เป็นข้อมูลที่ตอบคำาถามอะไรให้แก่เรา คือ Where - เดินทางไปที่ไหน เราใช้แผนที่ในการตอบ How Far - ไกลเท่าไหร่ How big - พื้นที่มีขนาดเท่าไหร่ สามารถใช้ได้เกือบทุกรื่อง อาทิเช่น เรื่องของที่ดิน ขอบเขตการปกครอง Connected to - มีความเชื่อมโยงกันแบบไหน จังหวัดที่อยู่ใกล้เคียงเรา มีผลกระทบ ที่ไหน เช่น เรื่องนำ้าท่วมของจังหวัดน่าน ใช้แผนที่เข้าไปช่วยในการจัดทำา ทิศทางนำาไหลไปทาง ไหน ใช้ข้อมูลไปช่วยวางแผนป้องกัน ในการจำาลองเขาทำาอย่างไร เขียว ๆฟ้า ๆ เป็นพื้นทีโ่ ลก ข้อมูลของแปลงที่ดนิ ข้อมูล GIS เป็นแปลง ๆหนึ่ง ๆ เช่น ชั้นของความสูง เป็นหนึ่งชั้นข้อมูล ข้อมูลมีถนน ทำาเลเยอร์ถนน ขึ้นมาอีกชั้นหนึ่ง หากเก็บแล้ว นำาข้อมูลมาซ้อนกันก็จะเห็น แบบจำาลองของพื้นที่ออกมา ภาพ หลักที่เราใช้ในปัจจุบัน ข้อมูลที่เราไปสำารวจเขาจะเก็บเป็นชั้น ๆ อาทิเช่น นี้คือ ภาพกว้างของ ข้อมูลสารสนเทศก็คือ เรื่องของแผนที่นั่นแหละเพื่อนำาไปวิเคราะห์

2. อง ค์ปร ะก อบข อง ระบบ ภูม ิสาร สนเทศ (GI S) ประกอบด้วยสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

ข้อมูล อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์

3

อุปกรณ์ซอฟท์แวร์ กระบวนการ บุคลากร



้อ



ูล

ข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์ประกอบด้วย ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ข้อมูลเชิงบรรยาย (Attributes) เวลา (Time) ข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยายมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ข้ อม ูลเ ชิ งพื ้นที่ (Sp at ia l Dat a) สิ่งต่าง ๆที่ปรากฎบนพื้นโลก ล้วนสามารถกำาหนดที่ตั้งลงไปได้ 1.ข้อ มูล เช ิง พื้นท ี่ (S pa ti al Da ta ) ก็คือ ข้อมูลที่เป็นกราฟฟิก เป็น ข้อมูลที่มีรายละเอียดในด้านแผนที่ต่าง ๆจะเห็นเป็นข้อมูลของถนน เป็นต้น 2.ข้อ มูล เช ิง บร รยาย (At tr ibu te s) คือ ข้อมูลที่เป็น Excel ข้อมูลเชิง บรรยายของจังหวัด ข้อมูลของตัวชี้วัดของกระทรวงมหาดไทยที่จะนำามาใช้ 3.เรื ่อง ขอ งเวลา (T im e) ความแตกต่างของการใช้ที่ดินแต่ละช่วงเวลา คำาว่า เวลา เป็นข้อมูลของพิ้นที่หรือ เชิงบรรยาย มีความทันสมัยไหม สามารถนำาไป วิเคราะห์ต่อได้ไหม 4.ในการ จะ นำา GIS ไปใช ้งานทั้ ง 2 อันนี้ต้องสามารถเชื่อมโยงกันได้ เพื่อนำาไปใช้งานได้ต่อไป ข้อมูลแผนที่และเชิงบรรยาย สามารถ Link กันได้ ข้อมูล GIS แผนที่ สามารถแบ่งเป็น Ras te r เป็นภาพถ่ายจากดาวเทียม ภาพถ่ายจากการบินถ่าย อาทิ เช่น ภาพถ่ายออร์โธสีกระทรวงเกษตร ฯ โดยใช้ 1 : 4,000 คิดระวางละ 500 บาท เป็นภาพ สีมีความละเอียด 0.5 เมตร 1 ซ.ม = 4,000 ซ.ม สามารถมองเห็นระยะไกล เห็นบ้าน เห็นต้นไม้ บ้านเป็นอย่างไร ส่วนของกระทรวงมหาดไทยการจัดที่ดินแก้ปัญหาความ ยากจน รวมหลาย ๆหน่วยงานที่เกี่วข้อง มองถึงความยากจน ขาดที่ดินทำากิน เพื่อนำา ทีด่ ินป่าเสื่อมโทรมมาจัดสรรที่ดินให้แก่ผู้ยากจน

4

Ve ct or : เป็นข้อมูลกายภาพพื้นฐาน เป็นข้อมูลที่กำาหนดพิกัด เหมือน การลากเส้นวาดขึ้นมาในระบบของแผนที่ (GIS) ข้อมูลที่เป็น Vector แบ่งเป็นชั้นข้อมูล หลัก ๆ 1. ชั้น แร ก เป็นขอบเขตของการปกครองนำาเสนอโดยพื้นที่ปิด อาทิเช่น ขอบเขตของการปกครองประเทศไทย แบ่งเป็นระดับของจังหวัด อำาเภอ ตำาบล เหล่านี้ไม่ได้ชัดเจนเหมือนราชกิจจานุเบกษาว่า แปลงนี้อยู่ตรง ไหน แต่จะต้องลงไปในพื้นที่จริง ๆถึงจะรู้ 2. ข้ อม ูลเ ส้นทางค มนาค ม และโครงข่ายถนน นำาข้อมูล Laster มา วางก่อนแล้วนำาข้อมูล Vector มาซ้อนทับ เราก็มีข้อมูลโครงข่ายถนน ข้อมูลถนนมีความสำาคัญมาก เพราะว่าเราจะเดินทางไปทางไหนก็ต้องมี ข้อมูลถนนเข้ามาเกี่ยวข้อง ในการวิเคราะห์เรื่องอะไรก็ตามก็จะต้องมี เรื่องถนน ข้อมูลเชิงเส้นถัดมาก็คือ ข้อมูลทางรถไฟ อันนี้ก็มีความสำาคัญ ในการใช้งาน ข้อมูลของกลุ่มอาคาร เทคโนโลยีของ GIS ในปัจจุบันทั้ง 2 มิติ กับ 3 มิติ ทำาให้อาคารที่เป็นแบน ๆออกมาที่เป็นตึกเป็นชั้นทำาให้ มีความสูงขึ้นมาได้ อาทิเช่น งานของกรมโยธาธิการและผังเมือง เขาก็มี กฎหมายของการควบคุมอาคาร คือ อาคารสูง อาคารของโรงแรม โรง มหรสพ อาคารที่มีการรวบรวมคนมาก ๆ กรมโยธาฯก็จะจัดเก็บข้อมูลเห ล่านี้ๆไว้ หากเก็บมาเป็นแผนที่แล้วก็จะเป็นลักษณะคล้าย ๆแบบนี้ ว่า อาคารอยู่ที่ไหน เมื่อค้นหาก็จะพบในแผนที่ได้เลย สามารถบอกได้เลยว่า อาคารนี้เป็นของใคร มีกี่ชั้น ใครเป็นวิศวกรควบคุมก็สามารถตอบได้ เรื่องของแหล่งนำ้า และการใช้ประโยชน์ที่ดิน ก็มีความสำาคัญเช่นกัน พื้นที่ไหนเป็นพื้นที่เขตอุตสาหกรรม เราสามารถนำาแผนที่เข้าช่วยได้ ความสูงของภูมิประเทศมีความสำาคัญขึ้นเรื่อย ๆเป็นต้นว่า เรามีปัญหา ของเรื่องอุทกภัย โคลนดินถล่ม หากเราทราบความสูงของภูมิประเทศใน ลักษณะนี้เราจะเห็นว่า ว่าตรงไหนเป็นที่ลุ่ม เป็นพื้นที่ลาดเอียง มีนำ้าไหล อาทิเช่น ทีจ่ ังหวัดเชียงใหม่ เป็นการทำาให้เห็นทิศทางของนำ้าไหลของ จังหวัดเชียงใหม่ สามารถรู้ถึงตำาแหน่งของครัวเรือน เพื่อการพัฒนาเมื่อ นำาไปเชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงบรรยายแล้วก็สามารถรู้ถึงว่าเป็นบ้านของใคร เหล่านี้เป็นข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยาย 3. ข้ อม ูลบ ุคคล หากเราต้องการ Link ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร นัก วิเคราะห์ นักวางระบบต่าง ๆก็จะเก็บข้อมูล 13 หลักไว้ด้วย ข้อมูลบ้าน

5

ตามทะเบียนราษฎร เป็นรหัสของ House ID ตัวรหัสประจำาบ้าน Link ไปเชื่อมโยงกับบ้านนี้อย่างไร 4. ข้ อม ูลราย ละ เอ ียด ขอ งโคร งการ เพื่อที่จะเอาระบบนี้มาวิเคราะห์ และนอกจากนี้ยังนำามาวิเคราะห์ในเรื่องของกราฟ แผนภูมิต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น แสดงความเร่งรัดของโครงการต.โพนงาม 5. ข้ อม ูลสถานกา รณ ์ที่น ่าสนใจ เป็นการเชื่อมโยงระหว่างเชิงพื้นที่ กับเชิงบรรยาย ที่สามารถค้นหาข้อมูลผู้ติดเชื้อ HIV ข้อมูลสถานการณ์ ไข้หวัดนก ข้อมูลสถานการณ์ความยากจน เพื่อการแก้ปัญหาความ ยากจน ฯลฯ การ เช ื่ อม โยง ข้ อม ูลภ ูม ิสา รสนเทศ GIS กับ ข้อ มู ลสารสน เทศ เช ิงบ รร ยาย MIS เป็นการเชื่อมโยงข้อมูลภูมิสารสนเทศแปลงที่ดินกับข้อมูลเจ้าของแปลงที่ดิน( ทะเบียนราษฎร์) เอกสารสิทธิ์ การถือครองกรรมสิทธิ์ทดี่ ินประเภทต่าง ๆ ในการที่จะพัฒนาโดย ใส่ข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์เท่านั้น เพื่อนำาไปต่อยอดแล้วทำาอะไรได้มากขึ้น จากแปลงหนึ่งไป สู่อีกแปลงหนึ่งโดยการเชื่อมโยง สามารถค้นหาได้จาก House ID อาทิเช่น ที่จ.อ่างทอง สิง่ ที่ เขาทำาโดยให้ อสม. ไปเก็บข้อมูลว่าหมู่บ้านใดมีคนพิการ และคนพิการมีหน้าตาอย่างไร สามารถ บอกบ้านเลขที่ ของคนพิการนั้นได้



ุป



ุป







์ฮ





์ด













์ซ







์แ





อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่จำาเป็นหากเป็นงานระบบขนาดใหญ่ประกอบด้วยดังนี้ Server มักจะเป็นเครื่องระดับ UNIX หรือ NT ที่มีความสามารถสูง Graphic Workstation มักจะเป็นเครื่องระดับ UNIX หรือ PC ทีใ่ ช้จอกราฟฟิกที่มี ความละเอียดและความเร็วค่อนข้างสูง Tape Backup System มักจะใช้เป็นแบบที่มีความจุและความเร็วสูง เนื่องจาก ข้อมูลมักจะมี ขนาดใหญ่และใช้เวลาในการ Backup นาน Plotter มักจะใช้ Inkjet Plotter สีเนื่องจากมีราคาไม่แพงมาก และบำารุงรักษาง่าย Digitizer Tablet ขนาด A0 หรือ A1 ที่มีความแม่นยำา (Accuracy)ค่อนข้างสูง อุปกรณ์ซอฟท์แวร์ ที่สำาคัญประกอบด้วย Operating System ใช้ในการควบคุมการทำางานของระบบ Hardware และติดต่อ User ได้แก่ ระบบ UNIX , Windows ,VMS เป็นต้น GIS Software ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบ GIS





6

Relational Database Management System ใช้ในกรณีที่มีการใช้ข้อมูล บรรยาย(Attribute) ขนาดใหญ่ ได้แก่ Oracle,DB2,Sybase เป็นต้น GIS Application เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยใช้ GIS Software เป็นเครื่องมือเพื่อ ให้ผใู้ ช้งานได้อย่างสะดวก

กระบวนก ารของ GIS

ประกอบด้วย 1. การนำาเข้าและจัดเก็บข้อมูล (Input and Store Data) 2. การวิเคราะห์ข้อมูล(Manipulate and Analysis) 3. รูปแบบการแสดงผลการวิเคราะห์(Output and Display) การนำา เข ้าแล ะจ ัดเ ก็ บข ้อ มูลคว รคำานึ งถึ ง Data Format Coordinate System Data Quality Inputting Data Method Da ta F or ma t การจัดเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ใน GIS สามารถทำาได้ 2 รูปแบบคือ 1. Vector Format 2. Raster Format Ve ct or แล ะ Ra st er จะนับเป็นพิกเซล คือจุดที่อยู่ในภาพ เก็บเป็น Vector สิ่งที่จัดเก็บคือ Coordinate XY ที่เป็นพิกัดโลกก็คือ ละติจูด และ ลองติจดู แทนด้วย XY ในระบบคอมพิวเตอร์ ถ้ามีเรื่องของความสูงและเรื่องของ 3 มิติเข้ามาเกี่ยวข้องก็จะเป็น Z สิ่งที่จัดเก็บก็จะเป็น XYZ ค่า Z คือค่าแห่งความสูง ในการนำาเสนอ เช่นเดียวกันใน Raster Format สิ่งที่เราจะจัดเก็บมาเป็นถนนคือภาพที่เห็นเป็นสีแดงที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์นี้คือส่วน แรกที่เราจะจัดเก็บคืออะไร ก็คือมีVector และ Raster นัน่ เอง Co or di na te S ys te m คือ มาตรฐานหรือข้อจำากัด ข้อตกลงร่วมกันในการใช้ข้อมูลว่าเราจะใช้ข้อมูล coordinate System ในระบบไหน ระบบ UTM หรือระบบลองติจูด และละติจูด ปัจจุบัน ตัว solfware GIS สามารถแสดงผลทันทีโดยที่เราไม่จำาเป็นที่เราจะไปรู้ว่า ปรับหรือเปลี่ยน อย่างไร เราบอกคอมพิวเตอร์เลยว่า เราจะใช้ ลองติจูด และละติจูดทำางาน เขาก็จะแสดงท่า ละติจูด และลองติจูดตลอดเวลา หรือเราต้องการให้ UTM เป็น XY ก็จะโชว์ให้เป็น XY ทันที

7

Da ta Qu al it y คุ ณภา พข อง ข้อ มู ลสามา รถพ ิจา รณาได้ จาก - Accuracy - Precision - Spatial Resolution - Scale Ac cu ra cy แบ่งเป็น 2 อย่างดังนี้คือ 1. Positional Accuracy 2. Attribute Accuracy Po si ti ona l Ac cu ra cy คือความถูกต้องเชิงตำาแหน่ง ในการเราไปจัด เก็บว่าเท่าไหร่ ปกติเราจะจัดเก็บโดยใช้ GPS(Global Positioning System) ที่ 15 เมตร หาก Accuracy สูง ข้อมูลก็จะแพง Accuracy คือ GPS เครื่องหนึ่ง เหมือนโทรศัพท์มือถือ ออกไปยืน กลางแดดในตำาแหน่งที่ท่านต้องการแล้ว กดมือถือปั๊บเอาเข้าไปในระบบแผนที่ ของใครก็ได้ หากวัดปั๊บหรือใช้แผนที่ตรงไหนค้นหา ถ้าอย่างไรจุดจริงอยู่ในพิกัด โลกซึ่งอยู่ในรัศมี 15 เมตร นี้แน่นอน ไม่ออกไปไกลกว่านี้ สามารถยิงขีปนาวุธ ได้แต่ไม่โดนเป้าเท่าไหร่นัก ถ้า GPS อยู่ในระดับ 15 เมตร ตกอยู่ประมาณ 7,000 บาทถึง 30,000 บาท แต่ถา้ ท่านนำาเอา Accuracy ในระดับเมตร ระดับเซ็นติเมตร เครื่องหนึ่งราคา 4 ล้านบาท GPS คือ เครื่องรับสัญญานดาวเทียม GPS จะมี ดาวเทียมบินอยู่รอบโลก 14 ดวง ในการรับสัญญานดาวเทียมเพื่อให้เกิด Accuracy 15 เมตร เพราะเขาต้องการรับสัญญานดาวเทียมพร้อมกัน 4 ดวง เป็นอย่างน้อย คำาว่า 4 ดวง คือตำาแหน่งของดาวเทียมที่บินอยู่เหนือหัวเรา ก็ จะเป็นรัศมีวงกลม ค่าที่ออกมาจึงเป็น 15 เมตร At tri bu te Ac cu ra cy ความถูกต้องของข้อมูลบรรยายใครจะรับประกัน error ของข้อมูลการ บรรยายเกิดจากอะไรได้บ้าง หลัก ๆเกิดจากการให้ข้อมูลที่ผิดพลาด คน พิมพ์ พิมพ์ข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์พิมพ์ผิด พิมพ์เป็น 1598 พิมพ์เป็น 1958 อย่างนี้เป็นต้น

8

เพราะฉะนั้น การป้องกันทางคอมพิวเตอร์เขาบอกว่า ต้องกำาหนด เป็นโดเมน เพราะโดเมนคือ การกำาหนดค่าเบื้องต้นเข้าไปว่า ค่าไม่เกินเท่า ไหร่ ลักษณะการทำาระบบคอมพิวเตอร์ นักคอมฯเขาจะทราบ ตรงนั้นจะ ทำาให้ข้อมูลเชิงบรรยายมีความถูกต้องและน่าเชื่อถือได้ในระดับหนึ่ง Pr ec isi on คือ การจัดเก็บความละเอียดของข้อมูล ตัวอย่างเข่น หากค่าความถูกต้องของดิจิ ไทเซอร์เท่ากับ 0.1 mm ข้อมูลในแผนที่ที่มีค่าทศนิยมตำ่ากว่านี้ถือว่าข้อมูลนั้น ไม่สามารถเชื่อถือ ได้ Sp at ia l Re so lut io n คือ ขนาดที่เล็กที่สุดที่สามารถแสดงบนแผนที่ได้ โดยเราต้องพิจารณาถึงข้อจำากัด ของสายตามนุษย์ และเครื่องมือที่ใช้สร้างข้อมูล Scale คือ มาตราส่วนที่เป็นตัวกำาหนดขนาดและรูปร่างของข้อมูลที่แสดงในแผนที่ที่มีขนาด เล็กและขนาดใหญ่ มาตราส่วนขนาดใหญ่ คือ 1 ซ.ม. = 500 ซ.ม. (1 : 500) 1 ซ.ม. = 5 เมตร เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น ภ า พ ที่ เ ห็ น แ ม่ นำ้า จึ ง มี ค ว า ม ก ว้ า ง 1 ซ.ม. = 24,000 ซ.ม. 1 ซ.ม. = 240 เมตร เพราะฉะนัน้ เวลาไปวัดความกว้างจะไม่ได้ แม่นำ้ากว้างแค่ 5 เมตร ก็เหลือแค่เส้นเดียว บอกความกว้างไม่ได้ถ้าวัดระยะทาง ตรงนี้จะบอกได้ เช่นเดียวกัน ในลักษณะของการแสดงผลที่เป็น เมือง เหมือน กัน 1 ซ.ม. = 240 เมตร 24,000 ในภาพ City หรือเมืองขอบเขตของเมืองที่ เป็นอำาเภอของท่าน ขอบเขตของอำาเภอสามารถระบุได้ ในทางกลับกันถ้า 1 ซ.ม. = 250,000 กลายเป็นว่า 1 ซ.ม. = 2 กิโลเมตรครึ่ง ภาพที่เห็นในพื้นที่ City กลับกลายเป็นจุดเดียว เพราะฉะนั้นใน การทำาข้อมูลแผนที่ต้องระบุให้ชัดเจนว่า เราจะใช้ข้อมูลที่ Scale เท่าไหร่ ถ้า เป็น Scale หยาบขนาดเล็ก อย่างที่บอกคือ ไม่สามารถระบุขนาดได้ ข้อมูลของกรมแผนทีท่ หาร 1: 50,000 ก็คือ 1 ซ.ม.: 500 เมตรเพราะ ฉะนั้นอะไรที่ตำ่ากว่า 500 เมตรลงไป อาจจะดูเป็นแค่จุดแค่นั้นเอง ไม่ได้เป็น ขนาดใหญ่

9

1 : 4,000 ของเกษตร ก็คือ 1 ซ.ม. : 40 เมตร ก็สามารถที่ระบุ อะไรได้มากขึ้น นี้คือ ความสำาคัญของข้อมูล ดูวา่ ข้อมูลมีความถูกต้อง Accuracy มี Precision มี Resolution และ Scale เท่าไหร่ ต้องเรียนว่า อะไรก็ตามที่แสดงข้อมูลได้ละเอียดและชัดเจนก็มีราคาแพง วิ ธีกา รนำาเ ข้า ข้อ มู ลบ รร ยายหร ือ ข้อ มู ลทั่วไ ป (At tr ibu te Da ta ) การนำา เข ้าข้ อม ูลโด ยเ ข้าทาง 1. Digitizing Table - ทางอีเล็กทรอนิคส์ 2. Computer Keyboard - key พิกัด หรือ XY เท่าไหร่ 3. Scanner - ทำาการสแกนข้อมูล ผลลัพธ์ข้อมูลที่ได้ก็เป็น Raster 4. File Importation นำาเข้ามาจาก File อื่น ๆ 5. Gps - การเข้าในระบบง่ายขึ้น

การวิเครา ะห ์ข้ อม ูล (M an ipu late a nd A nal ys is )

การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์แบ่งได้เป็น 4 ประเภท การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยาย(Non-Spatial Data Analysis) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่รว่ มกับข้อมูลเชิงบรรยาย(Integrrated Analysis of Spatial and Non-Spatial Data) รูปแบบการแสดงผลข้อมูล(Output Format)

การวิเครา ะห ์ข้ อม ูลเชิ งพ ื้ นท ี่ (S pat ial D at a Ana ly si s) การ แป ลง รู ปแ บบ ขอ งข ้อ มูล (F or ma t Tr an sf orm at io n) สิ่งที่ควรคำานึงถึง คือ เวลาที่ใช้ในการแปลง ค่าใช้จา่ ยที่เกิดขึ้น ความครบถ้วนของข้อมูล การ แป ลง ข้อ มู ลเ ชิ งเ รขาค ณิต (G eo me tr ic Tr an sfo rm at ion ) การกำาหนดระบบพิกัดให้กับข้อมูลทีไ่ ม่มีระบบพิกัดให้เป็นข้อมูลที่มีระบบพิกัดจริง บนพื้นโลก การแปลงระบบพิกัดของข้อมูล(Transformation between geometric projection) การเกลี่ย(Conflation) การต่อแผนที่บริเวณขอบ (Edge Matching)

10

การแก้ไขข้อมูล(Edit feature) การลดจำานวนจุดพิกัด(Thinning coordinate)

การวิเครา ะห ์ข้ อม ูลเชิ งบรร ยาย (No n- Sp atial D at a Ana ly si s) การแ ก้ไ ขข้ อม ูล เช ิงบ รร ยาย (At tr ibu te Ed it in g) เป็นการวิเคราะห์ทางด้าน MIS เหมือนกับการวิเคราะห์ตามตาราง ตามกราฟ ข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปในส่วนของ MIS ข้อมูลเชิงบรรยาย เช่น การลด เพิ่ม แก้ไขข้อมูลในตารางข้อมูลเชิงบรรยาย การ สอ บถา มข้ อม ูล เช ิง บร รยาย (A tt rib ut e Qu er yi ng ) การค้นคืนข้อมูลในตารางข้อมูลเชิงบรรยายตามเงื่อนไขที่กำาหนด

การวิเครา ะห ์ข้ อม ูลเชิ งพ ื้ นท ี่ร่ว มกั บข้ อมู ลเชิง บรรยา ย (I nteg rat ed An al ys is of Sp ati al an d No n- Sp ati al Da ta ) ได้แ ก่

การค้นค ืน /การจ ำาแนก /การว ัด (Re tr iv e/ Re cl assi fy /Me asu re ) การ ค้นคืน (R et ri ve ) คือ การค้นเนื้อหาคืออะไร แสดงให้เห็นคู่กัน การ จำา แนก (R ec la ssi fy) คือ การจำาแนกในพื้นที่ของตำาบลว่าแต่ละ ตำาบลเป็นดินทราย ดินเหนียว ดินร่วน การแสดงผลเป็นสี ๆที่แตกต่างกัน ออกไปจึงทำาให้สามารถวิเคราะห์ในลักษณะนี้ได้ การว ัด (Me as ur e) คือ การวัดระยะทาง ขอบเขต ความไกล ความ ใกล้ ก็สามารถนำามาวิเคราะห์ได้ อาทิเช่น การเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังงจุด หนึ่ง มีเส้นทางไปได้หลายเส้นทางเลือกว่าจะไปเส้นทางไหนที่ใกล้ที่สุด เป็นต้น การวา งซ้ อน (O ve rl ay ) คือ การนำาข้อมูล 2 อย่างมาซ้อนทับกัน ในพิกัด เดียวกัน ในแต่ละตำาบล หมู่บ้านจะปลูกพืชแตกต่างกัน หากมาซ้อนทับกันปั๊บก็จะ ทราบว่าแต่ละตำาบลปลูกอะไรไปเท่าไหร่ มีการสนับสนุนไปเท่าไหร่ การป ฏิ บั ติกา รย่านใก ล้เ คีย ง(N ei gh bo rh oo d Op era ti on) เป็นการ หา การหาพื้นที่กันชน (Buffer) การหาข้อมูลจุด/เส้น ภายในข้อมูลพื้นที่(point-in-polygon/line-in-polygon) การวิ เครา ะห์ พื้น ผิว (S ur fa ce A na ly st ) โดย

11

การประมาณค่า(Interpolation) การสร้างเส้นชั้นความสูง(Contour Generation) การทำา งานในลักษ ณะ โคร งข ่าย (Ne two rk fu nc ti on) เป็นการแสดงผลของบ้านและที่ทำางานว่าใช้ระยะทางเท่าไหร่

รูปแ บบการแ สดง ผลการว ิเคราะ ห์ (O utp ut Fo rm at) มีดั งน ี้ การแ สดงผลใน รู ปแ บบ ตาราง การแสดงผลตารางข้อมูลที่เกิดจากการวิเคราะห์ การ แสด งผลในร ูป แบ บแ ผนที่ - การแสดงผลในรูปแบบแผนที่ ซึ่งต้องคำานึงถึงว่าไม่เพียงเป็นการแสดงเฉพาะ ตัวแผนที่เท่านั้น ต้องแสดงองค์ประกอบอื่น ๆของแผนที่ด้วย เช่น ชื่อแผนที่ มาตราส่วน คำาอธิบายสัญญลักษณ์ เป็นต้น Ou tp ut & Di sp la y การ แสด งผลข ้อ มูลได ้ 2 รู ปแ บบ ได้แก่ - Sta ti c คือ ภาพแห้ง ๆ มีจุดสีเหลือง สีส้ม และสีเขียว - Dyn am ic หากมีการป้อนข้อมูลก็จะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา รูป แบ บกา รแส ดงผล แผนที ่ม ี 2 รู ปแ บบ ได้แก่ - 3D v ie w - 2D v ie w



ุค









ในการทำาระบบไม่ว่าจะเป็นงานรับเหมาหรือทั่ว ๆไปก็ตามจะต้องมีบุคคลเหล่านี้เข้า มาเกี่ยวข้อง คือ 1. GIS Pr oj ec t M an ag er ผู ้บ ริหาร คุม งาน 2. GIS Sy st em An al ys t นักว ิเค ราะห ์ร ะบ บ 3. Pro gr am me r นักโ ปร แก รม 4. Car to ga ph er นักทำา แผนที่ จะ เน ผู้ ออก แบ บส ัญ ญ ลักษ ณ์ แผนที ่ 5. Te ch nic al S upp or t ทางด้าน Netw or k มี ส่วนป ระ กอ บ ดังนี ้ - Network Manager - Systems Programmer

12

- Database Administrator - GIS Software Technical Support 6. En d- Use r บุคคลที ่นำาไปใ ช้ งาน 7. Ma nag em ent คนให้นโ ยบายว ่าจะให บ้ ุคลาก รทำาอ ะไร

3. การปร ะย ุกต์ร ะบบภ ูม ิสารส นเทศ (GI S) สำาหร ับง านบร ิหาร

สามารถที่จะทำาให้เราตอบคำาถามได้ และสามารถวิเคราะห์ได้ การประยุกต์ ระบบ GIS งานบริหารเป็นเรื่องของข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้ การบริหารปกครองภาครัฐ - งานฐานข้อมูลที่ดิน การจัดการการเลือกตั้ง การป้องกันอุบัติภัย การวาง ผังเมือง การรักษากฎหมาย การพัฒนาประเทศ - การวางแผนพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การคมนาคม การสื่อสาร การพัฒนา สาธารณูปโภค การส่งเสริมการท่องเที่ยว การบริหารและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ - ป่าไม้ เหมืองแร่ ทรัพยากรธรณี ปิโตเลียม การเกษตร ธุรกิจ - ด้านอสังหาริมทรัพย์ การตลาด การประกันภัย ต้นทุนในการทำางาน GIS ค่อนข้างสูง ในการลงทุน 2 ปีแรก ท่านอาจจะเป็นการลงทุนของ Hardware Solfware ข้อมูล บุคลากร ก่อน มี Data พื้นฐานเข้าไป แต่ในระยะยาวควบคุมกัน ไปก็จะมีเรื่องของ Data เข้ามาเกี่ยวข้อง ถามว่าทำาไมถึงทำาเรื่องของ Data ตลอด เพราะข้อมูล แผนที่มีการเปลี่ยนแปลงทุกวัน

GIS PR OJ EC T IMP LEM EN TATIO N TIM ELI NE ผลตอบแทนหรือกำาไร ในระยะเวลาๆหนึ่ง แบ่งเป็น 3 ส่วนงาน คือ 1. System Development การพัฒนาระบบ 2. Application Development & Data Conversion พัฒนาโปรแกรมประยุกต์กับการ เก็บข้อมูล 3. Implementation คือการใช้งานจริง 4.ตัวอ ย่าง ระ บบ ภูม ิสา รสนเท ศ(GI S) กับ การ บร ิหาร ได้แก่ การจัดทำา GIS ของกระทรวงสาธารณสุข การจัดทำา GIS ของกระทรวงเกษตรฯ เป็นต้น

13

** *** *** *** *** *** *** ***

Related Documents

Gis
May 2020 35
Gis
October 2019 50
Gis
October 2019 48
Gis
July 2019 45
Gis
November 2019 51
Gis Report
May 2020 1

More Documents from ""

Dell_promotion_oct_2008
October 2019 27
May 2020 16
June 2020 22
November 2019 24
Gis
October 2019 50