00 Design1 Introduction

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 00 Design1 Introduction as PDF for free.

More details

  • Words: 999
  • Pages: 3
เอกสารประกอบการสอน วิชา 2502 312 ทฤษฎีการออกแบบ 1 (Design 1) โดย

เถกิง พัฒโนภาษ

PhD

ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

จัดรูปเลมใหมจากเนื้อหาที่เริ่มใชตั้งแตปการศึกษา 2545

สารบัญ

1. พัฒนาการของมนุษยที่เกี่ยวของกับการออกแบบ นับตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร จนถึงยุคปฏิวัตอ ิ ุตสาหกรรม

หนา 2-12

ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2545 (2 คาบ)

2. การเปลี่ยนแปลงที่เปนเงื่อนไขของวิถีชีวต ิ และการออกแบบ 'สมัยใหม' ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2545

หนา 13-24

(2 คาบ)

3. จุดเปลี่ยนแหงศตวรรษ: วิกฤติของสมัยใหม การเปลี่ยนแปลงที่นําไปสูการเปลี่ยนกระบวนทัศน

หนา 25-31

ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2545 (2 คาบ)

4. กระบวนทัศนของ 'หลังสมัยใหม' กับการออกแบบ และ จักษุธรรมรวมสมัย

หนา 32-40

ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2545

(2 คาบ)

5. การออกแบบในประเทศไทย และสถานะของนักออกแบบในยุคขอมูลขาวสาร ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2545

หนา 41-45

(2 คาบ)

6. Planned Obsolescence & Capitalism อิทธิพลของ สไตล รสนิยม และแนวโนมกระแส นิยม (Styles Tastes and Trends) ตอการ ออกแบบ

หนา 46-52

ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2545

(2 คาบ)

ค ว า ม นํา

จะตองคนควาหาขอมูลมาจากหลายแหลงโดยเฉพาะ การอานเพื่อเทียบเคียงกันและหาขอสรุปใหกับตนเอง

เอกสารประกอบการสอนนี้ มีเนื้อหาวาดวยพัฒนาการ

อยางไรก็ตาม วัตถุประสงคของการบรรยายนี้ ไมใชการบอกเลาขอมูลตางๆเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิด ในชวงกวาหนึ่งหมื่นปดังกลาว แตการบรรยายนี้จะจับ เอาเพี ย งเหตุ ก ารณ สํ า คั ญ ในประวั ติ ศ าสตร ขึ้ น มา อภิปราย เพื่อใหนิสิตมองเห็นภาพกวางๆวามีเหตุปจจัย สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ก ารออกแบบเปลี่ ย นแปลงมาสู ส ภาพ อย า งที่ เ ราเห็ น กั น ในป จ จุ บั น และอาจจะสามารถ ทํา นายอนาคตของการออกแบบได ใ นระดั บ หนึ่ งด ว ย ดวยเหตุที่การบรรยายนี้มุงการอภิปรายประเด็นสําคัญ ม า ก ก ว า ใ ห ข อ มู ล จํ า เ พ า ะ ใ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด ก า ร ยกตั ว อย า งประกอบจึ ง ไม จํ า เป น ต อ งตรงตามลํ า ดั บ เหตุ ก ารณ ก อ นหลั ง หากแต จ ะใช ตั ว อย า งจากหลาย สมัยมาอภิปรายรวมกันบาง

ของมนุษย ที่เกี่ ย วของกับการออกแบบโดยอธิ บายถึง เงื่ อ นไขที่ ก อ ให เ กิ ด การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมซึ่ ง ส ง ผล สืบเนื่ องมา จนถึงปจจุ บัน การบรรยายนี้ค รอบคลุม ช ว งเวลาตั้ ง แต ยุ ค ก อ นประวั ติ ศ าสตร เ มื่ อ ประมาณ 10000 ป ม าแล ว จนถึ ง ปลายคริ ส ตศตวรรษที่ 18(ประมาณปลายรัชกาลที่สามตอรัชกาลที่สี่ของไทย) ซึ่ ง เป น ช ว งเวลาที่ เ กิ ด การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมขึ้ น ใน ประเทศอั ง กฤษ แล ว กล า วถึ ง ช ว งคริ ส ศตวรรษที่ 19 จนถึงชวงสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งเปนชวงเวลาของ ยุ ค ส มั ย ใ ห ม (Modernism)โ ด ย ก ล า ว ถึ ง ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ที่ เ ป น เงื่ อ น ไ ขข อง วิ ถี ชี วิ ต แ ล ะ ก า ร ออกแบบ'สมัยใหม' ตอมากลาวถึงพัฒนาการออกแบบ ตั้งแตหลังสงครามโลกครั้งที่สอง(ค.ศ.1945)มาจนถึง สิ้นศตวรรษที่ 20 โดยพิจารณาถึงวิกฤติทางความคิด ของปรั ช ญาการออกแบบสมั ย ใหม (Modernism)ซึ่ ง กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่นําไปสูการเปลี่ยนกระบวน ทั ศ น ที่ เ ป น รากฐานของแนวคิ ด ทางปรั ช ญาที่ เ รี ย กว า Postmodernism ซึ่งมีความเกี่ยวพันอยางแนบแนนกับ สิ่งที่เรียกวาจักษุธรรม(visual culture) นอกจากนั้นยัง จะพิจารณาถึงการออกแบบในประเทศไทยและสถานะ ของนั ก ออกแบบในยุ ค ข อ มู ล ข า วสาร แล ว กล า วถึ ง ประเด็ น สํ า คั ญ ที่ เ กี่ ย วกั บ การออกแบบก็ คื อ Planned Obsolescence ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันอยางแนบแนน กับระบบเศรษฐกิ จทุ นนิ ยม(Capitalism) และเรื่ อง อิท ธิ พลของ สไตล รสนิ ย ม และแนวโนม กระแสนิ ย ม (Styles Tastes and Trends) ที่มีตอการออกแบบ ชุด การบรรยายนี้ จ บลงด ว ยการพิ จ ารณาหลั ก สู ต รการ ออกแบบอุ ต สาหกรรมบั ณ ฑิ ต ที่ ใ ช กั น อยู ใ นคณะ สถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อ แนะแนวนิสิตถึง สิ่งที่นิสิตไดเรียนมาแลว สิ่งที่นิสิตจะ ได เ รี ย นต อ ไป และสิ่ ง ที่ นิ สิ ต จํ า เป น ต อ งแสวงหาเอง เพื่อใหพัฒนาความสามารถของตนใหพรอมสําหรับการ เปนนักออกแบบไดในอนาคต การที่ นิ สิ ต ในฐานะที่ จ ะเป น นั ก ออกแบบใน อนาคต จําเปนจะตองมีความรูเกี่ยวกับประวัติศาตรการ ออกแบบก็ดวยเหตุผลสําคัญสองประการ ประการแรก คือ เพื่อจะไดไมสรางงานออกแบบที่มีความผิดพลาด ซ้ําความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในอดีต และประการที่สอง คือเพื่อใหสามารถหยิบยืมความรูทางการออกแบบจาก อดีตไมวาจะเปนเทคโนโลยี กลไก ระบบ หรือรูปแบบ มาใชในงานออกแบบยุคปจจุบันอยางรูเทาทัน ในการศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร นั ก ประวั ติ ศ าตร จะตองคนควาหาขอมูลและหลักฐานทางประวัติศาสตร เข า มาปะติ ด ปะต อ เป น เรื่ อ งราวที่ เ ป น เหตุ เ ป น ผล แต การที่จะไดมาซึ่งเรื่องราวทางประวัติศาสตรนั้นจะตอง ผานกลไกการตีความของนักประวัติศาสตร ดวยเหตุนี้ นิ สิ ต จึ ง พึ ง สั ง วรไว ต ลอดเวลาที่ ฟ ง การบรรยายครั้ ง นี้ และตลอดเวลาที่อานหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตรการ ออกแบบ วาสิ่งที่ไดอานหรือไดยินนั้นผานการตีความ โดยผู เ ขี ย นหรื อ ผู เ ล า ซึ่ ง อาจมี อ คติ เ อนเอี ย งไปจาก ความจริงไปบางไมมากก็นอย หลักการที่ดีก็คือ นิสิต

เมื่ อ พู ด ถึ ง “เวลา” กั บ เหตุ ก ารณ ใ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ห ล า ย ค น มั ก ม อ ง แ บ บ ผิ ว เ ผิ น ว า เหตุ ก ารณ ต า งๆนั้ น เกิ ด ขึ้ น สื บ เนื่ อ งเป น สายเดี ย ว ก ล า ว คื อ เ มื่ อ เ กิ ด เ ห ตุ ก า ร ณ ห นึ่ ง แ ล ว จึ ง เ กิ ด อี ก เหตุการณหนึ่งตามมาในลักษณะคลายกับเปนเสนตรง แตในสภาพความเปนจริงเหตุการณมากมายเกิดขึ้นใน เวลาหรือชวงเวลาเดียวกัน ถึงแมวาการเปลี่ยนแปลง ของเวลายังจะคงรูปแบบเดิมคือมีอดีต, ปจจุบัน, และ อนาคต แต ก ารส ง ผลสื บ เนื่ อ งในประวั ติ ศ าสตร นั้ น มี สภาพเปนราวเครือขายใยแมงมุม มากกวาเปนเสนตรง อยางที่มักเขาใจกัน ลักษณะความเขาใจคลาดเคลื่อน นี้ มี โ อกาสเกิ ด ขึ้ น ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น เมื่ อ นิ สิ ต อ า นเอกสาร ทางประวั ติ ศ าสตร ที่ เ ขี ย นขึ้ น โดยอคติ มี ก ารตั ด ต อ เลื อ กสรรเอาเฉพาะเหตุ ก ารณ และบุ ค คลที่ ผู เ ขี ย น ต อ งการให ส ง ผลทางความคิ ด อย า งใดอย า งหนึ่ ง ต อ ผูอ า น ประวั ติ ศ าสตร ก ารออกแบบก็ ห นี ไ ม พ น ป ญ หา ดังกลาว กลาวคือหนังสือสวนใหญพูดถึงนักออกแบบ เพศชายที่มี ผ ลงานโดดเดน ราวกั บวาในอดีต นั้นไม มี นักออกแบบที่เปนผูหญิงที่มีความสามารถเลย ซึ่งเปน ความเข า ใจผิ ด พลาดที่ เ กิ ด จากผลงานเขี ย นของ นั ก วิ ช าการทางด า นประวั ติ ศ าตร ก ารออกแบบอย า ง Nicholas Pevnser หรือการกลาวถึงความเปลี่ยนแปลง ในแง รู ป แบบการออกแบบราวกั บ ว า เป น ผลมาจาก ความคิ ด ของนั ก ออกแบบคนใดคนหนึ่ ง หรื อ กลุ ม ใด กลุ ม หนึ่ ง โดยปราศจากพื้ น ฐานอั น สํ า คั ญ คื อ การ เปลี่ยนแปลงในรูปแบบของงานออกแบบนั้นเปนผลมา จากความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และ พลวัตทาง สั ง คมในแตล ะยุ ค สมัย ในฐานะที่ นิ สิตเปน คนไทย ก็ พึ ง ตระหนั ก ด ว ยว า เอกสารหรื อ บทความเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร ก ารออกแบบเกื อ บทั้ ง หมด ทั้ ง ที่ เ ป น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไมไดกลาวถึงพัฒนาการ ทางการออกแบบที่ เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศไทยเลย ซึ่ ง ขอบกพรองนี้เปนเรื่องที่เขาใจไดไมยากดวยเหตุที่วา ประเทศไทยไมอยูในฐานะที่มีบทบาททางเศรษฐกิจที่ ส ง ผลสํ า คั ญ ในระดั บ โลก ผลก็ คื อ การออกแบบของ ไทยถูกละเลยไมกลาว ถึงในเอกสารเหลานั้น

เถกิง พัฒโนภาษ

3

Related Documents

00 Design1 Introduction
November 2019 3
00 Introduction
June 2020 1
Design1 Syllabus2550
November 2019 7
Design1.docx
June 2020 4
Form Design1
November 2019 5