Yutthasard-binder2

  • Uploaded by: Tambon Sanmahapon
  • 0
  • 0
  • April 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Yutthasard-binder2 as PDF for free.

More details

  • Words: 11,388
  • Pages: 104
คํานํา *-*-*-*-*-*-*-*-*-* แผนยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพนฉบับนี้ เปนแผนการพัฒนาดานเศรษฐกิจ และดานสังคมของเทศบาลตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ระหวาง พ.ศ.2551 ถึง พ.ศ. 2555 เนื่องจากคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่นจังหวัดเชียงใหม ไดจดั ทํากรอบยุทธศาสตรการ พัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดเชียงใหม พ.ศ.2551 - 2555 ประกอบกับการเปลี่ยนแปลง ทางดานสังคม การเมือง และนโยบายการบริหารงาน ซึ่งแผนยุทธศาสตรฉบับนี้ไดกําหนดยุทธศาสตรและ แนวทางการพัฒนาของเทศบาลตําบลสันมหาพน ไดแสดงถึง วิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุง หมายเพื่อการ พัฒนาในอนาคต ทั้งนี้ เนื้อหาในแผนฉบับนีค้ ํานึงถึงความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554) ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตรการพัฒนาของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดเชียงใหม โดยยึดมั่นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนเขมแข็งและชุมชน พึ่งตนเอง นําทางการพัฒนาประเทศ เนนการพัฒนาแบบมีสวนรวมจากทุกภาคสวน เพื่อการพัฒนาอยางมี คุณภาพและยัง่ ยืน เสริมสรางรากฐานทางเศรษฐกิจและชุมชนใหเขมแข็ง ยกระดับคุณภาพชีวิตให อยูดีมี สุข รูจักพอประมาณอยางมีเหตุผล เสริมสรางคนใหมีความรูอยางเทาทันการเปลีย่ นแปลง และการมีระบบ บริหารการจัดการที่ดี ธํารงรักษาวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดจนโยบายของคณะผูบริหารเทศบาลตําบล สันมหาพน เพื่อสนองตอบวิสัยทัศนการพัฒนาของจังหวัด คือ “นครแหงชีวิตและความมั่งคัง่ ” (CITY OF LIFE AND PROSPERITY) เทศบาลตําบลสันมหาพน เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นและเปนองคการพื้นฐานที่ใกลชิด กับประชาชน มีพันธกิจทีจ่ ะตองดําเนินการพัฒนาทองถิ่นใหบรรลุซึ่งวิสัยทัศนของจังหวัด และความอยูดีกนิ ดี และมีความสุขของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน ในการดําเนินการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาฉบับนี้ ไดดําเนินการตามระเบียบกระทรวง มหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 ทุกประการ งานวิเคราะหนโยบายและแผน สํานักปลัดเทศบาล 29 มิถุนายน 2550 *-*-*-*-*-*-*-*-*-*

แผนยุทธศาสตรการพัฒนา เทศบาลตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม

จัดทําโดย งานวิเคราะหนโยบายและแผน สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม

สารบัญ * - * - * - * - * - *- * - * - * - *

เรื่อง บทที่ 1 บทนํา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ความเปนมา นโยบายผูบ ริหารทองถิ่น ลักษณะของแผนยุทธศาสตร วัตถุประสงคของการจัดทําแผนยุทธศาสตร ความสําคัญและประโยชนของการจัดทําแผนยุทธศาสตร ขั้นตอนการจัดทําแผนยุทธศาสตร องคกรในการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล

หนา 1 1 2 3 3 5 7

บทที่ 2 สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐานของเทศบาล 2.1 2.2 2.3 2.4

สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนา ศักยภาพของเทศบาลตําบลสันมหาพน ผลการพัฒนาเทศบาลในชวงที่ผานมา ปจจัยและสถานการณเปลี่ยนแปลงทีม่ ีผลตอการพัฒนา

14 26 35 38

บทที่ 3 การวิเคราะหศักยภาพการพัฒนาเทศบาล 3.1 ศักยภาพการพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน 3.2 ผลการวิเคราะหผลลัพธที่มุงมั่นใหสาํ เร็จตามประเด็นการพัฒนา

53 54

บทที่ 4 วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค และเปาหมายการพัฒนาเทศบาล 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5

วิสัยทัศนการพัฒนาเทศบาล พันธกิจหลักการพัฒนาเทศบาล จุดมุงหมายการพัฒนาเทศบาล วัตถุประสงค การแปลงจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา

64 64 65 66 69

/สารบัญ (ตอ)...

-2-

เรื่อง

หนา

บทที่ 5 ยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาล 5.1 ยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาล 5.2 แนวทางการพัฒนาเทศบาล 5.2.1 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานคุณภาพชีวิต 5.2.2 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจทองถิ่น 5.2.3 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน 5.2.4 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการอนุรกั ษ ฟนฟูและสืบสานศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีภูมิปญญาทองถิ่น 5.2.5 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานจัดระเบียบชุมชน สังคมและการรักษาความสงบเรียบรอย 5.2.6 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ระบบนิเวศนและการพลังงานอยางยั่งยืน 5.2.7 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี

82 83 84 85 85 86 87 88

บทที่ 6 การนําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาลไปสูการปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล 6.1 องคกรในการติดตามและประเมินผล 6.2 วิธีการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล 6.3 หวงระยะเวลาในการติดตามและประเมินผล

* - * - * - * - * - *- * - * - * - *

89 90 92

บทที่ 1 บทนํา 1.1

ความเปนมา

นับแตไดมีการประกาศใชรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เปนตนมา องคกร ปกครองสวนทองถิ่นมีบทบาทอํานาจหนาที่กวางขวางมากขึ้น โดยมิเพียงที่จะมีหนาที่ใหบริการสาธารณะ พื้นฐานแกประชาชนในทองถิ่นเทานั้น แตยังขยายบทบาทหนาที่ออกไป รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของทองถิ่นดวย โดยเฉพาะเปนองคกรที่เปดใหประชาคมทองถิ่นไดมีสวนรวมในการ บริหารและการตรวจสอบการปฏิบัติงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเพิ่มมากขึน้ นอกจากนี้ ภายใตพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ไดบัญญัติใหมีองคกรรับผิดชอบในการจัดทําแผนการกระจายอํานาจใหแกองคกร ปกครองสวนทองถิ่น คือคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น และกําหนดหนาที่ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เพิ่มขึ้น และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ไดกําหนดรูปแบบการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นที่มคี วามเปนอิสระมากขึ้น ดังนั้น เพื่อเปนการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการกําหนดขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย จึงไดจดั ทํา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548” ขึ้น โดยไดกําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจะตองจัดทํา แผนพัฒนาขององคกรเองเปน 2 ประเภท คือ 1. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา เปนแผนพัฒนาระยะยาว 2. แผนพัฒนาสามป เปนแผนพัฒนาแบบหมุนเวียน (Rolling Plan) ที่ตองมีการทบทวนและจัดทํา ทุกป ซึ่งจะนําไปสูกระบวนการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปขององคกรปกครองสวนทองถิ่นดวย

1.2

นโยบายผูบริหารทองถิ่น (แถลงวันที่ 13 ธันวาคม 2547) 1. สรางระบบการบริหารจัดการที่ดีมีความโปรงใส เพื่อใหประชาชนมีความพึงพอใจในการบริหารงาน เชน การใหบริการสาธารณะและการจัดเก็บภาษีอยางเปนธรรม 2. พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชน ไฟฟา น้ําประปา โทรศัพท ถนน ฯลฯ ใหไดมาตรฐาน 3. สงเสริมภูมิปญญาชาวบานและพัฒนาสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) ใหมีคุณภาพมาตรฐาน เปนที่นิยมแพรหลาย เปนจุดขายเพิ่มรายไดและสรางศูนยการคาชุมชน เพื่อเปนตลาดกลางทาง การเกษตร

-24. ขยายแหลงน้ําสําหรับ อุปโภค บริโภค ทางการเกษตร โดยเฉพาะในฤดูแลง และสงเสริมการเกษตร แบบผสมผสานตามแนวทฤษฎีใหม เพื่อเพิ่มรายได ลดคาใชจายในครัวเรือน 5. สืบสานศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษประเพณีอันดีงามของทองถิ่น 6. ปรับปรุงภูมิทัศนใหสวยงาม ทําเทศบาลใหสะอาดปราศจากขยะมูลฝอย รักษาสิ่งแวดลอม พรอม พัฒนาการทองเที่ยว 7. ยกระดับการศึกษาชั้นอนุบาลจนถึงการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขัน้ พื้นฐานในเขตเทศบาลใหได มาตรฐาน 8. สงเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสุขภาพอนามัย หางไกลยาเสพติด 9. ตั้งเครือขายอนามัยชุมชน สรางสุขภาพปองกันเอดสราย ขจัดยุงลาย ออกกําลังกาย ไรสิ่งเสพติด

1.3

ลักษณะของแผนยุทธศาสตรการพัฒนา

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําและประสานแผนพัฒนาขององคกรปกครอง สวนทองถิ่น พ.ศ. 2546 กําหนดใหจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่นไว แตไมไดกําหนดหวงระยะเวลา ของแผนยุทธศาสตรการพัฒนาวาเปนแผนระยะกี่ป ดังนั้นเทศบาลจึงสามารถที่จะพิจารณาวาจะทําแผน ยุทธศาสตรการพัฒนาของตน สําหรับหวงระยะเวลาเทาใดขึ้นอยูกับแนวความคิดขององคกรปกครองสวน ทองถิ่นวาคิดไปขางหนา (Forward Thinking) ไปในอนาคตยาวนานเพียงใด ประกอบกับขอมูลปญหาที่ตองการ การแกไข ซึ่งตองสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนา จังหวัด ซึ่งในที่นี้เทศบาลตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ไดกําหนดแผนยุทธศาสตรการ พัฒนาเปนแผนระยะเวลา 5 ป คือตั้งแต พ.ศ. 2551 ถึงป พ.ศ. 2555 โดยจะตองดําเนินการใหเสร็จสิ้นกอนการ จัดทําแผนพัฒนา 3 ป ลักษณะของแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ไดแก 1. เปนแผนที่จัดทําขึ้นโดยตั้งบนพื้นฐานของการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลอยางรอบดาน โดย คํานึงถึงสถานการณที่ตองการจะบรรลุและการเปลี่ยนแปลงตางๆ ทุกมิติ ทั้งมิติดานการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม การบริหารจัดการ การเปลี่ยนแปลงขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น และมิติเชิงพื้นที่ ทั้งพื้นที่ใกลเคียงขยายสูระดับอําเภอ จังหวัด ระดับประเทศ และ ระดับโลก 2. เปนแผนที่จดั ทําขึ้นอยางเปนระบบ โดยดําเนินการอยางเปนขั้นตอน คือ - การรวบรวมขอมูลและปญหาสําคัญ - การวิเคราะหศกั ยภาพเพื่อประเมินสถานการณพัฒนาในปจจุบันและกําหนดประเด็นในการ พัฒนา - การกําหนดวิสยั ทัศนและภารกิจหลักการพัฒนาทองถิ่น - การกําหนดจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

-3-

1.4

การกําหนดวัตถุประสงคการพัฒนาทองถิ่น การกําหนดยุทธศาสตรและบูรณาการแนวทางการพัฒนา การกําหนดเปาหมายการพัฒนา การอนุมัติและประกาศใชแผนยุทธศาสตรการพัฒนา

วัตถุประสงคของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 1. เพื่อสรางวิสัยทัศนที่ถูกตองยาวไกลในอนาคต 2. เพื่อศึกษา วิเคราะห กําหนดภารกิจหลัก ประเด็นยุทธศาสตร วัตถุประสงค หรือจุดมุงหมายและ กลยุทธ แนวทางการดําเนินงานของแผนยุทธศาสตรใหเหมาะสม ชัดเจน และทันกับการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3. เพื่อนําไปสูการแกไขปญหา และสนองตอบปญหาความตองการของประชาชนในทองถิ่น อยาง ถูกตองแทจริง 4. เพื่อนําไปสูการแกไขปญหาความตองการแบบบูรณาการทั้งดานบุคลากร องคกร ทุกภาคสวน ประชาชนและพื้นที่ที่เกี่ยวของ 5. เพื่อเปนกรอบในการกําหนดนโยบายและแนวทางการพัฒนาตลอดจนกิจกรรมโครงการตางๆ ของ เทศบาล และเพื่อใหมีการวางแผนปฏิบัติการใหบรรลุผลสําเร็จตามภารกิจ วัตถุประสงค กลยุทธ เปาหมายที่กําหนดไวในแผนกลยุทธนั้น ๆ 6. เพื่อใชทรัพยากรอยางประหยัดและเกิดประโยชนสูงสุด 7. เพื่อใหสามารถติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลไดอยางชัดเจน 8. เพื่อใหเทศบาลกาวไปขางหนาสูความสําเร็จไดอยางมั่นใจ

1.5

ความสําคัญและประโยชนของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่น

พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 และมาตรา 17 ไดบัญญัติใหเทศบาล องคการบริหารสวนตําบลและการปกครองสวนทองถิ่น รูปแบบพิเศษมีอํานาจหนาที่ในการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นของตนเอง และองคการบริหารสวนจังหวัด ซึ่ง นอกจากจะมีอํานาจหนาที่ในการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นของตนเองแลว ยังมีอํานาจหนาที่ในการประสานการ จัดทําแผนพัฒนาจังหวัดตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนดอีกดวย

-4ดังนั้น แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งเปนแผนพัฒนาระยะยาวอยาง นอย 5 ป จึงเปนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่กําหนดยุทธศาสตรและแนว ทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาใน อนาคตโดยสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ และ นโยบายทองถิน่ ดังแสดงในรูปที่ 1.2-1 ความสัมพันธระหวางแผนพัฒนาระดับตางๆ กับแผนพัฒนาทองถิ่น รูปที่ 1.2-1 : ความสัมพันธระหวางแผนพัฒนาระดับตางๆ กับแผนพัฒนาทองถิน่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (กําหนดวิสัยทัศน และยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ)

นโยบายรัฐบาล (นโยบายเรงดวน และนโยบายทั่วไป)

นโยบายกระทรวง กรม

ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ

(นโยบายรายสาขาตามภารกิจหนวยงาน)

(ยุทธศาสตรบูรณาการทุกภาคสวนในจังหวัด)

ยุทธศาสตรการพัฒนาอําเภอแบบบูรณาการ (บูรณาการในมิติเชิงพื้นที่)

แผนยุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่น (วิสัยทัศน พันธกิจ จุดมุงหมายการพัฒนา ยุทธศาสตร และแนวทางการพัฒนาทองถิ่น)

แผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (แปลงนโยบายสูการปฏิบัติ นําไปสูการทํางบประมาณ)

จากที่กลาวมาขางตนจะเห็นวา การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น จึง เปน กระบวนการกํา หนดทิ ศทางในอนาคตขององคกรปกครองสว นท องถิ่น โดยกํ าหนดสภาพการณที่ ตองการบรรลุและแนวทางในการบรรลุ บนพื้นฐานของการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลอยางรอบดานและเปน ระบบ ทั้งนี้จะตองสอดคลองกับศักยภาพของทองถิ่น ปญหาและความตองการของประชาชนในทองถิ่นดวย -5-

การจัดทําหรื อการวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่น จึงมีความสําคั ญตอองคกรปกครองสวน ทองถิ่นเปนอยางยิ่ง เพราะแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่นจะเปนแผนพัฒนาที่มุงไปสูสภาพการณที่ตองการให เกิดขึ้นในอนาคต และเปนกรอบในการกําหนดทิศทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมุงไปสู สภาพการณอันพึงประสงคไดอยางเทาทันกับการเปลี่ยนแปลง โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด ไดอยางมีประสิทธิภาพ

1.6

ขั้นตอนการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา

ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 ไดกําหนดใหมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่นไว ซึ่งประกอบดวย 9 ขั้นตอนดวยกัน คือ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ในขั้นตอนนี้ หนวยงานที่รับผิดชอบในการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น จะตองพบผูบริหารทองถิ่นเพื่อ ชี้ แ จงวั ต ถุป ระสงค ความสํ า คั ญ แนวทางและขั้ น ตอนในการจั ด ทํ า แผนยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นา แล ว จั ด ทํ า โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเสนอผานปลัดองคกรปกครองสวน ทองถิ่นใหผูบริหารทองถิ่นอนุมัติในโครงการดังกลาว แลวแจงผูที่เกี่ยวของเพื่อทราบ ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลและปญหาสําคัญ 1. การเก็บรวบรวมขอมูล ข อ มู ล ที่ ค วรจั ด เก็ บ ควรเป น ข อ มู ล ที่ มี ค วามครอบคลุ ม และทั น สมั ย ประกอบด ว ย ข อ มู ล ประชากร อาชี พ รายได สุ ข ภาพ การศึ ก ษา ทรั พ ยากร การคมนาคมขนส ง การพาณิ ช ย การลงทุ น อุตสาหกรรม และขอมูลงบประมาณ เปนตน 2. การรวบรวมปญหาสําคัญของทองถิ่น เพื่ อ จะนํ า มาใช ใ นการกํ า หนดยุ ท ธศาสตร เ พื่ อ แก ไ ขป ญ หา และจะต อ งนํ า แผนชุ ม ชนมา พิจารณาประกอบการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะหศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาของทองถิ่นในปจจุบัน ขั้นตอนนี้เปนการประเมินถึงปจจัยภายในองคกร ไดแก จุดแข็ง จุดออน และปจจัยภายนอก ไดแก โอกาส และอุปสรรค โดยใชเทคนิค SWOT Analysis มาเปนเครื่องมือ ขั้นตอนที่ 4 การกําหนดวิสยั ทัศนและภารกิจหลักการพัฒนาทองถิ่น ในขั้นตอนนี้ ประกอบดวยกิจกรรม 2 กิจกรรม คือ 1. การกําหนดวิสยั ทัศน (Vision) การพัฒนาทองถิ่น ซึ่งเปนถอยแถลงที่ระบุถึงสภาพการณในอุดมคติอันเปน “จุดหมาย” ที่องคกรปกครองสวน ทองถิ่นตองการใหเกิดขึ้นในอนาคตขางหนา 2. การกําหนดภารกิจหลัก หรือพันธกิจ (Mission) ในการพัฒนาทองถิ่น -6-

เปนการกําหนดสิ่งที่ทองถิ่นจะตองทํา โดยจะเกิดขึ้นหลังจากที่ทราบวาทองถิ่นตองการอะไร และเปนอะไรในอนาคต ดังนั้น พันธกิจจึงเปนถอยแถลงที่แสดงถึงลักษณะหรือขอบขายในการดําเนินงานของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เกี่ยวกับลักษณะการบริหารและการจัดการบริหารสาธารณะ รวมทั้งแนวคิด เกี่ยวกับองคกรหรือภาพลักษณที่ตองการนําเสนอ ขั้นตอนที่ 5 การกําหนดจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เปนการกําหนดขอบเขต หรือประเภทของกิจกรรมที่ควรคาแกการดําเนินงานทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่จะกอใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน และ สอดคลองกับวิสัยทัศน และพันธกิจขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ขั้นตอนที่ 6 การกําหนดวัตถุประสงคการพัฒนาทองถิ่น เปนการกําหนดผลสําเร็จที่ตองการ โดยดําเนินการหลังจากที่ทราบภารกิจหลักที่ทองถิ่นจะตองทํา แลว ซึ่งวัตถุประสงคจําแนกไดเปน 2 สวน คือ วัตถุประสงคโดยรวมของทองถิ่น และวัตถุประสงคเฉพาะสวน หรือเฉพาะเรื่อง ขั้นตอนที่ 7 การกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาและแนวทางการพัฒนา ขั้ น ตอนนี้ จ ะสามารถจั ด ทํ า ได เ มื่ อ ได มี ก ารกํ า หนดวิ สั ย ทั ศ น ภารกิ จ หลั ก วั ต ถุ ป ระสงค และ ยุทธศาสตรการพัฒนา โดยอาศัยพื้นฐานการวิเคราะห SWOT ดังนั้น ขั้นตอนนี้จึงเปนการแสดงแนวคิดหรือ วิธีการที่ทองถิ่นจะไปถึงจุดหมายที่ตองการไดอยางไร ขั้นตอนที่ 8 การกําหนดเปาหมายการพัฒนาทองถิน่ เปนการกําหนดปริมาณหรือสิ่งที่ตองการใหบรรลุในแตละแนวทางการพัฒนา โดยมีเงื่อนไขเรื่องเวลา ที่ตองการทํา ปริมาณที่ตองการ คุณภาพ สถานที่ ความเปนไปได ซึ่งจะสามารถกําหนดตัวชี้วัดผลสําเร็จเพื่อใช ในกระบวนการติดตามและประเมินผลความสําเร็จของแผนได ขั้นตอนที่ 9 การอนุมัติและประกาศใชแผนยุทธศาสตรการพัฒนา คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นจะนําผลที่ไดจากขั้นตอนที่ 1-8 มาจัดทําราง แผนยุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่นตามเคาโครงที่กําหนด แลวนําเสนอตอคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น และ ประชาคมเมืองเพื่อพิจารณาและปรับปรุงกอนนําเสนอตอผูบริหารทองถิ่น เพื่อใหผูบริหารทองถิ่นประกาศใช เปนแผนพัฒนา และสงใหคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับอําเภอและระดับจังหวัด ขั้นตอนที่ 10 คณะกรรมประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับอําเภอ คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับอําเภอ พิจารณากลั่นกรองแผนพัฒนาสามปของ เทศบาลและองคการบริหารสวนตําบล วาสอดคลองกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น จังหวัดเชียงใหม พ.ศ.2551 – 2555 หรือไม และจัดทําบัญชีโครงการที่เกินศักยภาพขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นเสนอตอคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับจังหวัด

-7-

ขั้นตอนที่ 11 คณะกรรมประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับจังหวัด คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับจังหวัด พิจารณาใหความเห็นแผนพัฒนาของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น วาสอดคลองกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น จังหวัด เชียงใหม พ.ศ.2551 – 2555 หรือไม และนําบัญชีโครงการที่เกินศักยภาพสงให องคการบริหารสวนจังหวัด พิจารณาบรรจุไวในแผนพัฒนาขององคการบริหารสวนจังหวัดตามอํานาจหนาที่ และพิจารณาโครงการที่มี ความจําเปนแตไมอยูในอํานาจหนาที่องคการบริหารสวนจังหวัดเชียงใหม รวบรวมจัดทําเปน “บัญชีโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนจากคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.)”

1.7

องคกรในการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล

ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 กําหนดใหมีองคกรที่เกี่ยวของในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา แผนพัฒนาสามป และ แผนปฏิบัติการ เพื่อทําหนาที่กําหนดแนวทางการพัฒนาเทศบาลใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ การผังเมือง ปญหาของเทศบาล และกําหนดแผนงาน / โครงการใหสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาล

องคกรในการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล (แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนา 3 ป) 1. คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล ประกอบดวย 1) นายกเทศมนตรี ประธานกรรมการ 2) รองนายกเทศมนตรี (ทุกคน) กรรมการ 3) สมาชิกสภาเทศบาล (คัดเลือก 3 คน) กรรมการ 4) ผูทรงคุณวุฒิทผี่ ูบริหารทองถิ่นคัดเลือก 3 คน กรรมการ 5) ผูแทนภาคราชการและ/หรือรัฐวิสาหกิจทีผ่ ูบริหารทองถิ่นคัดเลือก (ไมนอยกวา 3 คน) กรรมการ 6) ผูแทนประชาคมเมือง (คัดเลือกไมนอยกวา 3 คนแตไมเกิน 6 คน) กรรมการ 7) ปลัดเทศบาล กรรมการและเลขนุการ 8) หัวหนาสวนการบริหารที่มีหนาที่จดั ทําแผน ผูชวยเลขานุการ คณะกรรมการตามขอ (3) (4) (5) และ (6) มีวาระ 2 ป และอาจไดรับการคัดเลือกอีกได

-8-

อํานาจหนาที่คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล มีดังนี้ 1) กําหนดแนวทางการพัฒนาโดยพิจารณาจาก 1.1) อํานาจหนาทีข่ ององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยเฉพาะอํานาจหนาที่ที่มีผลกระทบตอ ประโยชนสุขของประชาชน เชน การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย การผังเมือง 1.2) ภารกิจถายโอนตามกฎหมายกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ 1.3) ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ กลุมจังหวัด และจังหวัด โดยใหเนนดําเนินการใน ยุทธศาสตรที่สําคัญและมีผลตอประชาชนโดยตรง เชน การแกไขปญหาความยากจน การปองกันและแกไขปญหายาเสพติด 1.4) กรอบนโยบาย ทิศทาง แนวทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตจังหวัด 1.5) นโยบายของผูบ ริหารทองถิ่นที่แถลงตอสภาทองถิ่น 1.6) แผนชุมชน ในการนําประเด็นขางตนมาจัดทําแผนพัฒนา ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นคํานึงถึงสถานะ ทางการคลังของทองถิ่น และความจําเปนที่ตองดําเนินการ มาประกอบการพิจารณาดวย 2) รวมจัดทํารางแผนพัฒนา เสนอแนะแนวทางการพัฒนา และการแกไขปญหาเกีย่ วกับการจัดทํา รางแผนพัฒนา 3) พิจารณารางแผนพัฒนาและรางแผนการดําเนินงาน 4) ใหความเห็นชอบรางขอกําหนดขอบขายและรายละเอียดของงานเสนอผูบริหารทองถิ่น 5) พิจารณาใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา 6) แตงตั้งที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานอื่นเพื่อชวยปฏิบัตงิ านตามที่เห็นสมควร

2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล ประกอบดวย 1) ปลัดเทศบาล ประธานกรรมการ 2) รองปลัดเทศบาล กรรมการ 3) หัวหนาสวนการบริหารของเทศบาล กรรมการ 4) ผูแทนประชาคมเมืองของเทศบาล (คัดเลือก 3 คน) กรรมการ 5) หัวหนาสวนการบริหารที่มีหนาที่จดั ทําแผน กรรมการและเลขานุการ 6) เจาหนาทีว่ ิเคราะหนโยบายและแผนหรือพนักงาน สวนทองถิ่นทีผ่ ูบริหารทองถิ่นมอบหมาย ผูชวยเลขานุการ กรรมการตามขอ (4) ใหมวี าระอยูในตําแหนงคราวละ 2 ป และอาจไดรับการเลือกอีกได

-9-

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล คณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาท อ งถิ่ น มี ห น า ที่ จั ด ทํ า ร า งแผนพั ฒ นาให สอดคลองกับแนวทางการพัฒนาที่คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่นกําหนด จัดทํารางแผนการดําเนินงานและจัดทํา รางขอกําหนดขอบขายและรายละเอียดของงานที่จะมอบหมายใหหนวยงานหรือบุคคลภายนอกดําเนินการ เพื่อ เสนอคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น

องคกรประสานแผนพัฒนาทองถิ่น (แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนา 3 ป) 1. คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับจังหวัด ประกอบดวย 1) นายกองคการบริหารสวนจังหวัดเชียงใหม ประธานกรรมการ 2) ประธานคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่น ระดับอําเภอทุกอําเภอ กรรมการ 3) เลขานุการคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่น ระดับอําเภอทุกอําเภอ กรรมการ 4) หัวหนาสํานักงานจังหวัดเชียงใหม กรรมการ 5) ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัดเชียงใหม กรรมการ/เลขานุการ 6) หัวหนากลุมงานยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด สํานักงานจังหวัด กรรมการ/ผูชวยเลขานุการ โดยดําเนินการใหเสร็จภายในกําหนดสามสิบวัน นับแตวนั ที่ไดรับแผนพัฒนาสามปจาก คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับอําเภอ หรือองคการบริหารสวนจังหวัด และแจงผลการ พิจารณาให อปท. และคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับอําเภอทราบ

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่น 1) กําหนดกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตจังหวัด โดย เชิญประชุมผูบริหารทองถิ่น ทุกแหง เพื่ อนํายุทธศาสตรการพัฒนาระดับชาติ ยุทธศาสตรการพัฒนากลุม จังหวัด/จังหวัด มารวมกันกําหนดเปนกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขต จังหวัด และจัดสงกรอบยุทธศาสตรฯ ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น และคณะกรรมการประสานแผนพัฒนา ทองถิ่นระดับอําเภอ 2) พิจารณาใหความเห็นแผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละแหง วามี ความสอดคลองกับกรอบยุทธศาสตรฯ หรือไม และใหองคการบริหารสวนจังหวัดนําโครงการจากบัญชีที่เกิน ศักยภาพของเทศบาลและองคการบริหารสวนตําบล ไปพิจารณาเพื่อบรรจุไวในแผนพัฒนาองคการบริหารสวน -10-

จังหวัดตามอํานาจหนาที่ (กรณีที่องคการบริหารสวนจังหวัดจัดทําแผนพัฒนาสามปแลวใหจัดทําเปนแผนพัฒนา สามปเพิ่มเติม) 3) ตรวจสอบโครงการจากแผนพัฒ นาเทศบาลและองค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บล เพื่ อ มิ ใ ห โครงการซ้ําซอนกับแผนพัฒนาขององคการบริหารสวนจังหวัด 4) พิจารณานําโครงการที่เกินศักยภาพขององคการบริหารสวนจังหวัดหรือเปนโครงการที่มี ความจําเปนแตไมอยูในอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด และสอดคลองกับกรอบยุทธศาสตรฯ รวบรวมจัดทําเปน “บัญชีโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจากคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.)” โดยใชรูปแบบเคาโครงของแผนพัฒนาสามปในสวนที่ 5 เปนแนวทางในการจัดทําบัญชีโครงการ

2. คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับอําเภอ ประกอบดวย 1) ผูบริหารทองถิ่นที่ไดรับการคัดเลือก 2) ผูบริหารทองถิ่นในเขตอําเภอทุกคน 3) สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดในเขตอําเภอทุกคน 4) ทองถิ่นอําเภอ 5) ปลัดองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอทุกคน 6) ขาราชการ อบจ. ที่นายก อบจ.มอบหมาย 7) ปลัดองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ประธานคณะกรรมการฯคัดเลือก

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ/เลขานุการ

มีอํานาจหนาที่ชวยเหลือคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่น ดังนี้ 1) พิจารณากลั่นกรองแผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น วามีความสอดคลองกับ กรอบยุทธศาสตรฯ หรือไม และเสนอความเห็นตอคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาทองถิ่นระดับจังหวัด 2) พิจารณานําโครงการที่เกินศักยภาพของเทศบาลและองคการบริหารสวนตําบล และสอดคลองกับ กรอบยุทธศาสตรฯ รวบรวมจัดทําเปน “บัญชีโครงการที่เกินศักยภาพของเทศบาลและองคการบริหารสวน ตํ า บล” จั ด ส ง ให ค ณะกรรมการประสานแผนพั ฒ นาท อ งถิ่ น ระดั บ จั ง หวั ด โดยใช รู ป แบบเค า โครงของ แผนพัฒนาสามปในสวนที่ 5 เปนแนวทางในการจัดทําบัญชีโครงการฯ โดยดําเนินการใหแลวเสร็จภายในกําหนดสามสิบ วันนับแตวันที่ไดรับแผนพัฒนาสามปจาก ผูบริหารทองถิ่น -11การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล

นายกเทศมนตรีแตงตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล ประกอบดวย 1) สมาชิกสภาเทศบาลที่สภาเทศบาลคัดเลือกจํานวน 3 คน คณะกรรมการ 2) ผูแทนประชาคมเทศบาลที่คัดเลือกกันเองจํานวน 2 คน กรรมการ 3) ผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของที่ผูบริหารทองถิ่นคัดเลือกจํานวน 2 คน กรรมการ 4) หัวหนาสวนการบริหารที่คัดเลือกกันเองจํานวน 2 คน กรรมการ 5) ผูทรงคุณวุฒิทผี่ ูบริหารทองถิ่นคัดเลือกจํานวน 2 คน กรรมการ ใหคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ 1 คนทําหนาที่ประธานคณะกรรมการ และกรรมการอีกคน หนึ่งทําหนาที่เลขานุการคณะกรรมการ มีอํานาจหนาที่ 1) กําหนดแนวทาง วิธีการในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา 2) ดําเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา 3) รายงานผลและเสนอความเห็น ซึ่งไดจากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาตอสภาเทศบาล นายกเทศมนตรี และคณะกรรมการพัฒนาเทศบาล พรอมทั้งประกาศผลการติดตามและประเมินผล แผนพัฒนาเทศบาลใหประชาชนในเขตเทศบาลทราบโดยทั่วกัน อยางนอยปละ 1 ครั้ง ภายใน เดือนธันวาคมของทุกป ทั้งนี้ใหตดิ ประกาศโดยเปดเผยไมนอยกวา 30 วัน 4) แตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อชวยปฏิบัตงิ านตามที่เห็นสมควร ดังนั้น เทศบาลตําบลสันมหาพน จึงกําหนดใหมีองคกรในการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตาม ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ดังนี้

1. คณะกรรมการพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน ประกอบดวย 1. จาสิบตํารวจสฤษดิ์ ชื่นจิตต 2. นายบัณฑิต สุวรรณธร 3. นายเฉลิมเกียรติ มะลิวัน 4. วาที่ รต.ปรีชา มาระกะ 5. นายไพโรจน เมฆขยาย 6. นายอาคม โยธา 7. นายเจริญ รักโนนสูง 8. นายงฝนทอง ศรีญานะ 9. นายสันติ เลาสูงเนิน 10. พัฒนาการอําเภอแมแตง

นายกเทศมนตรี ประธานกรรมการ รองนายกเทศมนตรี กรรมการ รองนายกเทศมนตรี กรรมการ สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการ สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการ สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการ ผูแทนคณะกรรมการพัฒนาอําเภอ กรรมการ -12-

11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.

เกษตรอําเภอแมแตง ผูแทนคณะกรรมการพัฒนาอําเภอ กรรมการ นายมนัส คํามา ผอ.สถานศึกษาโรงเรียนสันปาสักวิทยา กรรมการ นายวสันต วงศสกุล รอง.ผอ.สถานศึกษาโรงเรียนสันมหาพนฯ กรรมการ นายศรีใย กาแว ผูแทนประชาคมเมือง กรรมการ นางนภาพร ธัญญเฉลิม ผูแทนประชาคมเมือง กรรมการ นางอําพร มวงเริง ผูแทนประชาคมเมือง กรรมการ นายสุชาติ หิรัญลลิต ปลัดเทศบาล กรรมการและเลขานุการ จาเอกชูพงศ ธนพรหมาวิวฒ ั นรองปลัดเทศบาล ผูชวยเลขานุการ นางสาวลําดวน กอนทอง ผูอํานวยการกองสวัสดิการสังคม รักษาราชการแทน หัวหนาสํานักปลัดเทศบาล ผูชวยเลขานุการ 20. นางสิริลักษณ บัวประเสริฐยิง่ หัวหนาฝายบริหารงานคลัง รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองคลัง ผูชวยเลขานุการ 21. นายพิภพ กิติกาศ หัวหนาฝายบริหารงานชาง รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองชาง ผูชวยเลขานุการ 22. นางกรณิศ ดวงใบ หัวหนาฝายบริการการศึกษา รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองการศึกษา ผูชวยเลขานุการ 23. นายวีรยุทธ ปนแกว นายชางโยธา 6ว. รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองสาธารณสุขฯ ผูชวยเลขานุการ 24. นางจิราพรรณ จันทรหอม จนท.วิเคราะหนโยบายและแผน4 ผูชวยเลขานุการ

2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน ประกอบดวย 1. นายสุชาติ 2. จาเอกชูพงศ 3. นางสิริลักษณ 4. นายพิภพ 5. นางกรณิศ 6. นายวีรยุทธ

หิรัญลลิต ปลัดเทศบาล ประธานกรรมการ ธนพรหมาวิวฒ ั นรองปลัดเทศบาล กรรมการ บัวประเสริฐยิง่ หัวหนาฝายบริหารงานคลัง รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองคลัง กรรมการ กิติกาศ หัวหนาฝายบริหารงานชาง รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองชาง กรรมการ ดวงใบ หัวหนาฝายบริหารการศึกษา รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองการศึกษา กรรมการ ปนแกว นายชางโยธา 6ว. รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองสาธารณสุขฯ กรรมการ

-13-

7. นายอาย 8. นายสมบูรณ 9.นางสาวลําดวน

สันใจมี หลมพิงค กอนทอง

10. นางสาวพิมณพรรธ จินดาขัด 11. นางจิราพรรณ จันทรหอม

ผูแทนประชาคมเมือง กรรมการ ผูแทนประชาคมเมือง กรรมการ ผูอํานวยการกองสวัสดิการสังคม รักษาราชการแทน หัวหนาสํานักปลัดเทศบาล กรรมการ/เลขานุการ เจาพนักงานธุรการ 5 ผูชวยเลขานุการ จนท.วิเคราะหนโยบายและแผน 4 ผูชวยเลขานุการ

3. คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน ประกอบดวย 1. นายพงษศกั ดิ์ แกวชุม 2. นางกอบคํา กิติ 3. นางวิไล จัตตุรัตน 4. นางชูศรี กาลายี 5. นางศรีวรรณ มูลปน 6. เกษตรอําเภอแมแตง 7. สาธารณสุขอําเภอแมแตง 8. นายพิภพ กิติกาศ 9. นายสมบูรณ 10. นายนิคม 11. นายวีรยุทธ

ใจมูล จันทรบุญ ปนแกว

สมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล ผูแทนประชาคมเมือง ผูแทนประชาคมเมือง

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

หัวหนาฝายบริหารงานชาง รก.ผูอํานวยการกองชาง ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการ นายชางโยธา 6ว. กรรมการและเลขานุการ รก.ผูอํานวยการกองสาธารณสุข

บทบาทประชาคมเมืองของเทศบาลในการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล 1) เปนกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาเทศบาล (จํานวน 3 คน) 2) เปนกรรมการในคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล (จํานวน 3 คน) 3) เปนกรรมการในคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล(จํานวน 2 คน)

บทบาทของสมาชิกสภาเทศบาลในการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล 1) เปนกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาเทศบาล (จํานวน 3 คน) 2) เปนกรรมการในคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล(จํานวน 3 คน) -----------------------------------

สวนที่ 2 สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐานของเทศบาลตําบลสันมหาพน “เทศบาลตําบลสันมหาพน” เดิมมีฐานะเปนสุขาภิบาล โดยใชชื่อวา “สุขาภิบาลสันมหาพน” ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2499 ครอบคลุมพื้นที่ 10.30 ตารางกิโลเมตร ภายหลังเปลี่ยนแปลงเขตตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2526 เพิ่มขึ้นจากเดิม 1.18 ตารางกิโลเมตร พื้นที่สุขาภิบาลจึงมี 11.48 ตารางกิโลเมตร ตอมาไดมีการเปลี่ยนแปลงฐานะจาก “สุขาภิบาล” เปน “เทศบาล” ตามพระราชบัญญัติ เปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเปนเทศบาล พ.ศ. 2542 เมื่อ วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 และใชชอื่ วา “เทศบาลตําบลสันมหาพน” ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา และเมือ่ วันที่ 15 กันยายน 2547 สภาตําบลสันมหาพนไดยุบรวมกับเทศบาลตําบลสันมหาพน ตามประกาศราชกิจจา นุเบกษาทัว่ ไป เลม 121 ตอนพิเศษ 102 วันที่ 15 กันยายน 2547 ทําให ปจจุบันเทศบาลตําบลสันมหาพน มี พื้นที่เพิ่มขึ้นเปน 32.09 ตารางกิโลเมตร ประชากรรวมทั้งสิ้น 8,476 คน เทศบาลตําบลสันมหาพน อยูในเขตอําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม โดยครอบคลุมเขตพื้นที่ 2 ตําบล ไดแก ตําบลสันมหาพน (ทั้งตําบล) และตําบลขี้เหล็ก ( 2 หมูบาน) ขอมูลสภาพพื้นที่ของอําเภอ แมแตง และเทศบาลตําบลสันมหาพน มีดังนี้

2.1 สภาพทั่วไป 1) อําเภอแมแตง 1.1 ลักษณะที่ตั้งและเขตการปกครอง อําเภอแมแตงพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,362.78 ตารางกิโลเมตร อําเภอแมแตงประกอบดวย 13 ตําบล 119 หมูบาน สวนการปกครองสวนทองถิ่น ประกอบดวย เทศบาลเมือง 1 แหง เทศบาลตําบล 1 แหง องคการบริหารสวนตําบล 11 แหง รวมทั้งหมด 13 องคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.2 ลักษณะภูมิประเทศ อําเภอแมแตงมีพื้นที่เปนที่ราบลุม เปนที่สูงลาดเอียง และมีพื้นที่เปนปาสงวน ประชากรมี รายไดเฉลี่ย 20,000 บาท/ป พื้นที่ทําการเกษตร จํานวน 148,663 ไร พืชหลัก ไดแก ขาวนาป ขาวไร ถั่ว เหลือง ถั่วลิสง และยาสูบ ลักษณะเดนอําเภอแมแตง มีสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติที่งดงาม เชน อุทยาน แหงชาติหวยน้ําดัง วนอุทยานแหงชาติน้ําตกถ้ําบัวตอง เปนตน 1.3 ประชากร ประชากรในเขตอําเภอแมแตง มีจํานวนรวมกันทั้งสิ้น 56,427 คน จําแนกเปนเพศชาย 28,559 คน และหญิง 27,868 คน (รอยละ 50.61 และ 49.39 ตามลําดับ) และมีความหนาแนนของประชากรประมาณ 41 คน/ตารางกิโลเมตร

- 15-

2) ขอมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน 2.1 ลักษณะที่ตั้ง เทศบาลตําบลสันมหาพน อยูในเขตอําเภอแมแตง หางจากเทศบาลนครเชียงใหม โดยทางหลวง แผนดินหมายเลข 107 ( ถนนเชียงใหม – ฝาง ) ขึ้นไปทางเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 32.09 ตารางกิโลเมตร เปนเทศบาลขนาดกลาง 2.2 ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิประเทศของเทศบาลตําบลสันมหาพน มีลักษณะเปนพืน้ ทีร่ าบระหวางภูเขาในแนว เหนือ-ใต มีชื่อเรียกวา ที่ราบลุมแมน้ําปง มีลําน้ําสําคัญไหลผาน คือ ลําน้ําแมปงและลําน้ําแมแตง ไหลผาน เทศบาลตําบลสันมหาพน มาบรรจบกันที่บริเวณหมูท ี่ 5 ตําบลสันมหาพน ลําน้ําทั้งสองสายนี้เปนแหลงน้ํา สําคัญสําหรับการเกษตร นอกจากนี้บริเวณพืน้ ที่ตอนกลางของเทศบาล เปนพื้นที่เกษตรกรรม มีคลองสงน้ํา ชลประทานแมแตงและลําเหมืองไหลผาน ทําใหพนื้ ที่บริเวณตอนกลางของเทศบาลไดรับน้ําทําการเกษตรจาก ชลประทานแมแตงอยางสมบูรณ

2.3 อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ

ติดตอกับเขตองคการบริหารสวนตําบลอินทขิล และองคการบริหารสวน ตําบลแมแตง ทิศใต ติดตอกับบานดงปาลัน เขตองคการบริหารสวนตําบลขี้เหล็ก ทิศตะวันออก ติดตอกับเขตเทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา ทิศตะวันตก ติดตอกับเขตองคการบริหารสวนตําบลแมแตง

2.4 เขตการปกครอง มีพื้นที่การปกครองครอบคลุมพื้นที่ 12 หมูบาน ( 2 ตําบล ) ไดแก - ตําบลสันมหาพน มี 10 หมูบาน คือ หมูที่ 1 บานปาบง หมูที่ 2 บานปาเสา หมูที่ 3 บานสันมหาพน หมูที่ 4 บานปาจี้ หมูที่ 5 บานหนองหลม - ตําบลขี้เหล็ก มี 2 หมูบาน คือ หมูที่ 1 บานบวกหมื้อ

หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่

6 บานหนองกอก 7 บานปากทาง 8 บานพัฒนา 9 บานสหกรณ 10 บานหวยฮาง

หมูที่ 2 บานแมมาลัย

-16-

2.5 ประชากร จํานวนประชากรในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน รวม 8,476 คน แยกเปน ชาย 4,108 คน หญิง 4,368 คน ความหนาแนนของประชากรตอพื้นที่ 264 คน ตอ 1 ตารางกิโลเมตร (ขอมูลจากงานทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2550) ตารางแสดงจํานวนประชากรในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน พื้นที่ จํานวนประชากร ชาย ตําบลสันมหาพน 257 522 หมูที่ 1 425 819 หมูที่ 2 311 627 หมูที่ 3 200 439 หมูที่ 4 197 416 หมูที่ 5 271 538 หมูที่ 6 775 1,593 หมูที่ 7 230 514 หมูที่ 8 296 616 หมูที่ 9 210 436 หมูที่ 10 ตําบลขี้เหล็ก 353 741 หมูที่ 1 574 1,200 หมูที่ 2 รวม 8,476 4,108

หญิง 265 394 316 239 219 267 818 284 320 226 388 626 4,368

ตารางแสดงจํานวนประชากรในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน แบงตามชวงของอายุ ชวงอายุ ชาย หญิง รวม อายุระหวาง แรกเกิด – 8 ป 255 279 534 อายุระหวาง 9 - 17 ป 473 417 890 อายุระหวาง 18 - 25 ป 437 417 854 อายุระหวาง 26 – 59 ป 2,296 2,491 4,787 อายุ 60 ปขึ้นไป 633 778 1,411 4,094 4,382 8,476 รวม

-17-

2.6 จํานวนครัวเรือน หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่ หมูที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2

ต.สันมหาพน ต.สันมหาพน ต.สันมหาพน ต.สันมหาพน ต.สันมหาพน ต.สันมหาพน ต.สันมหาพน ต.สันมหาพน ต.สันมหาพน ต.สันมหาพน ต.ขี้เหล็ก ต.ขี้เหล็ก

205 392 277 201 154 206 741 235 246 149 254 703

ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน

รวม

3,764

ครัวเรือน

2.7 ดานโครงสรางพื้นฐาน 2.7.1 การคมนาคม การคมนาคมในเขตอําเภอแมแตงและในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพนพบวา การคมนาคม ทางบกมีความสําคัญมาก สวนการคมนาคมทางน้ําไมเปนที่นิยม ลําน้ําที่ไหลผานพื้นที่สวนมากจะใชประโยชน ในดานเกษตรกรรมเทานั้น การคมนาคมระหวางอําเภอแมแตงกับจังหวัดเชียงใหมใชทางหลวงแผนดิน หมายเลข 107 (สายเชียงใหม – ฝาง) เปนเสนทางคมนาคม สภาพเปนถนนราดยางแอสฟลท และถนน คอนกรีตเสริมเหล็ก การคมนาคมระหวางตําบล หมูบานตาง ๆ ใชทางหลวงชนบท ซึ่งสวนใหญเปนถนน คอนกรีตเสริมไมไผ แตก็ยังคงมีถนนบางสายที่เปนดินลูกรังอยู เสนทางคมนาคมที่ใชติดตอกับชุมชนโดยรอบ มีรายละเอียดดังนี้ - ถนนชลประทานเขื่อนแมงัด แยกจากทางหลวงแผนดิน หมายเลข 107 (สายเชียงใหม – ฝาง) ไปทาง เขื่อนแมงัดผานเทศบาลตําบลเมืองแกนพัฒนา มีระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตรสภาพเปนถนนราดยางแอส ฟลท - ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1095 (สายแมแตง – อําเภอปาย) แยกจากทางหลวงแผนดินหมายเลข 107 (สายเชียงใหม – ฝาง) ตรงตลาดแมมาลัยไปอําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน ระยะทางยาวประมาณ 90 กิโลเมตร สภาพเปนถนนราดยางแอสฟลท

-18- ปริมาณความตองการถนนในเขตเทศบาลจากการจัดทําประชาคมหมูบานและการออกสํารวจของ เทศบาล ประจําป 2549 มีดงั นี้ 1) ความตองการกอสรางถนนคอนกรีตเสริม จํานวน 19,208 ตร.ม. ตั้งแตปงบประมาณ 2549 ดําเนินการสรางเปนถนนคอนกรีตเสริมเหล็กแลว 4,713 ตร.ม. ยังไมไดดําเนินการ 14,495 ตารางเมตร 2) ความตองการกอสรางถนนลาดยางแอสฟสทติก จํานวน 81,142 ตร.ม. 3) ความตองการปรับปรุงผิวจราจรโดยการ OVER LAY ถนนดวยยางแอสฟสทติก จํานวน 43,245 ตร.ม. ตั้งแตปงบประมาณ 2549 ดําเนินการปรับปรุงแลว 9,8000 ตร.ม. (ดําเนินการโดยองคการบริหารสวนจังหวัด) 4) ความตองการถมดินลูกรังและหินคลุก จํานวน 35,100 ลบ.ม. ตั้งแตปงบประมาณ 2549 ดําเนินการแลว 9,900 ลบ.ม. 2.7.2 การประปา 1) การประปาแมแตง สังกัดการประปาสวนภูมิภาค ที่ตั้งสํานักงานอยูหมูที่ 2 ตําบล สันมหาพน มีขนาดพื้นที่ประมาณ 1 ไร 1 งาน 50 ตารางวา มีโรงกรองน้ําอยูที่ถนนชลประทานแมแฝก ตําบลสันมหาพน มีขนาดพื้นที่ 17 ไร 90 ตารางวา แหลงน้ําดิบที่นํามาผลิตน้ําประปาไดมาจากแมน้ําปง บริเวณเหนือฝายแมแฝก อยูหางจากโรงกรองประมาณ 0.15 กิโลเมตร จํานวนครัวเรือนที่ใชบริการ น้ําประปา 1,351 ครัวเรือน น้ําประปาที่ผลิตได จํานวน 2,400 ลบ.ม./วัน น้ําประปาที่ตองการใช จํานวน 1,000 ลบ.ม./วัน 2) ประปาหมูบาน ในเขตเทศบาลมี จํานวน 2 แหง คือ - หมูที่ 1 ตําบลสันมหาพน (บานปาบง) จํานวนผูใชประปาหมูบาน 97 ครัวเรือน - หมูที่ 9 ตําบลสันมหาพน (บานสหกรณ) จํานวนผูใชประปาหมูบาน 200 ครัวเรือน - หมูที่ 5 ตําบลสันมหาพน (บานหนองหลม) ดําเนินการกอสรางเสร็จแลว เปน ประปาผิวดินขนาดใหญ สามารถขยายเขตการใหบริการไดตั้งแต หมูที่ 3 , 4 ตําบลสันมหาพน และหมูที่ 2 ตําบลขี้เหล็กบางสวน แตอยูระหวางการดําเนินการเปดใช 2.7.3 การไฟฟา การบริการไฟฟาในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน ดําเนินการโดยหนวย บริการผูใชไฟฟาแมแตง สังกัดการไฟฟาสวนภูมภิ าค ตั้งอยูหมูที่ 3 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง มี พื้นที่ขนาด 2 งาน เปนที่ตั้งอาคารสํานักงานรับกระแสไฟฟามาจากสถานีอําเภอแมริม , เขื่อนแมงดั -ขนานไลน และรับแรงดันจากสถานีอําเภอแมแตง จํานวนครัวเรือนที่มีไฟฟาในเขตเทศบาล 3,091 ครัวเรือน ไมมีไฟฟา ใช 612 ครัวเรือน

-192.7.4 การสื่อสารและโทรคมนาคม - การไปรษณียโทรเลข มีที่ทําการไปรษณียโทรเลขจํานวน 1 แหง คือ ที่ทําการไปรษณียโทรเลขอําเภอแมแตง เริ่ม ดําเนินการเมื่อวันที่ 1 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2511 เปดบริการเวลา 8.30 น. – 16.30 น. ใหบริการทัง้ รับ – จาย ไปรษณียโทรเลข ตั๋วแลกเงิน ธนาณัติ และพัสดุ 2.7.6 การใชที่ดิน เทศบาลตําบลสันมหาพนมีพื้นที่ทั้งหมด 32.09 ตารางกิโลเมตรหรือ 20,056.25 ไร โดยแบงพื้นที่ในการใชประโยชน ดังตอไปนี้ 1. บริเวณที่พักอาศัย สวนใหญอยูใกลกับบริเวณทางแยกจากทางหลวงแผนดินหมายเลข 107 ไดแก - บริเวณหมูที่ 2 ตําบลสันมหาพน อันเปนชุมชนเดิมและที่ตั้งของที่วาการอําเภอในปจจุบัน - บริเวณหมูที่ 2 ตําบลขี้เหล็ก ดานทิศตะวันออกของทางแยกตลาดแมมาลัย - บริเวณหมูที่ 7 ตําบลสันมหาพน บริเวณทางแยกเขาเขื่อนแมงัดและบริเวณหมูที่ 3 ตอเนื่อง กับหมูที่ 4 เปนชุมชนหมูบานตัวอยางที่มีการจัดระเบียบภายในชุมชน และบริเวณสองขางทางถนนสายทาง หลวงแผนดินหมายเลข 107 2. บริเวณพานิชยกรรม - บริเวณรอบที่วาการอําเภอแมแตง โดยเฉพาะบริเวณดานหลัง มีประชากรอาศัยอยูอยาง หนาแนน - บริเวณตลาดแมมาลัย มีประชากรอาศัยอยูอยางหนาแนน โดยเฉพาะเมื่อทางหลวงจังหวัด หมายเลข 1095 ไดรับการพัฒนาจึงสามารถติดตอระหวางอําเภอปายกับอําเภอแมแตงสะดวกยิ่งขึ้น ทําใหตลาด แมมาลัยขยายตัวและมีความเจริญทางดานการคาอยางรวดเร็ว - บริเวณทางแยกปากทางเขาเขื่อนแมงัด ซึ่งเปนชุมชนเดิม ปจจุบันมีการขยายตัวและปรับปรุง พัฒนามากขึ้น 3. บริเวณสถานที่ราชการและสาธารณูปโภค เทศบาลตําบลสันมหาพนมีหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจอยูหลายหนวยงาน กระจายอยู บริเวณถนนสายทางหลวงแผนดินหมายเลข 107 และบริเวณรอบทีว่ าการอําเภอแมแตง มีหนวยราชการอันเปน ศูนยกลางการปกครองและใหบริการพื้นฐานแกประชาชนซึ่งมีหนวยงานตั้งอยูในพืน้ ที่ ดังนี้ 1. ที่วาการอําเภอแมแตง 2. สถานีตํารวจภูธรอําเภอแมแตง 3. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอแมแตง 4. สํานักงานเกษตรอําเภอแมแตง 5. สํานักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม สาขาแมแตง 6. ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอแมแตง 7. สถานีทดลองการเกษตรอําเภอแมแตง 8. สหกรณการเกษตรแมแตง 9. สหกรณออมทรัพยครูอําเภอแมแตง 10.สํานักงานยาสูบสันมหาพน 11.ที่ทําการไปรษณียอําเภอแมแตง 12.สํานักงานประปาสวนภูมิภาค สาขาแมแตง 13.สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค สาขาแมแตง 14. โรงพยาบาลแมแตง 15. สถานที่แรกรับคนไรที่พึ่งสันมหาพน 16. ศูนยคนพิการหยาดฝน 17. ศูนยแรกรับคนชรา วัยทองนิเวศน

-204. บริเวณสถานศึกษาและศาสนสถาน มีการใชที่ดินกระจายไปยังสวนตาง ๆ ของชุมชนบริเวณสถานศึกษาและศาสนสถานสวนใหญ อยูใกลกันและอยูบริเวณชุมชนเดิม เชน โรงเรียนบานบวกหมื้อกับวัดบวกหมื้อและตลาดแมมาลัยอยูใกลกัน โรงเรียนปากทางวิทยาคารกับวัดปากทาง ใกลกับทางแยกเขาเขื่อนแมงัด บริเวณ ศาสนสถานสวนใหญเปน ศาสนสถานในพุทธศาสนา มี 3 แหงที่ใชเปนศาสนสถานในคริสตศาสนา อยูที่หมูที่ 7 ตําบลสันมหาพน ประมาณกิโลเมตรที่ 41 , หมูที่ 9 ตําบลสันมหาพน (โบสถคริสตศูนยสงเคราะหชาวเขา) และหมูที่ 8 ตําบล สันมหาพน (โบสถคริสตความหวังแมแตง) 5. บริเวณเกษตรกรรม การใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมมีมากที่สุด ในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน สวนใหญอยู บริเวณตอนกลางซึ่งเปนที่ราบลุม เหมาะแกการเพาะปลูกและมีคลองสงน้ําชลประทานแมแตงจายน้ําเพื่อ การเกษตรทั่วพื้นที่ นอกจากบริเวณดังกลาวแลว ยังมีบริเวณที่ดินสองฝงลําน้ําแมแตงที่ใชน้ําเพื่อการเกษตรจาก ลําน้ําแมแตง และลําน้ําแมปง

2.8 ดานเศรษฐกิจ 2.8.1 การเกษตรกรรม ประชากรในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพนสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยการ เพาะปลูกพืชไร พืชสวน พืชที่เกษตรกรนิยมปลูก คือ ขาว ทําการเพาะปลูกในชวงเดือนมิถุนายน – เดือนพฤศจิกายน ยาสูบ ทําการเพาะปลูกในชวงกลางเดือนตุลาคม – เดือนเมษายน ถั่วเหลือง ทําการเพาะปลูกในชวงเดือนพฤศจิกายน – เดือนพฤษภาคม พืชผัก ทําการเพาะปลูกตลอดทั้งป ไมยืนตน เปนสวนผลไม เชน ลําไย มะมวง ลิ้นจี่ ใหผลผลิตตามฤดูกาล 2.8.2 การพานิชยกรรมและการบริการ - มีสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงขนาดใหญ จํานวน 2 แหง - มีธนาคาร จํานวน 3 แหง คือ 1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 2. ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาตลาดแมมาลัย 3. ธนาคารออมสิน จํากัด (สาขาแมแตง) - มีสหกรณ จํานวน 1 แหง คือ สหกรณการเกษตรอําเภอแมแตง

-21- มีสถานประกอบธุรกิจการคา แยกประเภทได ดังนี้ 1. หางหุนสวน จํากัด จํานวน 6 แหง คือ - หางหุน สวนสามัญ มาลัยเซอรวิส - หางหุน สวนจิระเมธวิศวกรรม - หางหุน สวนจํากัดเสรียนต - หางหุน สวนจํากัดดีวงคพาณิชย - หางหุน สวนจํากัดแมมาลัย ต.วัสดุกอสราง - หางหุน สวนสามัญนิติบุคคลธโนปจัย 2. บริษัท จํากัด จํานวน 2 แหง คือ - บริษัทนิม่ ซี่เส็งลีสซิ่ง จํากัด - ตัวแทนจําหนายบริษัทเจริญมอเตอร จํากัด (สุนันพาณิชย) 3. บริษัทจํากัด มหาชน คือ บริษัทอาหารสากล จํากัด มหาชน 4. โรงแรม จํานวน 1 แหง คือ โรงแรมแมแตง 5. สถานบริการบันเทิง จํานวน 7 แหง

2.9 ดานสังคม 2.9.1 ศาสนา 1. ประชากรเทศบาลตําบลสันมหาพนมีผนู ับถือ ศาสนาพุทธ ประมาณ 75% และศาสนาอืน่ 25% 2. ศาสนาสถาน ในเทศบาลตําบลสันมหาพน รวม 13 แหง แยกเปน - ศาสนาพุทธ จํานวนวัด 12 แหง คือ 1. วัดแมแตง อยูตําบลสันมหาพน 2. วัดหนองหลม อยูตําบลสันมหาพน 3. วัดปากทาง อยูตําบลสันมหาพน 4. วัดจอมคีรี อยูตําบลสันมหาพน 5. วัดติยะสถาน อยูตาํ บลสันมหาพน 6. วัดสันติพนาราม อยูตําบลสันมหาพน 7. วัดสันติบถ อยูตําบลสันมหาพน 8. วัดสิริธรรมมงคล อยูตําบลสันมหาพน 9. วัดปาอาจารยตื้อ อยูตําบลสันมหาพน 10. วัดสันธาตุ อยูตําบลสันมหาพน 11. วัดสันปาสัก อยูตําบลขี้เหล็ก 12. วัดบวกหมื้อ อยูตําบลขี้เหล็ก - ศาสนาคริสต จํานวนโบสถ 3 แหง คือ 1. โบสถคริสตจักรสุริยรังสี หมูที่ 7 ต.สันมหาพน 2. โบสถคริสตศูนยนาซารีน หมูที่ 9 ต.สันมหาพน 3. โบสถคริสตความหวังใหม หมูที่ 8 ต.สันมหาพน

-222.9.2 ขนบธรรมเนียมประเพณี ขนบธรรมเนียมประเพณียึดถือตามประเพณีของจังหวัดและของภาคเหนือ โดย ลักษณะการนับวัน เดือน ป จะแตกตางไปจากภาคกลาง ดังนี้ เดือนที่ 1 เดือนเกี๋ยง (เดือนตุลาคม) มีประเพณี ออกพรรษา สลากภัตร เดือนที่ 2 เดือนยี่ (เดือนพฤศจิกายน) มีประเพณีลอยกระทง ทอดผาปา ตั้งธรรมหลวง เดือนที่ 3 เดือนสาม (เดือนธันวาคม) มีประเพณีเทศนมหาชาติ แตงงาน เดือนที่ 4 เดือนสี่ (เดือนมกราคม) มีประเพณีทานขาวใหม ขึ้นบานใหม แตงงาน เดือนที่ 5 เดือนหา (เดือนกุมภาพันธ) มีประเพณีปอยหลวง เดือนที่ 6 เดือนหก (เดือนมีนาคม) มีประเพณีทาํ บุญปอยนอย บวชเณร เดือนที่ 7 เดือนเจ็ด (เดือนเมษายน) มีประเพณีสงกรานต ดําหัว บวชลูกแกว เลี้ยงผีปูยา เดือนที่ 8 เดือนแปด (เดือนพฤษภาคม) มีประเพณีบวชเณร วิสาขบูชา เดือนที่ 9 เดือนเกา (เดือนมิถุนายน) มีประเพณีไหวพระธาตุ เดือนที่ 10 เดือนสิบ (เดือนกรกฎาคม) มีประเพณีเขาพรรษา เดือนที่ 11 เดือนสิบเอ็ด (เดือนสิงหาคม) มีประเพณีตานขันขาว คนเฒาจําศีล เดือนที่ 12 เดือนสิบสอง (เดือนกันยายน) มีประเพณีสลากภัตร จาคะขาว (อุทิศถึงผูตาย) 2.9.3 การศึกษา การบริการทางการศึกษาภายในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน มีตั้งแตระดับกอนประถม ศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันการศึกษาภายในเขตเทศบาล ดังรายละเอียดตอไปนี้ - ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลสันมหาพนมีจํานวน 4 แหง คือ 1. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลสันมหาพน (โรงเรียนบานบวกหมื้อ) 2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลสันมหาพน (โรงเรียนหนองหลมวิทยาคาร) 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลสันมหาพน (โรงเรียนสันปาสักวิทยา) 4. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลสันมหาพน (ศูนยหว ยฮาง) 5. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลสันมหาพน (โรงเรียนสันมหาพนวิทยา) - ระดับประถมศึกษา 5 แหง คือ 1. โรงเรียนสันมหาพนวิทยา 2. โรงเรียนหนองหลมวิทยาคาร 3. โรงเรียนสันปาสักวิทยา 4. โรงเรียนปาบงหวยฮาง 5. โรงเรียนบานบวกหมื้อ - ระดับมัธยมศึกษา 1 แหง คือ โรงเรียนแมแตง

-232.9.4 ดานการสาธารณสุข ในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน มีโรงพยาบาลรัฐ 1 แหง จํานวน เตียงคนไข 30 เตียง และมีศูนยบริการสาธารณสุข / สถานีอนามัย จํานวน 2 แหง และคลินิกเอกชน จํานวน 4 แหง 2.9.5 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เทศบาลตําบลสันมหาพน มีเจาหนาทีใ่ นการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ดังตอไปนี้ 1. นายวิสิฐศักดิ์ นาคิน ตําแหนง เจาหนาที่ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 1 2. นายวินัย ไวปญญา ตําแหนง พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา 3. นายสมชาย จันทรบุญ ตําแหนง พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา 4. นายวิรัตน อัมรินทร ตําแหนง พนักงานดับเพลิง 5. นายอนุศกั ดิ์ ไชยรังษี ตําแหนง พนักงานดับเพลิง 6. นายจักรกฤษณ ชัยเลิศ ตําแหนง พนักงานดับเพลิง 7. นายจรูญ มะลิซอน ตําแหนง พนักงานดับเพลิง 8. นายนิกร คํานอย ตําแหนง พนักงานดับเพลิง 9. นายนิกร กันทาสี ตําแหนง พนักงานดับเพลิง 10. นายทวีศักดิ์ มวงเริง ตําแหนง พนักงานดับเพลิง 11. นายไกรสร ชางเรือน ตําแหนง พนักงานดับเพลิง 12. นายสุรยุทธ บูรณา ตําแหนง พนักงานดับเพลิง ใหบริการชวยเหลือประชาชน ตลอด 24 ชั่วโมง โดยติดตอที่หมายเลขโทรศัพท 199 หรือ 0-5347-1341 ตารางแสดงสถิติงานปองกันและระงับอัคคีภัยเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน จํานวนอุปกรณ การดับเพลิง ป พ.ศ. จํานวน จํานวน (เฉพาะในเขตเทศบาล) รถ ดับเพลิงอื่น ๆ รถดับ ทรัพยสินที่ถูก เพลิง บรรทุก เครื่องหาบ เคมี อัคคีภัย ในเขต นอก รวม น้ํา (คัน) เสียหาย หาม ดับเพลิง (ครั้ง) เขต (ครั้ง) (คัน) มูลคา (บาท) (เครือ่ ง) (เครื่อง) (ครั้ง) 200,000 41 21 20 19 1 1 1 2545 18,000 33 14 19 20 1 2 1 2546 15,000 41 12 29 23 1 2 1 2547 20,000 52 17 35 34 1 2 1 2548 20,000 31 11 20 34 1 2 1 2549 100,000 30 15 15 34 1 2 1 2550 ที่มา งานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลตําบลสันมหาพน

-24-

2.10 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม 2.10.1 ลักษณะภูมิอากาศ เทศบาลตําบลสันมหาพน มีสภาพภูมิอากาศคลายคลึงกับสภาพภูมิอากาศทัว่ ไปของจังหวัด เชียงใหม กลาวคือ แบงไดเปน 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว อุณหภูมเิ ฉลี่ยตลอดปประมาณ 25.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยต่ําสุด 19.7 องศาเซลเซียส และอุณหภูมเิ ฉลี่ยสูงสุด 31.8 องศาเซลเซียส ฤดูรอน เริ่มตั้งแตประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ ถึงประมาณกลางเดือนพฤษภาคมมีระยะ เวลานานประมาณ 3 เดือน โดยไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตและลมฝายใต ฤดูฝน เริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคม ถึงประมาณเดือนตุลาคม โดยไดรับอิทธิพลจาก ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตกลางเดือนตุลาคม ถึงประมาณเดือนกุมภาพันธ โดยไดรับอิทธิพลจาก ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดพาความหนาวเย็นจากประเทศจีนลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบน 2.10.2 แหลงน้ําธรรมชาติ เทศบาลตําบลสันมหาพนมีลาํ น้ําสําคัญ 2 สาย คือ 1. ลําแมน้ําปง ตนน้ําอยูทองที่อําเภอเชียงดาว ไหลผานบานหนองกอก หมูที่ 6 ต.สันมหาพน 2. ลําน้ําแมแตง มีตนน้ําอยูใ นอําเภอเชียงดาว ไหลผานจากดานเหนือลงสูดานใตลงมาบรรจบ กับ ลําแมน้ําปงที่บริเวณบานหนองหลม หมูที่ 5 ต.สันมหาพน การชลประทาน มาจากการชลประทานแมแตง ซึ่งประชากรในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน สามารถนํามาใช ทําการเกษตรไดตลอดปในทุกหมูบาน เชน พื้นที่การทํานา การปลูกพืชไร โดยการทําเหมือง คลองสงน้ํา คลองซอย แยกออกไปตามไรนาของเกษตรกรเพื่อทําการเพาะปลูกตามหมูบานตาง ๆ หนอง บึง อางเก็บน้ํา จํานวน 6 แหง ไดแก 1. หนองน้ําบานสันมหาพน หมูที่ 3 ตําบลสันมหาพน 2. หนองน้ําบานปาจี้ หมูที่ 4 ตําบลสันมหาพน 3. หนองน้ําบานหนองหลม หมูที่ 5 ตําบลสันมหาพน 4. หนองน้ําบานหนองกอก หมูที่ 6 ตําบลสันมหาพน 5. หนองน้ําบานปากทาง หมูที่ 7 ตําบลสันมหาพน 6. อางเก็บน้ําบานสหกรณ หมูที่ 9 ตําบลสันมหาพน 2.10.3 ปาไม ก. ชนิดปาไม ในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพน 1. ปาสงวนแหงชาติ เปนปาไมที่มีไมมีคาทางเศรษฐกิจ และไมชนิดอื่นที่มีคาจํานวนมาก รวมทั้งมีของปา กับทรัพยากรธรรมชาติอื่นดวย กําหนดเปนปาสงวนแหงชาติ เพื่อรักษา สภาพของปา และทรัพยากรธรรมชาติอื่นไว

-252. ปาไมถาวร เปนพื้นที่ทกี่ ําหนดไวเปนปาไมซึ่งกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ ซึ่งเกี่ยวของได ประสานงานกันจัดทําตามมติคณะรัฐมนตรี เปนปาที่จะรักษาไวเปนสมบัติของชาติโดย ถาวร หากหนวยงานใดประสงคจะเขาใชประโยชน ตองทําความตกลงกับกระทรวงเกษตร และสหกรณ ซึ่งจะไดรับอนุมัติเปนรายๆไป ข. เนื้อที่ปาไม 1. ปาสงวนแหงชาติ มีอยู 2 ปา คือ - ปาสงวนแหงชาติอินทขิล อยูทางทิศตะวันออกของเทศบาล เนือ้ ที่ประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเปนปาโปรง มีลูกไมขึ้นอยูโดยทัว่ ไป ไมมีไมใหญ สูงจาก ระดับน้ําทะเล 400 เมตร เปนที่ราบเนินเขา ปาแพะ ปาเต็งรัง - ปาสงวนแหงชาติแมแตง อยูทางทิศตะวันตกของเทศบาล มีเนื้อที่ประมาณ 0.8 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเปนเนินเขาประกอบดวยที่ราบลุม สูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง 350-400 เมตร เปนปาเบญจพรรณ ประกอบดวย ไมสัก ไมประดู ไมแดง ไมไผ ขึ้นอยู ทั่วไป 2. ปาไมถาวร อยูทางทิศตะวันออกของเทศบาล มีเนือ้ ที่ประมาณ 1.2 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยที่ราบลุม มีพรรณไมขึ้นอยูทั่วไปโดยเฉพาะแปลงทดลองปลูกไมสน สภาพปา ยังคงมีสภาพอุดมสมบูรณ มีลูกไมขึ้นทั่วไปสามารถฟนฟูได บางสวนมีราษฎรเขาไปอยูอาศัย 2.10.4 การกําจัดขยะ ดําเนินการโดยเทศบาลตําบลสันมหาพนเปนผูจัดเก็บขยะในเขตเทศบาล วิธีกําจัดโดยการ ฝงกลบ บอขยะอยูนอกเขตเทศบาล หมูที่ 7 ต. สันมหาพน บริเวณเขตปาสงวนแหงชาติอินทขิลทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือของสํานักงานเทศบาลประมาณ 8 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร ขนาดบอ 20 X 80 เมตร จํานวนขยะ 15-20 ตัน / วัน เจาหนาที่จัดเก็บขยะ จํานวน 22 คน รถเก็บขยะ จํานวน 4 คัน คาธรรมเนียมในการจัดเก็บขยะ หลังคาเรือนละ 15 บาท/เดือน รานคา 30 – 500 บาท/เดือน 2.10.5 การระบายน้ําและการสงน้ํา เทศบาลมีปริมาณความตองการรางระบายน้าํ ดาดลําเหมือง เพื่อปองกันอุทกภัย และเพื่อ การเกษตร สํารวจตามแผนพัฒนาสามป (พ.ศ.2548 – 2550) ดังนี้ - รางระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็กระยะทาง 3,400 เมตร เทศบาลดําเนินการกอสรางแลว จํานวน 572 เมตร ยังไดดําเนินการกอสราง 2,828 เมตร - ดาดลําเหมืองระยะทาง 9,123 เมตร เทศบาลดําเนินการกอสรางแลวจํานวน 2,373 เมตร ยังไมไดดําเนินการ 6,750 เมตร - วางทอระบายน้ํา จํานวน 9 แหง ดําเนินการแลว 7 แหง ยังไมไดดําเนินการ 2 แหง - ประตูระบายน้าํ จํานวน 2 แหง เทศบาลดําเนินการกอสรางแลว 1 แหง ยังไมได ดําเนินการ 1 แหง

-26-

2.2 ศักยภาพของเทศบาลตําบลสันมหาพน 2.2.1 ดานการเมืองการบริหาร องคการเทศบาลตําบลสันมหาพน ประกอบดวย (1) สภาเทศบาล ทําหนาที่นิติบัญญัติ และควบคุมฝายบริหารประกอบดวยสมาชิกซึ่งมาจากการ เลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น จํานวน 12 คน อยูในตําแหนงคราวละ 4 ป สภาเทศบาลมีประธานสภาคนหนึ่ง และรองประธานสภาคนหนึ่ง ซึ่งผูวา ราชการจังหวัดแตงตั้งจากสมาชิกสภาเทศบาลตามมติของสภาเทศบาล (2) นายกเทศมนตรี ทํ า หน า ที่ บ ริ ห ารราชการของเทศบาลให เ ป น ไปตามกฎหมาย ระเบี ย บ ขอบังคับ เทศบัญญัติ และนโยบาย ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น และรองนายกเทศมนตรี จํานวน 2 คน เลขานุการ จํานวน 1 คน และยัง มีที่ปรึกษานายกเทศมนตรีอีก 1 คน ซึ่งมาจากการแตงตั้งจากนายกเทศมนตรี ทั้ ง นี้ มี ป ลั ด เทศบาล เป น ผู บั ง คั บ บั ญ ชาพนั ก งานเทศบาล และลู ก จ า งเทศบาล รองจาก นายกเทศมนตรี และรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจําของเทศบาลใหเปนไปตามนโยบาย

2.2.2 โครงสรางและอัตรากําลังในการบริหารงานของเทศบาลตําบลสันมหาพน เทศบาลตําบลสันมหาพนไดเปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภิบาล มาเปนเทศบาล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 เพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางคลองตัว และสามารถแกไขปญหาของประชาชน ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีรูปแบบการบริหารงาน ดังนี้

เทศบาลตําบลสันมหาพน นายกเทศมนตรี จํานวน 1 คน และสมาชิกสภาเทศบาล จํานวน 12 คน 2 เขตเลือกตั้งมาจากการเลือกตั้ง (ฝายนิติบญ ั ญัติ) สมาชิกสภาเทศบาล - ประธานสภา - รองประธานสภาเทศบาล - สมาชิกสภาเทศบาล

(ฝายบริหาร) นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี (ไมเกิน 2 คน)

ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี/ เลขานุการนายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล รองปลัดเทศบาล

พนักงานเทศบาล/ลูกจางประจํา พนักงานจางเทศบาล

-27หนาที่ของเทศบาล หนาที่ของเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 (และทีแ่ กไขเพิ่มเติมจนถึง ฉบับที่ 12 พ.ศ.2546) เทศบาลตําบลมีหนาที่ตองทําในเขตเทศบาล ดังตอไปนี้ 1. รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน 2. ใหมีและบํารุงทางบกและทางน้ํา 3. รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกําจัดมูลฝอยและสิ่ง ปฏิกูล 4. ปองกันและระงับโรคติดตอ 5. ใหมีเครื่องใชในการดับเพลิง 6. ใหราษฎรไดรับการศึกษาอบรม 7. สงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ และผูพกิ าร 8. บํารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น 9. หนาที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติใหเปนหนาที่ของเทศบาล เทศบาลตําบลอาจจัดทํากิจการใด ๆ ในเขตเทศบาล ดังตอไปนี้ 1. ใหมีน้ําสะอาดหรือประปา 2. ใหมีโรงฆาสัตว 3. ใหมีตลาด ทาเทียบเรือและทาขาม 4. ใหมีสุสานและฌาปณสถาน 5. บํารุงและสงเสริมการทํามาหากินของราษฎร 6. ใหมีและบํารุงสถานที่ทําการพิทักษรักษาคนเจ็บไข 7. ใหมีและบํารุงการไฟฟาหรือแสงสวางโดยวิธีอื่น 8. ใหมีและบํารุงทางระบายน้ํา 9. เทศพาณิชย หนาที่ตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 เทศบาลมีอํานาจ และหนาทีใ่ นการจัดระบบการบริหารสาธารณะเพื่อประโยชนของ ประชาชนในทองถิ่นของตนเอง ดังนี้ 1. การจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นของตนเอง 2. การจัดใหมีและบํารุงรักษาทางบก ทางน้ําและทางระบายน้ํา 3. การจัดใหมีและควบคุมตลาด ทาเทียบเรือ ทาขามและทีจ่ อดรถ 4. การสาธารณูปโภคและการกอสรางอื่น ๆ 5. การสาธารณูปการ 6. การสงเสริม การฝก และประกอบอาชีพ

-287. การพาณิชย และสงเสริมการลงทุน 8. การสงเสริมการทองเที่ยว 9. การจัดการศึกษา 10. การสงเคราะห และการพัฒนาคุณภาพชีวติ เด็กและสตรี คนชรา และผูดอยโอกาส 11. การบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมปิ ญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น 12. การปรับปรุงแหลงชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับทีอ่ ยูอาศัย 13. การจัดใหมีและบํารุงรักษาสถานที่พักผอนหยอนใจ 14. การสงเสริมกีฬา 15. การสงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน 16. การสงเสริมการมีสวนรวมของราษฎรในการพัฒนาทองถิ่น 17. การรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง 18. การกําจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ําเสีย 19. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล 20. การจัดใหมีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน 21. การควบคุมการเลี้ยงสัตว 22. การจัดใหมีและควบคุมการฆาสัตว 23. การรักษาความปลอดภัย ความเปนระเบียบเรียบรอย และการอนามัย โรงมหรสพ และ สาธารณสถานอื่น ๆ 24. การจัดการ การบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากปาไม ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 25. การผังเมือง 26. การขนสงและการวิศวกรรมจราจร 27. การดูแลรักษาที่สาธารณะ 28. การควบคุมอาคาร 29. การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 30. การรักษาความสงบเรียบรอย การสงเสริมและสนับสนุนการปองกันและรักษาความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 31. กิจการอื่นใดทีเ่ ปนประโยชนของประชาชนในทองถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศ กําหนด 32. อํานาจหนาทีต่ ามขอ 2) เปนการดําเนินการตาม “แผนปฏิบัติการกําหนดขั้นตอนการ กระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น” ซึ่งมีผลบังคับตั้งแตวันที่ 14 มีนาคม 2545 เปนตนไป

-29-

คณะผูบริหารเทศบาลตําบลสันมหาพน 1. 2. 3. 4. 5.

จาสิบตํารวจสฤษดิ์ นายบัณฑิต นายเฉลิมเกียรติ นายยุทธนา นางสายทอง

ชื่นจิตต สุวรรณธร มะลิวัน โสภา ศรีสมุทร

นายกเทศมนตรีตําบลสันมหาพน รองนายกเทศมนตรีตําบลสันมหาพน รองนายกเทศมนตรีตําบลสันมหาพน เลขานุการนายกเทศมนตรีตําบลสันมหาพน ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีตําบลสันมหาพน

สมาชิกสภาเทศบาลตําบลสันมหาพน จํานวน 12 คน 1. นายสมจิตร ธงดํา 69 หมูที่ 3 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 2. นายณัฐธร บุญมาวัย 11/1 หมูที่ 6 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 3. นางกอบคํา กิติ 317 หมูท ี่ 7 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 4. นางชวนพิศ ไชยา 168 หมูท ี่ 7 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 5. วาที่ รต.ปรีชา มาระกะ 11/1 หมูที่ 1 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 6. นายพิชยั มุดลาด 24 หมูที่ 10 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 7. นางวิไล จัตตุรัตน 88/1 หมูที่ 2 ตําบลขี้เหล็ก อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 8. นายพงษศกั ดิ์ แกวชุม 3 หมูที่ 1 ตําบลขี้เหล็ก อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 9. นายผดุง โปธา 59 หมูที่ 8 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 10.นายเสถียร อินตะยศ 2/1 หมูที่ 4 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 11.นายอาคม โยธา 34/1 หมูท ี่ 1 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 12.นายไพโรจน เมฆขยาย 18 หมูที่ 5 ตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม นายณัฐธร บุญมาวัย ตําแหนง ประธานสภาเทศบาล นายสมจิตร ธงดํา ตําแหนง รองประธานสภาเทศบาล

การกําหนดสวนราชการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ประกอบดวย 1. 2. 3. 4. 5. 6.

สํานักปลัดเทศบาล กองคลัง กองชาง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม กองการศึกษา กองสวัสดิการสังคม

การบริหารงานของเทศบาล 1. นายกเทศมนตรีรับผิดชอบงานนโยบายหรืองานอื่นใดทีก่ ฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับหรือ คําสั่งระบุไวใหเปนหนาที่ของนายกเทศมนตรีโดยเฉพาะ 2. ปลัดเทศบาลเปนผูบังคับบัญชาพนักงานเทศบาล ตลอดจนลูกจางเทศบาลและ รับผิดชอบในงานประจําทั่วไปของเทศบาล

-30-

รองนายกเทศมนตรี 1.นายบัณฑิต สุวรรณธร 2.นายเฉลิมเกียรติ มะลิวนั

นายกเทศมนตรี จาสิบตํารวจสฤษดิ์ ชื่นจิตต

ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี นางสายทอง ศรีสมุทร เลขานุการนายกเทศมนตรี นายยุทธนา โสภา

ปลัดเทศบาล นายสุชาติ หิรัญลลิต (นักบริหารงานเทศบาล 8) รองปลัดเทศบาล จาเอกชูพงศ ธนพรหมาวิวัฒน (นักบริหารงานเทศบาล 7)

สํานักปลัดเทศบาล นางสาวลําดวน กอนทอง ผูอํานวยการกองสวัสดิการฯ รักษาราชการแทน หัวหนาสํานักปลัดเทศบาล

กองคลัง นางสิริลักษณ บัวประเสริฐยิ่ง หัวหนาฝายบริหารงานคลัง รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองคลัง

กองชาง นายพิภพ กิติกาศ หัวหนาฝายบริหารงานชาง รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองชาง

กองสาธารณสุขฯ นายวีรยุทธ ปนแกว นายชางโยธา 6 ว. รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองสาธารณสุขฯ

กองการศึกษา นางกรณิศ ดวงใบ หัวหนาฝายบริหารการศึกษา รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองการศึกษา

กองสวัสดิการสังคม นางสาวลําดวน กอนทอง ผูอํานวยการกอง สวัสดิการสังคม

-31-

อัตรากําลังของพนักงานเทศบาลและลูกจางเทศบาลตําบลสันมหาพน มีดังนี้ 1. พนักงานเทศบาล จํานวน 33 คน 1.1 นายสุชาติ หิรัญลลิต

ตําแหนง ปลัดเทศบาล (นักบริหารงานเทศบาล 8) 1.2 จาเอกชูพงศ ธนพรหมาวิวฒ ั นตําแหนง รองปลัดเทศบาล (นักบริหารงานเทศบาล7) 1.3 นางสาวลําดวน กอนทอง ตําแหนง ผูอาํ นวยการกองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม 7) 1.4 นางสิริลักษณ บัวประเสริฐยิง่ ตําแหนง หัวหนาฝายบริหารงานคลัง (นักบริหารงานคลัง 7) 1.5 นายพิภพ กิติกาศ ตําแหนง หัวหนาฝายบริหารงานชาง (นักบริหารงานชาง 7) 1.6 นางกรณิศ ดวงใบ ตําแหนง หัวหนาฝายบริหารการศึกษา (นักบริหารการศึกษา 6) 1.7 นายวีรยุทธ ปนแกว ตําแหนง นายชางโยธา 6ว. รักษาราชการแทน ผูอํานวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม 1.8 นางสาวนงลักษณ บุญตวย ตําแหนง บุคลากร 6ว. 1.9 นางสาวกัญจนกมน โถนาค ตําแหนง นักบริหารงานคลัง 6 1.10 นายเทิดศักดิ์ วังหลัง ตําแหนง นักบริหารงานชาง 6 1.11 นางกาญจนา วิวัฒนชุตินันท ตําแหนง นักบริหารงานคลัง 6 1.12 นายณัฐวัชฑ ผองเกษม ตําแหนง เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน 5 1.13 นายธราดล คํามะนาง ตําแหนง นักพัฒนาชุมชน 5 1.14 นางสาวพิมณพรรธน จินดาขัด ตําแหนง เจาพนักงานธุรการ 5 1.15 นางวันเพ็ญ จักขุจัน ตําแหนง นักวิชาการศึกษา 4 1.16 นางธนพร เรือนคํา ตําแหนง นักวิชาการศึกษา 4 1.17 นางจิราพรรณ จันทรหอม ตําแหนง เจาหนาทีว่ ิเคราะหนโยบายและแผน 4 1.18 นางสาวรัตนา พรมโน ตําแหนง เจาหนาที่สันทนาการ 3 1.19 นายพีระยศ นฤบาล ตําแหนง เจาหนาที่บริหารงานทะเบียนและบัตร3 1.20 นายธีรยุทธ ชํานาญพันธ ตําแหนง เจาพนักงานการเงินและบัญชี 3 1.21 นายสุธีย ไพยารมณ ตําแหนง นายชางโยธา 3 1.22 นางสาวหทัยนุช นันติแกว ตําแหนง เจาพนักงานการเงินและบัญชี 3 1.23 นางสาวขวัญสุดา พิมพยอม ตําแหนง เจาพนักงานธุรการ 2 1.24 นายเชษฐา วิมล ตําแหนง เจาพนักงานธุรการ 2 1.25 นางสาววัชรี ปนแกว ตําแหนง เจาพนักงานธุรการ 2

-321.26 1.27 1.28 1.29 1.30 1.31 1.32 1.33

นายราชัน นางสาวเกณิกา นายพิเชษฐ นางสาวจารุณี นางยุพาพรรณ นางศุภวรรณ นางฤทัย นายวิสิฐศักดิ์

ไชยชนะ อินตะถา รักโนนสูง สายอารี กันทาสี สุวรรณสม ชูวงษ นาคิน

ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง

นายชางโยธา 2 เจาพนักงานธุรการ 2 นายชางไฟฟา 2 เจาหนาทีก่ ารเงินและบัญชี 2 เจาหนาทีพ่ ัสดุ 1 เจาหนาทีจ่ ัดเก็บรายได 1 เจาหนาทีก่ ารเงินและบัญชี 1 จนท.ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 1

2. ลูกจางประจํา จํานวน 12 คน 2.1 นายธวัช ทันทะโก 2.2 นายมานัส แกวจี๋ 2.3 นายกานทอง บุญเปง 2.4 นายศักดิ์ คําหมื่น 2.5 นายชาย เขื่อนเพชร 2.6 นายพินิจ ฤทธิ์เดช 2.7 นางการเกต จะปูน 2.8 นางกนกพร ศรีพวก 2.9 นายตอน อินทยศ 2.10 นายเลิศ อินทยศ 2.11 นายสุชาติ บุญเลิศ 2.12 นางภัทรนันท ไชยรังษี

ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง

พนักงานประสานงานชนบท ผูชวยชางไฟฟา ผูชวยชางไฟฟา พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา นักการ นักการ คนงาน คนงานประจําโรงฆาสัตว พนักงานขับรถยนต พนักงานวิทยุ

3. พนักงานจางตามภารกิจ จํานวน 9 คน 3.1 นางอรทัย กิติฐานะ 3.2 นางรัชนิศ จันทรทามูล 3.3 นางบัวลอย คนหมั่น 3.4 นางสาวดาเรศ ทับสุขา 3.5 นางสาววัชรินทร สุริโย 3.6 นางสาวอารีลักษณ มุงเมือง 3.7 นางสาวศิริรัตน รินชัย 3.8 นางสาวดวงเดือน อินตะจอย 3.9 นางสาวอังคณา ยิ่งเจริญ

ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง

ครูผูดูแลเด็กเล็ก ครูผูดูแลเด็กเล็ก ครูผูดูแลเด็กเล็ก ครูผูดูแลเด็กเล็ก ครูผูดูแลเด็กเล็ก ครูผูดูแลเด็กเล็ก ครูผูดูแลเด็กเล็ก ครูผูดูแลเด็กเล็ก ครูผูสอนเด็กอนุบาลและปฐมวัย

-334. พนักงานจางทั่วไป จํานวน 63 คน (สัญญาจางระหวางวันที่ 1 เมษายน 2550 – 30 กันยายน 2550) 4.1 นายวัชรพงษ ตั๋นกําเลิศ ตําแหนง 4.2 นายชาตรี สระเสริม ตําแหนง 4.3 นางสาวนภาพร พรมซาว ตําแหนง 4.4 นางเจนจิรา หมื่นกัน ตําแหนง 4.5 นางสาวศุภลักษณ รุงเรือง ตําแหนง 4.6 นางศิริการณ ตั้งใจ ตําแหนง 4.7 นางบุษกร อินทนนท ตําแหนง 4.8 นางสาวอัมรัตน สุยะ ตําแหนง 4.9 นางสาวดารา แกนจันทร ตําแหนง 4.10 นางสาวเนาวรัตน โสภา ตําแหนง 4.11 นางพิไลย กันทาสี ตําแหนง 4.12 นางสาวพรรณี พรมซาว ตําแหนง 4.13 นายเอกลักษณ ทองลวน ตําแหนง 4.14 นายสุพัฒน ฤทธิ์เดช ตําแหนง 4.15 นายวัชรา กองมณี ตําแหนง 4.16 นายสมพร หินเงิน ตําแหนง 4.17 นายโยธี ใจแกว ตําแหนง 4.18 นายจักรกฤษณ ชัยเลิศ ตําแหนง 4.19 นายอนุศกั ดิ์ ไชยรังษี ตําแหนง 4.20 นายวิรัตน อัมรินทร ตําแหนง 4.21 นายสุรยุทธ บูรณา ตําแหนง 4.22 นายจรูญ มะลิซอน ตําแหนง 4.23 นายนิกร กันทาสี ตําแหนง 4.24 นายนิกร คํานอย ตําแหนง 4.25 นายทวีศักดิ์ มวงเริง ตําแหนง 4.26 นายไกรสร ชางเรือน ตําแหนง 4.27 นายวิทยา ทาอิ่นคํา ตําแหนง 4.28 นายนพดล ศรีพวก ตําแหนง 4.29 นายธีระเดช จันทรหอม ตําแหนง 4.30 นายธนัตถ เทพธานี ตําแหนง 4.31 นายอนุพนั ธ ศิริ ตําแหนง

นักการ นักการ นักการ นักการ นักการ นักการ นักการ นักการ นักการ นักการ นักการ นักการ นักการ ภารโรง พนักงานขับรถยนต พนักงานขับรถยนต พนักงานขับรถยนต พนักงานดับเพลิง พนักงานดับเพลิง พนักงานดับเพลิง พนักงานดับเพลิง พนักงานดับเพลิง พนักงานดับเพลิง พนักงานดับเพลิง พนักงานดับเพลิง พนักงานดับเพลิง เจาหนาที่ทะเบียนทรัพยสิน เจาหนาที่ทะเบียนทรัพยสิน คนงาน คนงาน คนงาน

-344.32 4.33 4.34 4.35 4.36 4.37 4.38 4.39 4.40 4.41 4.42 4.43 4.44 4.45 4.46 4.47 4.48 4.49 4.50 4.51 4.52 4.53 4.54 4.55 4.56 4.57 4.58 4.59 4.60 4.61 4.62 4.63

นายพิชิต นายวรโชติ นายอุทัย นายจําลอง นายไพโรจน นายสมบูรณ นายบังลังก นายสุกิจ นายประเสริฐ นายสมชาย นายวินัย นายมาโนช นายมงคล นายนพพร นายบุญสง นายนคร นายวรเชษฐ นายวรรณ นายกิติ นายสุกิจ นายศักดิ์ชัย นายชูชาติ นายสุจิน นายอุนเรือน นางสาวจุไรรัตน นายชิน นายตวน นายวันพรต นายวรนาฎ นางนิตย นางสุกัญญา นางสาวปยกมล

เมฆขยาย เทพธานี โปธา พงษปาไม สุจินดา ชมสหาย คําผาย มวงเริง กองมณี จันทรบุญ ไวปญญา กาวิโล ทิพยดวงตา ปญญาคุณ เรือนแกว แรมจันทร เทพธานี ศรีคําปน เรือนแกว นิจการณ ตามาเร็ว ยาลจิตร บุญตัน สุมเงิน วงศสุวรรณ เชษฐา หมื้อชุม มโนวรรณ ศรีผสม ชางเรือน สามเจริญ อาชญา

ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง

คนงาน คนงาน คนงาน คนงาน คนงาน คนงาน คนงาน พนักงานขับเครือ่ งจักรกลขนาดเบา พนักงานขับเครือ่ งจักรกลขนาดเบา พนักงานขับเครือ่ งจักรกลขนาดเบา พนักงานขับเครือ่ งจักรกลขนาดเบา คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงานประจํารถขยะ คนงาน(กวาดถนน) คนงาน(กวาดถนน) คนงาน(กวาดถนน) คนงานประจําโรงฆาสัตว ครูผูดูแลเด็กเล็ก ครูผูดูแลเด็กเล็ก ครูผูดูแลเด็กเล็ก

-35-

2.2.3 สถานะการคลังเทศบาลตําบลสันมหาพน

รายการ รายรับ รายจาย

รับจริง ปงบประมาณ พ.ศ. 2549 47,097,514.39 35,667,184.49

ประมาณการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2550

ประมาณการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2551

ประมาณการ ประมาณการ ปงบประมาณ ปงบประมาณ พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553

2.3 ผลการพัฒนาในชวงที่ผานมา การพัฒนาทองถิ่นในระยะที่ผานมา สามารถสรุปผลไดจากแผนพัฒนาสามป (พ.ศ.25492551) เพื่อใหทราบถึงผลการพัฒนาในปที่ผานมาวา เทศบาลไดนําแผนงาน/โครงการไปปฏิบัติมากนอย เพียงใด และบรรลุวัตถุประสงคการพัฒนาหรือไม เปนการประเมินผลการนําแผนพัฒนาสามป (พ.ศ.2549 2551) ไปปฏิบัติ และเปนการประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาสามป (พ.ศ.2549 - 2551) ในทุกดานของ การพัฒนาซึ่งจําแนกตามยุทธศาสตร 10 ยุทธศาสตร คือ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการแกไขปญหาความ ยากจน , ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการแกไขปญหายาเสพติด , ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการแกไขปญหา คอรัปชั่น , ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน , ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจ , ยุทธศาสตร การพัฒนาดานสังคม การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม , ยุทธศาสตรการพัฒนาดานความมั่นคง การเมือง การมี สวนรวม , ยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ,ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเทคโนโลยี สารสนเทศ , ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการทองเที่ยว ดังนี้

ผลการนําแผนพัฒนาสามป (พ.ศ.2549 – 2551) ไปปฏิบัติ 2.3.1 จํานวนโครงการ ในการพัฒนาทั้ง 10 ยุทธศาสตร โครงการตามแผนพัฒนาเทศบาลสามป (พ.ศ.2549 - 2551) ของเทศบาลตําบลสันมหาพน ประจําป พ.ศ.2549 มีทั้งหมด 176 โครงการที่ไดรับการจัดสรรงบประมาณ เพื่อดําเนินการ และไดรับเงินอุดหนุนเพื่อดําเนินการ จํานวน 95 โครงการ คิดเปนรอยละ 53.98 ของ โครงการในแผนพัฒนาทั้งหมด 0

-36ในจํ านวนโครงการที่ดําเนินการทั้งหมดนั้น ยุทธศาสตร การพั ฒนาดานสั งคม การศึ กษา ศาสนาและวัฒนธรรม จํานวนโครงการมากที่สุด 40 โครงการ คิดเปนรอยละ 23.30 ของจํานวน 112 โครงการ ที่ ดํ า เนิ น การจริ ง อั น ดั บ ที่ 2 คื อ ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาด า นโครงสร า งพื้ น ฐาน มี จํ า นวนโครงการ 31 โครงการ คิดเปนรอยละ 27.68 และยุทธศาสตรการพัฒนาดานสังคม การเมือง การมีสวนรวม มีจํานวน โครงการ 31 โครงการเทากัน อันดับที่ 3 คือยุทธศาสตรการพัฒนาดานปองกันแกไขปญหายาเสพติด มี จํ า นวนโครงการ 6 โครงการ คิ ด เป น ร อ ยละ 5.36 อั น ดั บ ที่ 4 คื อ ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาด า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีจํานวนโครงการ 5 โครงการ คิดเปนรอยละ 4.46 อันดับที่ 5 คือ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศ มีจํานวนโครงการ 4 โครงการ คิดเปนรอยละ 3.57 อันดับที่ 6 คือยุทธศาสตรการพัฒนาดานแกไขปญหาความยากจน มีจํานวนโครงการ 2 โครงการ คิดเปน รอยละ 1.79 อันดับที่ 7 คือยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจ มีจํานวนโครงการ 1 โครงการ คิดเปน รอยละ 0.9 และโครงการยุทธศาสตรการพัฒนาดานแกไขปญหาคอรัปชั่นและยุทธศาสตรการพัฒนาดาน การทองเที่ยว มีนอยที่สุด 0 โครงการ คิดเปนรอยละ 0 ของจํานวนโครงการทั้งหมด ที่ดําเนินการจริง รายละเอียดปรากฏดังตารางนี้ ตารางแสดงผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาสามป (พ.ศ.2549 – 2551) ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2549

ยุทธศาสตร ยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรที่ 4 ยุทธศาสตรที่ 5 ยุทธศาสตรที่ 6 ยุทธศาสตรที่ 7 ยุทธศาสตรที่ 8 ยุทธศาสตรที่ 9 ยุทธศาสตรที่10 รวม

จํานวนโครงการ จํานวนโครงการที่ งบประมาณ ที่ดําเนินการ ไมไดดําเนินการ รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน 1 0.57 31,712 0.04 9 5.11 6 3.41 519,542 0.59 2 1.14 2 1.14 52,500 0.06 0 0.00 14 7.95 7,387,452 8.40 12 6.82 2 1.14 220,000 0.25 7 3.98 40 23.30 9,056,725 10.32 21 11.36 18 10.23 6,417,959 7.30 18 10.23 6 3.41 580,800 0.66 8 4.55 5 2.84 327,857 0.37 3 1.70 1 0.57 220,000 0.25 1 0.57 95 53.98 24,814,547 28.23 81 46.02

งบประมาณ จํานวน 638,288 280,458 -10,280 21,387,248 425,000 22,436,775 6,480,541 8,942,200 2,212,143 350,000 63,142,373

รวม

รอยละ โครงการ งบฯ 0.73 10 670,000 0.32 8 800,000 -0.01 2 42,220 24.32 26 28,774,700 0.48 9 645,000 25.49 61 31,493,500 7.37 36 12,898,500 10.17 14 9,523,000 2.52 8 2,540,000 0.40 2 570,000 71.77 176 87,956,920

-37-

2.3.2 งบประมาณ ในจํานวนโครงการในแผนพัฒนาเทศบาล ป 2549 มีจํานวน 176 โครงการ คิดเปน จํานวนงบประมาณที่เสนอในแผนทั้งหมด 87,956,920.-บาท ซึ่งเมื่อหัก 5 โครงการที่เสนอขอเงินอุดหนุน รวม 24,150,000.-บาทออก แลวจะเหลือเปนงบประมาณของเทศบาลเอง 63,806,920.-บาท การนํางบประมาณไปดําเนินการในปงบประมาณ พ.ศ. 2549 นัน้ คิดเปนงบประมาณที่ใช จริงทั้งหมด 24,814,547.-บาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 38.89 ของงบประมาณ 63,806,920.-บาท ในจํานวน งบประมาณทีด่ ําเนินการจริงทั้งหมดนัน้ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานสังคม การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มี งบประมาณมากที่สุด 9,056,725.-บาท คิดเปนรอยละ 36.50 ของจํานวนงบประมาณ 24,814,547.-บาท รองลงมาคือ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน มีจํานวนงบประมาณ 7,387,452.-บาท คิดเปน รอยละ 29.77 และยุทธศาสตรการพัฒนาดานความมัน่ คง การเมืองการมีสวนรวม มีจํานวนงบประมาณ 6,417,959.-บาท คิดเปนรอยละ 25.86 ตารางสรุปประเด็นหลักในการพัฒนา ตอสาเหตุของปญหา - ดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และ โครงสรางพื้นฐาน - ดานเศรษฐกิจ

ตอศักยภาพ ตอนโยบายทองถิ่น ตอนโยบายแหงรัฐ -ดานทรัพยากรธรรมชาติ - ดานการบริหารจัดการ - ดานคุณภาพชีวิต และสิง่ แวดลอม - ดานวัฒนธรรม บานเมืองที่ดี  ญา - ดานความปลอดภัยใน ประเพณี ภูมิปญ ทองถิ่น และจริยธรรม ชีวิตและทรัพยสิน ของประชาชน และการมีสวนรวม ของชุมชน

ทั้งนี้ ในการจัดทําแผนไดอิงแนวคิดหลักของการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นในเชิงยุทธศาสตร ซึ่ง ประกอบดวย 4 แนวคิด คือ (1) กระบวนการแกไขปญหา ในกระบวนการนี้เพื่อตอบคําถามอยางเปนขั้นเปนตอน ดังนี้ - ปญหาคืออะไร - ปญหามีสาเหตุมาจากอะไร - จุดมุงหมายหรือวัตถุประสงคในการแกไขปญหาคืออะไร - วิธีการหรือแนวทางแกไขปญหาคืออะไร

-38(2) กระบวนการและเนื้อหาของวิธีการ แนวคิดนี้เพื่อนํามาใชในการกําหนดโครงการที่จะแกไขปญหาที่เกิดขึน้ โดยจะตองตอบ คําถามที่จะนําไปสูการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ ดังนี้ - จะทําไปทําไม - จะทําที่ไหน - จะทําอะไร - จะทําเมื่อไร - จะทําโดยใคร - จะทําเพื่อใคร - จะทําอยางไร - จะใชจายเทาไร (3) ความคิดสรางสรรค เปนการมองอนาคตที่ตองเรียนรูจากประสบการณจากขอเท็จจริงที่เกิดขึน้ หรือจากผูอนื่ หรือ จากการวิเคราะหสถานการณและสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกองคกร (4) การตัดสินใจ การตัดสินใจจะตองดําเนินการภายใตการวิเคราะหขอมูลและความมีตรรกะ หรือความเปน เหตุเปนผล โดยมุงการบรรลุวัตถุประสงคของการพัฒนาและประโยชนของประชาชนในทองถิ่นเปนสําคัญ จากแนวคิดและหลักการพื้นฐานดังกลาวขางตน เทศบาลตําบลสันมหาพนไดจัดทําแผน ยุทธศาสตรการพัฒนานี้ขึ้น โดยมุงเนนผลที่จะเกิดเปนตัวตั้ง (ผลลัพธ) และแนวทางที่จะทํางานออกมาเปน ผลผลิตของโครงการ รวมทั้งวิธีการที่จะทําใหงานนัน้ เสร็จและมีประสิทธิภาพ (กระบวนการ) ภายใตการจัดสรร ทรัพยากรที่มปี ระสิทธิภาพและสามารถบริหารไดอยางเหมาะสม อยางไรก็ตาม นอกจากแนวคิดและหลักการพัฒนาดังกลาวขางตนแลว ในการวางแผน จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาของเทศบาลตําบลสันมหาพนไดคํานึงถึงแนวทางในการจัดทําแผนทีจ่ ะตอง สอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล ซึ่งรวมถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่10 นโยบายของ รัฐบาล นโยบายกระทรวงมหาดไทย แผนพัฒนาจังหวัด แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคการบริหารสวน จังหวัด และการพัฒนาตามนโยบายของผูบริหารเทศบาลตําบลสันมหาพน ตลอดจนผลการพัฒนาใน แผนพัฒนาที่ผา นมา

2.4 ปจจัยและสถานการณการเปลีย่ นแปลงทีม่ ผี ลตอการพัฒนาเทศบาล สถานการณและสิ่งแวดลอมภายนอกทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม เทคโนโลยี นโยบาย ของรั ฐ บาล ฯลฯ ล ว นเป น ป จ จั ย และสถานการณ ที่ มี ผ ลต อ การพั ฒ นาเทศบาล เนื่ อ งจากอาจมี ก าร เปลี่ยนแปลงซึ่งเปนขอจํากัดที่ไมสามารถควบคุมได เพราะปจจัยภายนอกบางอยางเหลานี้ยากแกการทํานาย และคาดการณ ในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน ไดมีการจัดประชุมอยางนอย 2 ครั้ง เพื่อเปนการระดมความคิดและกระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในหลายๆ ฝายที่เกี่ยวของกับ การพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน

-39การจัดประชุมที่ผานมามีดังนี้ ครั้งที่ 1 เปนการจัดประชุมประชาคมเมืองของเทศบาลตําบล สันมหาพน เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 22 ธันวาคม 2548 ณ สํานักงานเทศบาลตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อคัดเลือกผูแทนประชาคมเมืองรวมเปนคณะกรรมการตางๆ ในการ จัดทําแผนพัฒนาเทศบาล และรวบรวมประเด็นปญหา สาเหตุของปญหาและความตองการของประชาชนใน การแกไขปญหาในดานตางๆ ซึ่งประกอบดวย ดานโครงสรางพื้นฐาน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และความ ตองการของประชาคมในดานอื่นๆ การจัดประชุมครั้งที่ 2 เปนการจัดเวทีประชาคมหมูบาน จํานวน 12 หมูบาน ระหวางวันที่ 26 มีนาคม – 10 เมษายน 2550 โดยคณะผูบริหารเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล พนักงานเทศบาลระดับหัวหนาฝาย บริหารงานทุกกอง รวมออกเวทีประชาคมเพื่อรับทราบปญหาความตองการ แนวทางการพัฒนาจากฐานราก คือ ภาคประชาชน พรอมทั้งเปนการชี้แจงทําความเขาใจ เกี่ยวกับบทบาทหนาที่การมีสวนรวมของชุมชนในการ จัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น เพื่อเปนการสงเสริมประชาธิปไตยใหแกประชาชนในชุมชน ปญหาและความตองการของประชาชนในเทศบาลตําบลสันมหาพน ผลการประชุมทั้ง 2 ครั้ง เพื่อระดมความคิดเห็น ประเด็นปญหา และความตองการของ ประชาชนในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพนที่ผานมา สามารถสรุปประเด็นปญหาและความตองการของประชาชน ในเขตเทศบาลตําบลสันมหาพนในภาพรวมทั้งเทศบาลและจําแนกเปนประเด็นหลักในการพัฒนา 7 ดาน ดังนี้ 2.4.1 ดานคุณภาพชีวิต 2.4.2 ดานเศรษฐกิจ 2.4.3 ดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสรางพื้นฐาน 2.4.4 ดานวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น 2.4.5 ดานความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน การมีสวนรวมของชุมชน 2.4.6 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2.4.7 ดานการบริการจัดการบานเมืองที่ดี ซึ่งแสดงรายละเอียด ดังตารางตอไปนี้

2.4.1 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานคุณภาพชีวิต ลําดับ ที่ 1

ปญหา/ความตองการ

สถานที่

ปญหาการศึกษายังพัฒนา

12 หมูบาน

ประสิทธิภาพและคุณภาพ

ในเขตเทศบาล

ไมดีเทาที่ควร

สาเหตุ

แนวทางแกไข

1) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลบริการดูแลเด็กเล็กโดย เสียคาใชจายนอยเพื่อเปนสวัสดิการแกประชาชน จึงขาด งบประมาณในการพัฒนาการเรียนการสอน 2) งบประมาณในดานการพัฒนาการศึกษาของเทศบาล มีจํากัด แตจํานวนเด็กเล็กในศูนยมีจํานวนมาก

1) พัฒนาวัสดุ อุปกรณ สื่อการเรียนการสอนใหทันสมัย 2) สนับสนุนทุนการศึกษาแกเด็กนักเรียนที่มีฐานะยากจน 3) พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาของเทศบาลใหได

ไมเต็มที่ หรือไมมีกําลังสงเสียใหเรียนในระดับสูงๆ

4) สนับสนุนการจัดการศึกษาของโรงเรียนในเขตเทศบาล

ศึกษาที่มีวุฒิการศึกษาดานดูแลเด็กเล็กและประถมวัย 6) บุคลากรทางการศึกษาของเทศบาลไมไดรับการฝกอบรม และพัฒนาศักยภาพเทาที่ควร สอดคลอง และรวมกันเพื่อพัฒนาการศึกษาอยางแทจริง 8) อุปกรณ สื่อการเรียนการสอนคุณภาพต่ําไมตรงกับ ความตองการของโรงเรียนและไมเพียงพอตอการ พัฒนาการศึกษา -40-

50,000.-บาท 300,000.-บาท

และประสานงานรวมกันในการพัฒนาการศึกษา 5) สนับสนุนโภชนาการที่สมบูรณแกเด็กและเยาวชนทั้ง

3,000,000.-บาท

ในศูนยพัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน พรอมทั้งพัฒนา ทางดานอารมณ จิตใจ ใหสมบูรณไปพรอมกัน 6) สงเสริมใหผูดูแลเด็กศึกษาตอในดานการดูแลเด็กและ

7) การจัดการศึกษาของรัฐ ทองถิ่น และเอกชนยังไมมีความ

100,000.-บาท

และมีความประพฤติดี มาตรฐาน และจัดใหมีการติดตามประเมินผลผูดูแลเด็ก

5) เทศบาลมีงบประมาณจํากัดในการจางบุคลากรดานการ

100,000.-บาท

ไดมาตรฐานและเพียงพอตอความตองการของเด็ก

3) ครัวเรือนมีฐานะยากจน สงเสียใหบุตรหลานเรียนได 4) อาคารสถานที่ไมเพียงพอกับจํานวนเด็กในศูนยฯ

งบประมาณ

200,000.-บาท

ประถมวัยเพื่อดูแลเด็กเล็กใหมีพัฒนาที่เหมาะสมกับวัย 7) ประสานงานหาความชวยเหลือใหแกเด็กและเยาวชน

-

ที่มีฐานะยากจน แตเรียนดี มีความประพฤติดี 8) จัดตั้งศูนยพัฒนาเด็กเล็กมาตรฐานใหไดในเขตเทศบาล

12,000,000.-บาท

2.4.1 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานคุณภาพชีวิต ลําดับ ที่ 2

ปญหา/ความตองการ

สถานที่

เด็กและเยาวชนในเขตเทศบาล

12 หมูบาน

ขาดสถานที่เพื่อการนันทนาการ

ในเขตเทศบาล

กีฬา และการพักผอนหยอนใจ เด็กและเยาวชนประพฤติตนไม พึงประสงคในสังคม

สาเหตุ

แนวทางแกไข

1) สถานที่เพื่อกิจกรรมการออกกําลังกายและนันทนาการ สนามกีฬา เพื่อใหบริการแกเยาวชน ประชาชน ยังไมเพียงพอ 2) เด็กและเยาวชนไมสนใจการออกกําลังกาย เลนกีฬา หันไปเสพยาเสพติด มั่วสุมสิ่งมึนเมา ทําใหเด็กขาดความอบอุน ความดูแลเอาใจใส จากครอบครัว และไมมีความพรอมในการศึกษา 4) เยาวชนขาดงบประมาณและกิจกรรมที่สงเสริม การพัฒนาการทางดานรางกาย สติปญญา และอารมณ

ปญหาการขาดการสงเสริมการ ศึกษานอกระบบและการจัดแหลง เรียนรูแกประชาชนทุกระดับ

1) ชุมชนไมมีงบประมาณและสถานที่สําหรับเปนแหลง เรียนรูที่ดีแกเยาวชน ประชาชนทั่วไป

4

ปญหาดานสาธารณสุขและ การรักษาพยาบาลสงผลให ประชาชนมีสุขภาพอนามัย ไมสมบูรณ

1) ประชาชนขาดความรู ความเขาใจในการดูแลสุขภาพ อนามัยเบื้องตนของตนเอง และครอบครัว 2) การแพรระบาดของสัตวพาหนะนําโรค เชน ยุงลาย แมลงวัน ทําใหเกิดโรคระบาด

3) สงเสริมการจัดกิจกรรมที่สานสัมพันธในครอบครัว

100,000.-บาท

4) สงเสริมใหเด็กและเยาวชนประกอบอาชีพเสริมเพื่อชวย

100,000.-บาท

เหลือครอบครัวและรูจักรับผิดชอบ 5) รณรงคใหประชาชน โดยเฉพาะบิดา มารดา ผูปกครอง

-

ในชุมชนเห็นความสําคัญของการออกกําลังการและการ นันทนาการของเยาวชน 1) จัดตั้งแหลงเรียนรูของเยาวชน และบุคคลทั่วไปที่สนใจ

-

พัฒนาดานตนเอง 50,000.-บาท

แกศูนยเรียนรูชุมชน หองสมุดชุมชน 1) จัดโครงการสาธารณสุขเคลื่อนที่ เพื่อใหคําแนะนําใน

200,000.-บาท

การดูแลรักษาสุขภาพและสนับสนุนยาสามัญประจําบาน 2) รณรงค ปองกันและกําจัดสัตวพาหนะนําโรง ตาง ๆ 3) ประสานงานกับหนวยงานตางๆ ดานสุขอนามัยเบื้องตน

-41-

120,000.-บาท

เยาวชนไดมีกิจกรรมดานกีฬาและนันทนาการ

2) ชุมชนขาดวัสดุ อุปกรณ สือ่ สิ่งพิมพตางๆ ที่เปนแหลง 2) สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ สื่อสิ่งพิมพ และสิ่งจําเปนอื่น ศึกษาหาความรูทางวิชาการ ทางสังคมและอื่นๆ

150,000.-บาท

ออกที่ถูกตองใหเด็กและเยาวชนได 2) สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ งบประมาณ เพื่อใหเด็กและ

3) เด็กและเยาวชนมีปญหาครอบครัว พอแมมีรายไดนอย

3

1) จัดกิจกรรมดานกีฬาและนันทนาการ เพื่อเปนทางแสดง

งบประมาณ

200,000.-บาท -

2.4.1 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานคุณภาพชีวิต ลําดับ ที่ 4

ปญหา/ความตองการ

สถานที่

ปญหาดานสาธารณสุขและการ

12 หมูบาน

รักษาพยาบาลสงผลใหประชาชน

ในเขตเทศบาล

มีสุขภาพอนามัยไมสมบูรณ

สาเหตุ

แนวทางแกไข

3) การบริโภคอาหารที่ไมสะอาด ไมถูกสุขลักษณะ และ ผูประกอบการรานคายังไมใหความสําคัญสุขลักษณใน ในการประกอบและจําหนายอาหาร การพักผอนที่เพียงพอ และการบริหารความเครียด 5) ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอมในบานและชุมชน เชน ขยะหมักหมม น้ําขัง น้ําเนาเสีย และหญารก 6) ไมมีศูนยบริการใหคําปรึกษา 8) กลุมดอยโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม และแรงงาน ตางดาว ไมสามารถดูแลสุขภาพเบื้องตนแกตนเองได

การบริโภคฟุงเฟอบริโภคเกินตัว และยึดติดในอบายมุข

50,000.-บาท

และสรางแรงจูงใจในการเปนผูประกอบการมาตรฐาน 6) รณรงคจิตสํานึกในการดูแลสิ่งแวดลอมภายในบานและ

-

ชุมชน 7) กอสรางสวนสาธารณะและสถานที่พักผอนหยอนใจ

700,000.-บาท

ภายในชุมชน

7) มีสถานที่พักผอนหยอนใจไมเพียงพอ

ปญหาประชาชนมีพฤติกรรม

-

ผูประกอบการรานคา และการจําหนายอาหาร 5) อบรมใหความรูดานสุขลักษณะที่ดี แกผูประกอบการ

4) ประชาชนไมใหความสําคัญกับการออกกําลังกาย

5

4) ประสานงานกับหนวยงานตางๆ เพื่อตรวจสอบคุณภาพ

งบประมาณ

1) ประชาชนขาดความรู ความเขาใจที่ถูกตอง จึงเชื่อถือ โฆษณาชวนเชื่อทางสื่อตางๆ ในการตัดสินใจบริโภค 2) พฤติกรรมลอกเลียนแบบของประชาชน เยาวชน จากสื่อ 3) ประชาชนมีความเชื่อที่ผิดในการกูหนี้ยืมสิน

8) จัดตั้งศูนยบริการสาธารณสุขเทศบาลเพื่อใหบริการ

-

ประชาชน และรับเรื่องราวรองเรียน รองทุกข ดาน ปญหาสาธารณสุข ทั้งขยะ น้ําเนาเสีย สัตวนําโรค ฯลฯ 1) จัดกิจกรรมรณรงคคานิยม "เศรษฐกิจพอเพีย" ให

10,000.-บาท

ประชาชนรูจักความพอดี ตัดสินใจบริโภคจากความ จําเปน 2) จัดอบรมเกี่ยวกับแนว ทฤษฏีเศรษฐกิจพอเพียงแกเยาวชน

10,000-บาท

ผูนําชุมชน และกลุมตางๆ 3) ใหความรู ประชาสัมพันธเพื่อปลูกฝงคานิยมที่ถูก -42-

-

2.4.1 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานคุณภาพชีวิต ลําดับ ที่ 6

ปญหา/ความตองการ

สถานที่

ปญหาผูดอยโอกาสไมไดรับ

12 หมูบาน

การดูแลสงเคราะหและไมมี

ในเขตเทศบาล

อาชีพเพื่อหารายไดประทังชีวิต

สาเหตุ

แนวทางแกไข

1) จํานวนผูสูงอายุ ผูพิการ ผูติดเชื้อในเขตเทศบาลมีมาก กวา 500 ราย เทศบาลจัดสรรงบประมาณชวยเหลือ เบี้ยยังชีพไดไมทั่วถึง

งบประมาณ

1) สนับสนุนเบี้ยยังชีพผูดอยโอกาสในเขตเทศบาล

5,000,000.-บาท

2) สนับสนุน สงเสริมการประกอบอาชีพของกลุมผู

300,000.-บาท

ดอยโอกาส ใหมีรายไดเสริม

2) ผูดอยโอกาสในเขตเทศบาลไมไดประกอบอาชีพ เนื่อง

3) จัดกิจกรรมสงเสริมความสําคัญของผูสูงอายุ

จากไมมีความรู ไมมีทุนประกอบ และไมมีวัสดุอุปกรณ 4) ใหความชวยเหลือวัสดุ อุปกรณ สิ่งของ แกผูดอยโอกาส

100,000.-บาท 300,000.-บาท

3) ผูดอยโอกาสไมมีญาติพี่นองดูแล และไมมีที่อยูอาศัย หรือมีแตชํารุดทรุดโทรม 7

ปญหาความสะอาดและความ

1) เจาหนาที่ของรัฐบาลขาดการเอาใจใสในการดูแลและ

เปนระเบียบเรียบรอยของเมือง

ควบคุมใหเปนไปตามกฎหมาย ทําใหมีการตอเติม

และแหลงเสื่อมโทรม

ติดตั้ง วางสินคารุกล้ําทางเทา ถนน เปนตน

1) จัดทําปายประชาสัมพันธหามการตั้งสินคาบนทางเทา และจัดใหมีเจาหนาที่ควบคุมดูแล 2) รณรงค ปลูกจิตสํานึกในการคํานึงถึงประโยชนสวนรวม

2) ประชาชนยังไมเห็นแกประโยชนสวนรวมแสวงหากําไร 3) จัดโครงการประกวด "หนาบาน นามอง" ในวัน รายไดผลประโยชนโดยไมคํานึง ระเบียบขอบังคับ กฎหมาย ที่ดีเพื่อจูงใจใหผูอื่นทําตาม ตากผา วัสดุ บนถนน ทางเทา จนเปนที่เกะกะ กีดขวางทางเขา-ออก

-

ตั้งวางสิ่งของบนทางเทา 6) เทศบาลจัดสงหนังสือแจงใหเจาของพื้นที่รกรางวางเปลา จัดการดูแลสถานที่ใหเรียบรอย หากไมดําเนินการ เทศบาลสามารถเขาดําเนินการไดตามที่กฎหมายกําหนด

-43-

10,000.-บาท

สถานที่ราชการใหเปนระเบียบเรียบรอยเปนตัวอยางที่ดี 5) ใหมีการเทียบปรับผูที่ทิ้งขยะไมเปนที่ และผูที่รุกล้ํา

4) สภาพถนนในชุมชนแคบ ทําใหมีการรุกล้ําตั้งวาง

-

สําคัญตาง ๆ 4) แจงเวียนใหหนวยงานภาครัฐ จัดตกแตงบริเวณหนา

3) เจาของอาคารทั้งของรัฐและเอกชนไมคอยสรางตัวอยาง

6,000.-บาท

-

2.4.1 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานคุณภาพชีวิต ลําดับ ที่

ปญหา/ความตองการ

สถานที่

8

ปญหาความสะอาดและความเปน

12 หมูบาน

ระเบียบเรียบรอยของเมือง และ

ในเขตเทศบาล

แหลงเสื่อมโทรม

สาเหตุ

แนวทางแกไข

5) เอาใจใสดูแลและเก็บกวาดบริเวณที่รับผิดชอบทําให มีขยะเกลื่อนหลังจากการเลิกตลาดเปนภาระของเทศบาล

6) รณรงคใหชุมชนรวมกันพัฒนาแหลงเสื่อมโทรมใน

งบประมาณ -

ชุมชน และจัดใชใหเปนประโยชน

6) พื้นที่บางแหงคนนอกพื้นที่ซื้อและปลอยใหรกรางหรือ เปนแหลงมั่วสุม

9

ปญหาการแพรระบาดของ ยาเสพติด

1) ครอบครัวขาดการเอาใจใสดูแลบุตรหลาน เนื่องจากการ 1) สงเสริมใหเยาวชนไดรับการศึกษาในระดับสูง ทํางาน

2) ปลูกฝงจริยธรรมและคุณธรรม

2) ชุมชนขาดความตื่นตัวในการติดตามและประเมิน สถานการณของปญหายาเสพติด

3) จัดใหมีกิจกรรม การแขงขัน การประกวดตางๆ ของ

100,000.-บาท

เยาวชนเพื่อใหใชเวลาวางใหเปนประโยชน

3) กลุมผูวางงาน หรือเยาวชนมีเวลาวาง ไมมีกิจกรรมหรือ 4) รณรงคใหชุมชนเห็นความสําคัญของปญหายาเสพติด สิ่งชักจูงที่ดี จึงมั่วสุมเสพยาเสพติด

5) สงเสริมการมีงานทําของเยาวชน ใหใชเวลาวางใหเปน

50,000.-บาท 100,000.-บาท

เปนโยชน และหารายไดเสริม สรางความรูรับผิดชอบ 6) ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของจัดการปองกัน บําบัด และติดตามประเมินสถานการณยาเสพติด

-44-

-

2.4.2 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานเศรษฐกิจทองถิ่น ลําดับ ที่ 1

ปญหา/ความตองการ ประชาชนมีรายไดไมเพียงพอ ตอการครองชีพ

สถานที่ 12 หมูบาน

สาเหตุ

แนวทางแกไข

1) ครัวเรือนประกอบอาชีพการเกษตรเพียงอยางเดียว

ในเขตเทศบาล 2) ไมมีเงินทุนสําหรับประกอบอาชีพเพิ่มเติม 3) ไมมีความรูและเทคนิคในการประกอบอาชีพ 4) พืชผลทางการเกษตรราคาตกต่ํา แตตนทุนการผลิตสูง 5) ไมมีตลาดที่เปนศูนยกลางการจําหนายสินคาและบริการ

1) ฝกอบรมเทคนิคการประกอบอาชีพตางๆ ทั้งทางดาน 2) จัดตั้งและพัฒนากลุมอาชีพ โดยการใหทุนสนับสนุน 3) สงเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน พรอมพัฒนาผูนํา

7) ประชาชนมีหนี้สินทั้งในระบบและนอกระบบมาก

มีความเขมแข็งสามารถยืนบนลําแขงตนเองได 4) สงเสริมใหมีรานคาชุมชน และปลูกจิตสํานึก รณรงค

และสายแมมาลัย - ปาย ใหเปนจุดจําหนายของที่ระลึก

11) ประชาชนในชุมชนไมชวยกันสงเสริมผลิตภัณฑของ ชุมชนเอง

-45-

120,000.-บาท

-

ใหคนในชุมชนบริโภคสินคาของกลุมที่ผลิตในทองถิ่น

10) คุณภาพผลิตภัณฑชุมชนไมไดมาตรฐาน บรรจุภัณฑไม 5) พัฒนาจุดแวะพักทองเที่ยวบนเสนทางสาย ชม.-ฝาง นาสนใจ

120,000.-บาท

สําหรับหมุนเวียนและเพิ่มศักยภาพของกลุม กลุมตางๆ ดานการบริหารจัดการ การตลาด เพื่อใหกลุม

9) กลุมอาชีพหาตลาดจําหนายสินคาไมได

100,000.-บาท

การเกษตร การแปรรูป การเพิ่มมูลคาสินคาผลิตภัณฑ

6) ประชาชนมีคานิยมในการบริโภคที่ผิด 8) กลุมอาชีพขาดศักยภาพดานการจัดการ บริการงานกลุม

งบประมาณ

เพื่อใหสินคาชุมชนมีที่จําหนาย

7,000,000.-บาท

2.4.3 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสรางพืน้ ฐาน ลําดับ ที่ 1

ปญหา/ความตองการ ปญหาการสัญจรคมนาคมภาย ในหมูบานไมสะดวก การเดิน ทางสัญจร และการขนสงพืชผล การเกษตรมีความยากลําบาก

สถานที่ 12 หมูบาน

สาเหตุ

แนวทางแกไข

1) ถนนหลายสายเปนดินลูกรัง หรือถนนดิน

ในเขตเทศบาล 2) ถนนบางสายผิวจราจรชํารุด เปนหลุมเปนบอ 3) พื้นที่การเกษตรหลายแหงไมมีถนนสําหรับขนพืชผล ทางการเกษตร 4) ไมมีสะพานเชื่อมตอระหวางหมูบาน ภายในหมูบาน หรือมีแตคับแคบ ชํารุด

1) ปรับปรุงเสนทางคมนาคม ที่ใชสัญจรไปมา ดวยการถม

งบประมาณ 5,000,000.-บาท

ดินลูกรัง หินคลุม กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก กอสรางถนนลาดยางแอสฟสติก หรือ OVER LAY ถนน 2) ปรับปรุงหรือขยายไหลทาง ทางเทา

500,000.-บาท

3) ปรับปรุง ขยายหรือกอสรางสะพานคอนกรีต หรือทอ

500,000.-บาท

ลอดเหลี่ยม

5) ถนนไมมีไหลทาง หรือมีแตคับแคบไมไดมาตรฐาน

4) ติดตั้งปายชื่อหมูบาน ปายแสดงสถานที่ราชการ ปายซอย

500,000.-บาท

1) ปรับปรุง กอสรางรางระบายน้ํา พรอมที่พักน้ํา

200,000.-บาท

ไมมีทางเทา และศาลาที่พักริมทาง 6) ถนนไมมีทางระบายน้ํา ทําใหน้ําทวมนองบนผิวถนน 7) ไมมีปายแสดงสถานที่ ปายซอย ปายจราจร 2

ปญหาการขาดแคลนน้ําสําหรับ

1) ลําเหมืองเปนดิน ทําใหการไหลของน้ําชา และซึมเร็ว

อุปโภค บริโภคและน้ําสําหรับ

2) ลําเหมือง รางระบายน้ําตื้นเขิน ขาดการบํารุกรักษา ดูแล 2) ปรับปรุง กอสรางดาดลําเหลือคอนกรีตเสริมเหล็ก 3) ลําเหมืองชํารุด หรือไมไดมาตรฐาน สงน้ําไดไม เพียงพอ 3) ขยายเขตใหบริการประปา กอสรางและซอมแซมระบบ

ทําการเกษตร

4) ไมมีสถานีสูบน้ําเพื่อการเกษตร

200,000.-บาท 500,000.-บาท

ประปาหมูบาน

5) ไมมีแหลงกักเก็บน้ํา หรืออุปกรณกักเก็บน้ํา 6) หลายพื้นที่ไมมีระบบประปาสําหรับอุปโภค บริโภค หรือมีแตชํารุด ไมไดมาตรฐาน หรือขาดแคลนน้ําตนทุน การผลิต ไมสามารถใหบริการประชาชนไดอยางทั่วถึง -46-

4) สนับสนุนอุปกรณกักเก็บน้ํา สถานีสูบน้ําและน้ํามัน เชื้อเพลิง

100,000.-บาท

2.4.3 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสรางพืน้ ฐาน ลําดับ ที่ 3

ปญหา/ความตองการ ปญหาน้ําทวมขัง น้ําปาหลาก ทวมบานเรือนและตลิ่งพังทลาย

สถานที่ 12 หมูบาน

สาเหตุ

แนวทางแกไข

1) ทางระบายน้ําอุดตัน คับแคบ หรือชํารุด ไมเพียงพอ

งบประมาณ

1) ปรับปรุง กอสราง ระบบระบายน้ําใหคลองตัว

100,000.-บาท

2) ขุดลอกลําเหมือง ลําหวย

100,000.-บาท

3) กอสรางพนังกันตลิ่ง

500,000.-บาท

1) บางหมูบานไมมีเมรุปาชา ตองใชรวมกับหมูบานอื่น

1) กอสราง ปรับปรุงเมรุปาชา ศาลาปาชา

500,000.-บาท

2) ไมมีศาลาปาชา หรือมี แตคับแคบ ชํารุด

2) กอสรางกําแพงปาชา

100,000.-บาท

3) ปาชาติดหรือใกลบริเวณบานเรือน ชุมชน

3) กอสราง ปรับปรุงลานอเนกประสงคปาชา

100,000.-บาท

1) ออกสํารวจครัวเรือนไมมีไฟฟาใชและขยายเขตไฟฟา

200,000.-บาท

ในเขตเทศบาล 2) ไมมีประตูระบายน้ํา หรือมีแตชํารุดไมไดมาตรฐาน

น้ํากัดเซาะบานเรือนและ

3) ไมมีทางไหลของน้ําปา แหลงพักน้ํา หรือชลอแรงน้ํา

น้ําขังเนาเสีย

4) ฤดูฝนน้ําหลากและตลิ่งริมแมน้ําไมมีสิ่งชลอแรงน้ํา 4) สภาพพื้นที่บางแหงเปนที่ลุม บางแหงติดริมน้ําแมปง ลําน้ําแมแตง และบางแหงอยูติดเนินเขา

4

ปญหาสถานที่เพื่อณาปนกิจ

4) ปาชาเปนที่ต่ํา น้ําขังฤดูฝน พื้นผิวเปนหลุมเปนบอ 5

ปญหาไฟฟาแสงสวางไม

1) พื้นที่หลายแหงการไฟฟาสวนภูมิภาคขยายเขตไมถึง

เพียงพอ

2) พื้นที่บางแหงมีครัวเรือนนอยกวา 5 ครัวเรือน 3) ถนนบางสายยังไมไดพาดสายดับ จึงไมสามารถติดตั้ง ไฟกิ่งสาธารณะ 4) คาไฟฟาสาธารณะภายในเขตเทศบาลเกินรอยละ 5 ของ จํานวนยอดการใชไฟฟาครัวเรือนภายในเขตเทศบาล -47-

พรอมพาดสายดับ ติดตั้งไฟกิ่งสาธารณะ

2.4.4 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่นและคุณธรรมจริยธรรมประชาชน ลําดับ ที่ 1

ปญหา/ความตองการ ปญหาการเสื่อมถอยของ วัฒนธรรมทองถิ่นและการจัด กิจกรรมทางศาสนา

สถานที่ 12 หมูบาน

สาเหตุ

แนวทางแกไข

1) ไมมีผูรูดานวัฒนธรรมลานนาอยางแทจริง

1) สงเสริมใหชุมชนรูรักวัฒนธรรมทองถิ่น โดยสนับสนุน

ในเขตเทศบาล 2) เศรษฐกิจตกต่ํา ประชาชนจึงลดความสําคัญของการ

วัสดุอุปกรณ งบประมาณ ใหชุมชนจัดกิจกรรมตาม

สืบทอดประเพณีวัฒนาธรรม

วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นในวันสําคัญตางๆ

3) ชุมชนขาดความรวมมือในการจัดประเพณีทองถิ่น 4) ประชาชนบางสวนทํางานโรงงานหรือบริษัท ไมสามารถ ใหความรวมมือในการอนุรักษประเพณีวัฒนธรรมได

2) จัดใหมีกิจกรรมทั้งดานวัฒนธรรมประเพณีลานนา และ

งบประมาณ 400,000.-บาท

400,000.-บาท

ประเพณีทางศาสนาอยางสม่ําเสมอ และมุงเนนความ เปนอัตลักษณของทองถิ่นสันมหาพน

5) เยาวชนไมใหความสําคัญกับประเพณีวัฒนธรรมและ

2

ปญหาภูมิปญญาทองถิ่นไมได รับการสืบทอด

กิจกรรมทางศาสนา 1) ไมมีงบประมาณสนับสนุนการถายทอดภูมิปญญา ทองถิ่น ใหเยาวชนรุนใหม สืบทอดภูมิปญญาของทองถิ่น

2) รณรงค ปลูกฝงใหประชาชนเห็นความสําคัญของจิตใจ

-

มากกวาวัตถุ

ปญหาการเสื่อมถอยของ

1) ผูใหญไมใหความสําคัญในการสงเสริมใหลูกหลาน

1) จัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหกับเยาวชน

คุณธรรมจริยธรรมของประชาชน

เขาวัดฟงธรรม ปฏิบัติธรรม รักษาศีล 2) ครอบครัวมีแบงเวลาทํากิจกรรม และสอนบุตรหลาน นอย

2) จัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมบุคคลตัวอยางในชุมชน เชน

โดยเฉพาะในเยาวชน

100,000.-บาท

ใหกับเยาวชนและผูสนใจ

2) เยาวชนใหความสําคัญดานเทคโนโลยีมากกวาการ 3

1) สนับสนุนงบประมาณในการสืบสานภูมิปญญาทองถิ่น

ลงเนื่องจากการทํางานที่บีดรัด 4) เยาวชนขาดงบประมาณในการจัดกิจกรรมเปนประโยชน -48-

-

ประกวดครอบครัวตัวอยาง บุคคลตัวอยาง เปนตน 3) จัดกิจกรรมที่สงเสริมความสัมพันธภายในครอบครัว

3) เยาวชนขาดตัวอยางที่ดีในการประกอบคุณความดี

20,000.-บาท

เพื่อสรางอบอุนในสถาบันครอบครัว

-

2.4.5 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานความสงบปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสิน และการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนา ลําดับ ที่ 1

ปญหา/ความตองการ ปญหาและความตองการดาน ความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสิน

สถานที่ 12 หมูบาน ในเขตเทศบาล

สาเหตุ

แนวทางแกไข

1) เทศบาลขาดวัสดุอุปกรณในการปองกันและระงับ อัคคีภัย วาตภัย อุบัติภัย และภัยอื่นๆ 2) เจาหนาที่ดานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยยังขาด ความรู ความเขาใจ ทักษะในการปองกันและบรรเทา สาธารณภัยที่ถูกตอง และรวดเร็ว 3) ประชาชนขาดความรูความเขาใจ และการใสใจใน การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย และไมเห็นถึง ความสําคัญของการมีสวนรวมในการปองกันสาธารณภัย 4) กลุมอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนของเทศบาล ยังขาดทักษะ งบประมาณ และกลุมที่เขมแข็ง 5) ขาดการประสานงานระหวางหนวยงานตางๆ ภาครัฐ เอกชน ประชาชนในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

2

ปญหาและความตองการดาน การสงเสริมประชาธิปไตยและ

1) ชุมชนขาดอาคาร สถานที่ วัสดุ อุปกรณที่จําเปน สําหรับจัดกิจกรรม

การมีสวนรวมของชุมชนในการ

2) ประชาชนขาดความรับผิดชอบตอสวนรวม ความรู

พัฒนาและการจัดกิจกรรมของ

ความเขาใจในบทบาทหนาที่ของตนและระบบการ

ชุมชนเอง

บริหารงานระดับประเทศ และระดับทองถิ่น 3) ชุมชนขาดการประสานงาน และขอมูลที่ถูกตองทันสมัย -49-

งบประมาณ

2.4.6 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ลําดับ ที่ 1

ปญหา/ความตองการ ปญหาการจัดเก็บขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล

สถานที่ 12 หมูบาน ในเขตเทศบาล

สาเหตุ

แนวทางแกไข

1) การบริการจัดเก็บมูลฝอย ถังขยะไมเพียงพอไมได มาตรฐาน ไมมีระบบถังแยกประเภทขยะ

1) รณรงค ประชาสัมพันธ และจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการ คัดแยกขยะกอนทิ้ง

2) ประชาชนขาดจิตสํานึกในการรวมกันรักษาความสะอาด 2) จัดใหมีถังขยะแบบแยกประเภท ความเปนระเบียบเรียบรอย ทําใหการปฏิบัติงานของ พนักงานไดไมเต็มประสิทธิภาพ

เปนชุมชนนาอยู

3) มีการวางของบนถนน ทางเทา จอดรถกีดขวางการ จัดเก็บและการกวาดถนน สะอาด เชน ในหมูบานจัดสรร 5) ชุมชน ทําใหเกิดมีมูลฝอยตกคางเนื่องจากไมไดเก็บกวาด โดยสม่ําเสมอ และมีการนําขยะนอกเขตมาทิ้ง 6) ขาดแคลนบุคลากร ปจจุบันมีปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น แต กรอบอัตราการจางลูกจางมีขอจํากัด จึงไมครอบคลุม พื้นที่ เนื่องจากมีงบประมาณจํากัด ปญหาการคัดแยกและลดปริมาณ ขยะมูลฝอย

4) เทศบาลจัดโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บขยะ 5) เทศบาลสงเสริมการทําจุลินทรีย EM จากของอินทรีย

4) พื้นที่บางสวนยังไมมีผูรับผิดชอบดานการรักษาความ

2

3) รณรงคใหประชาชนรวมกันรักษาความสะอาดเพื่อให

1) การรวบรวมกําจัดมูลฝอยอันตรายยังไมมีการแยก ประเภทการรวบรวมและไมมีวิธีการกําจัดที่ถูกหลัก 2) ขาดการรณรงคและปลูกจิตสํานึกในการคัดแยกกอนทิ้ง และการนําวัสดุกลับมาใชใหม -50-

ใชภายในครัวเรือน เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย

งบประมาณ

2.4.6 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ลําดับ ที่ 3

ปญหา/ความตองการ ปญหาน้ําเสียชุมชน

สถานที่ 12 หมูบาน ในเขตเทศบาล

สาเหตุ

แนวทางแกไข

1) บานเรือนไมมีระบบบําบัดน้ําเสียเบื้องตนกอนปลอย ลงทอสาธารณะ

1) สรางจิตสํานึกในการรักษาสิ่งแวดลอมของบานเรือนและ ของชุมชน

2) มีการกําจัดมูลฝอยไมถูกหลัก ทิ้งลงทอระบายน้ํา คู คลอง 2) ขุดลอกรางระบายน้ํา ทอระบายน้ํา ทําใหแหลงน้ําสกปรก เนาเหม็น อุดตัน เหตุของน้ําทวม 3) ขาดเจาหนาที่ตรวจตราใหเปนไปตามเทศบัญญัติ

3) ใชจุลินทรีย EM ในการบําบัดน้ําเสียตามแหลงตางๆ 4) สรางกลุม หรือองคกร เพื่อรักษาสิ่งแวดลอม

4) ยังไมมีเทศบัญญัติวาดวยการปลอยน้ําเสีย การบําบัด และ คาธรรมเนียมบําบัดน้ําเสีย 5) ขาดการประชาสัมพันธสรางจิตสํานึกสรางกลุม อาสาสมัครในการเฝาระวังอยางตอเนื่อง 4

ปญหาน้ําทวมและตลิ่งทรุดตัว

1) ลําเหมือง ลําหวย คู คลอง หนองน้ํา และแมน้ําตื้นเขิน 1) กอสรางพนักกันตลิ่ง ประตูระบายน้ําในจุดที่จําเปน ทําใหการระบายน้ําชา น้ําทวมหลากเขาบานเรือน 2) ไมมีทางระบายน้ํา ที่พักน้ํา

5

ปญหาภูมิทัศน

2) ขุดลอกหนองน้ํา ลําเหมือง ลําหวย คูคลอง ใหน้ําไหล ระบายไดรวดเร็วขึ้น

3) ไมมีพนังกันตลิ่งทรุดตัว

3) จัดทํา กอสรางทางระบายน้ําเพิ่มเติมในจุดที่จําเปน

1) ที่รกรางวางเปลา ไมไดรับการดูแล

1) ปรับปรุงภูมิทัศนใหสวยงาม ตัดแตงหญาและตนไม

2) ที่สาธารณะไมไดรับการดูแล

2) จัดประดับประดาสถานที่ราชการใหสวยงาม เปนระเบียบ

3) สถานที่ราชการ -51-

งบประมาณ

2.4.7 ปญหาและความตองการของเทศบาลตําบลสันมหาพน ดานการบริหารจัดการบานเมืองทีด่ ี ลําดับ ที่ 1

ปญหา/ความตองการ ปญหาการใหบริการประชาชน

สถานที่

สาเหตุ

แนวทางแกไข

12 หมูบาน

1) เจาหนาที่ขาดวัสดุอุปกรณในการเพิ่มประสิทธิภาพและ

ในเขตเทศบาล

ความรวดเร็วในการใหบริการและบริหารจัดการขอมูล 2) ประชาชนไดรับการบริการไมทั่วถึง 3) เจาหนาที่มีทักษะในการบริหารจัดการ การใหบริการไม เพียงพอตอการเปลี่ยนแปลง 4) ประชาชนขาดความรู ความเขาใจในการมาติดตอรับ บริการและความเขาใจในอํานาจหนาที่ของเทศบาล

2

ปญหาประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลการการปฏิบัติ ราชการ

1) เจาหนาที่ขาดความสามารถดานนวัตกรรมใหมในการ บริหารจัดการ และยังไมไดรับการพัฒนาประสิทธิภาพ 2) ขาดระบบการตรวจสอบความโปรงใสในการบริหารงาน และเผยแพรใหประชาชนทราบ 3) ขาดการสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการตรวจสอบ การ บริหารงานของทองถิ่นเทาที่ควร 4) ขั้นตอนในการปฏิบัติราชการมีความลาชาระเบียบ ลาสมัยและเจาหนามีอํานาจตัดสินใจนอย 5) เจาหนาที่ขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 6) ขาดระบบการประเมินประสิทธิภาพโครงการ และการ ประเมินความพึงพอใจของประชาชนอยางทั่วถึง -52-

งบประมาณ

บทที่ 3 การวิเคราะหศักยภาพการพัฒนาเทศบาล ในบทนี้ ไ ด นํ า หลั ก การและแนวคิ ด ในการวางแผนการพั ฒ นาท องถิ่ น มาวิ เ คราะห ข อ มู ล พื้นฐานเพื่อการพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน ประกอบกับ ปจจัยและสถานการณการเปลี่ยนแปลงที่มีผลตอ การพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพนในอดีตที่ผานมา และนําไปสูการวิเคราะหศักยภาพการพัฒนาเทศบาลตําบล สันมหาพนในอนาคต

3.1 ศักยภาพการพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน เพื่อเปน การจั ด ทํ าแผนยุทธศาสตรการพัฒนา และแผนพัฒนาสามป ของเทศบาลตํ าบล สันมหาพน ที่ประชุมไดระดมความคิดเห็นรวมกันถึงปญหา สาเหตุ และแนวทางแกไขปญหา ตลอดจนวิเคราะห ถึงจุดออน จุดแข็ง โอกาส และขอจํากัดของการพัฒนาภายใตประเด็นหลักในการพัฒนา 7 ดาน คือ 3.1.1 ดานคุณภาพชีวิต 3.1.2 ดานเศรษฐกิจ 3.1.3 ดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสรางพื้นฐาน 3.1.4 ดานประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่นและคุณธรรมจริยธรรมของประชาชน 3.1.5 ดานความสงบปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และการมีสวนรวมของชุมชน 3.1.6 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3.1.7 ดานการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี ผลการระดมความคิดเห็นศักยภาพของเทศบาลตําบลสันมหาพนและศักยภาพในแตละดานการ พัฒนา สรุปแยกประเด็นเปนตาราง ไดดังนี้

-54-

3.2.3 ผลการวิเคราะหผลลัพธที่มุงมัน่ ใหสําเร็จตามประเด็นการพัฒนา จากการประเมินโดยวิเคราะหถึงโอกาส และขอจํากัด อันเปนสภาวะแวดลอมภายนอกที่มีผลตอ การพัฒนาดานตางๆ ของเทศบาลตําบลสันมหาพน รวมทั้งการวิเคราะหจดุ แข็ง จุดออน อันเปนสภาวะแวดลอม ภายในเทศบาลตําบลสันมหาพน ซึ่งทั้งหมดเปนการประเมินสถานภาพของเทศบาลในปจจุบนั โดยเปนการตอบ คําถามวา “ปจจุบันเทศบาลตําบลสันมหาพนมีสถานภาพการพัฒนาอยูตรงจุดไหน” สําหรับใชเปนประโยชนใน การกําหนดการดําเนินงานอนาคตตอไป ทั้งนี้ โดยใชเทคนิค SWOT analysis การพิจารณา จุดแข็ง (Strength S) จุดออน (Weak - W) และปจจัยภายนอก ไดแก โอกาส (Opportunith - O) และอุปสรรค (Threat - T) เปน เครื่องมือ เทศบาลตําบลสันมหาพนไดผลสรุป ดังนี้ ประเด็นการพัฒนา 1. ดานคุณภาพชีวิต

2. ดานเศรษฐกิจ

3. ดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสราง พื้นฐาน

สิ่งที่จะตองทําใหเกิดหรือมี 1) เพื่อใหมีประชาชนมีการดําเนิน ชีวิตตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง ไดรับการ พัฒนาศักยภาพดานการ สุขอนามัย การศึกษา และการ บริการดานสังคมขั้นพื้นฐานที่ เหมาะสม 2) เพื่อใหการพัฒนาเศรษฐกิจของ ชุมชนสอดคลองกับทิศทางการ พัฒนาของจังหวัด และพัฒนา บนพื้นฐานศักยภาพหลักของ ตนเอง โดยการมีสวนรวมของ ชุมชน 3) เพื่อใหโครงสรางพื้นฐานของ ทองถิ่นในดานการคมนาคม การขนสง สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ สามารถ ตอบสนองความตองการของ ชุมชน การพัฒนาดานการคา การลงทุน การทองเที่ยว และ การเกษตร

ผลลัพธที่มุงหวังสูงสุด 1) สุขภาพอนามัยแข็งแรง 2) ไดรับการศึกษาที่มีมาตรฐาน 3) มีสวัสดิการสังคมขั้นพื้นฐานใน การดํารงชีวิต

1) กลุมอาชีพศักยภาพ 2) ผลิตภัณฑชุมชนไดรับความ สนใจ

1) เสนทางคมนาคม ที่พักริมทาง สะดวก 2) ระบบระบายน้ํา สงน้ําคลองตัว 3) มีฌาปนสถานทั่วถึง 4) น้ําสําหรับอุปโภค บริโภค ทั่วถึง มีมาตรฐาน 5) มีไฟฟาและแสงสวางเพียงพอ 6) มีระบบผังเมือง

-55ประเด็นการพัฒนา สิ่งที่จะตองทําใหเกิดหรือมี 4. ดานประเพณี วัฒนธรรม 4) เพื่อใหชุมชนมีความรักและ ภูมิปญญาทองถิ่นและคุณธรรม หวงแหน ภาคภูมิใจ มีสว น จริยธรรมของประชาชน รวมในการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชวี ิต ภูมิปญญา ทองถิ่น และมีคุณธรรม จริยธรรม 5. ดานความสงบปลอดภัยในชีวิต 5) เพื่อใหมีชมุ ชนสามารถอยู และทรัพยสิน และการมีสวน รวมกันไดอยางสงบสุข รวมของชุมชน ปลอดภัยทั้งดานชีวิตและ ทรัพยสินสามารถปองกันและ บรรเทาสาธารภัยตางๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ รวมถึง การมีสวนรวมในการพัฒนา ทองถิ่นของตน 6. ดานทรัพยากรธรรมชาติและ 6) เพื่อใหประชาชนรวมดูแล สิ่งแวดลอม รักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ดําเนินการจัดการ สิ่งแวดลอมและมลพิษตางๆ และการดูแลรักษาที่สาธารณะ รวมถึงการใชพลังงานอยาง คุมคา 7. ดานการบริหารจัดการ 7) เพื่อใหการบริหารจัดการของ บานเมืองที่ดี เทศบาลมีความโปรงใส เปน ธรรม และมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองและ สอดคลองตอแนวทางการ พัฒนาจังหวัดและความ ตองการของชุมชน

ผลลัพธที่มุงหวังสูงสุด 1) มีการจัดกิจกรรมดานประเพณี วัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถิ่น 2) ประชาชนมีคุณธรรม จริยธรรม

1) ชุมชนมีความสงบปลอดภัย 2) ชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนา

1) ลดมลพิษ 2) ประชาชนรักษและใช ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม อยางรูคุณคา

1) มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติ ราชการการใหบริการ 2) โปรงใส ตรวจสอบอยางมี สวนรวมของชุมชน

3.1.1 ศักยภาพการพัฒนาดานคุณภาพชีวิต ในการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และขอจํากัด เพื่อมากําหนดแนวทางการพัฒนาดานคุณภาพชีวิต จุดแข็ง (Strength) 1. การบริหารจัดการมีการแบงโครงสราง องคกรชัดเจน 2. มีปจจัยการบริหารครบถวน 3. มีนโยบายที่มีเปาหมายชัดเจน และตอเนื่อง 4. เทศบาลมีศูนยพัฒนาเด็กเล็ก จํานวน 5 ศูนย มีบุคลากรเพียงพอตอการดูแล 5. ผูปกครองใหความสําคัญกับการศึกษา 6. เทศบาลมีกิจกรรมดานการดูแลสุขภาวะ อยางหลากหลาย ทั้งดาน สุขภาพ ดาน การศึกษา ดานสวัสดิการสังคม และ ดาน การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม

จุดออน (Weakness) 1. บุคลากรของเทศบาลที่มีความชํานาญ

โอกาส (Opportunity) 1. มีสถานการศึกษาที่ไดมาตรฐานในเขตฯ

เฉพาะดานมีจํากัด 2. การประสานงานระหวางบุคลากรยังไมมี ประสิทธิภาพ

หลายแหง มีผูชํานาญการใหสถานศึกษา

มีประชากรแฝงและแรงงานตางดาวมาก 1. เปน อุปสรรคตอการพัฒนา

2. ประชาชนทั่วไปใสใจกับสุขภาพมากขึ้น

2. งบฯอุดหนุนจากสวนกลางลาชาและลดลง

3. ไดรับความรวมมือจากหนวยงานอื่นๆในการ

3. กฎ ระเบียบ ไมเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงาน

3. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรยังมีนอย

พัฒนา สงเสริมสุขภาพอนามัย และการ

4. งบประมาณเพื่อการพัฒนาไมเพียงพอ

ตรวจสอบดานสาธารณสุขอยางสม่ําเสมอ

5. ยังไมมีการสงเสริมดานแหลงเรียนรูของ

ขอจํากัด (Threat)

4. การรณรงคเศรษฐกิจพอเพียง

ชุมชน

ในระดับประเทศ

6. รายไดเฉลี่ยของประชาชนในเขตเทศบาล ต่ํา และมีผูมีรายไดต่ํากวาเกณฑ จปฐ. 7 ผูดอยโอกาสในเขตเทศบาลมีจํานวนมาก เมื่อเทียบกับงบประมาณของเทศบาล

7. สมาชิกสภาเทศบาลมีความรู ความเขาใจ ในเรื่องการศึกษาองคกรทางการศึกษา ทุก สังกัดใหความรวมมือเปนอยางดี -56-

4. คาครองชีพสูง เนื่องจากภาวะน้ํามันแพง เงินเฟอ เศรษฐกิจชลอตัว 5. อัตราการวางงานมีแนวโนมสูงขึ้น ปริมาณ การบริโภคลดลง เนื่องจากสินคาราคาแพง

3.1.2 ศักยภาพการพัฒนาดานเศรษฐกิจ ในการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และขอจํากัด เพื่อมากําหนดแนวทางการพัฒนาดานเศรษฐกิจ จุดแข็ง (Strength) 1. การบริหารจัดการของเทศบาลมีการ แบงโครงสรางองคกรชัดเจน มีปจจัยการบริหารครบถวน 2. มีนโยบายที่มีเปาหมายชัดเจน

จุดออน (Weakness)

โอกาส (Opportunity)

1. ขาดแคลนผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน

1. มีผูวา CEO บริหารงานแบบบูรณาการ

2. การประสานงานระหวางบุคลากรยังไมมี

2. นโยบายจากสวนกลางและจังหวัดชัดเจน

ประสิทธิภาพ 3. การพัฒนาบุคลากรยังมีนอย

และเกื้อหนุนตอนโยบายของเทศบาล 3. จังหวัดเชียงใหมเปนเมืองทองเที่ยวและ

ขอจํากัด (Threat) 1. มีประชากรแฝงและแรงงานตางดาวมาก เปน อุปสรรคตอการพัฒนา 2. มีการเปลี่ยนแปลงขาวสารอยูตลอดเวลา 3. งบฯอุดหนุนจากสวนกลางลาชา

4. การปฏิบัติงานขาดเอกภาพ

เสนทางสายเชียงใหม - ฝาง และ เสนทาง

4. กฎ ระเบียบ ไมเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงาน

5. การเผยแพรขาวสารลาชา และไมทั่วถึง

สายแมมาลัย - ปาย ก็เปนแหลงทองเที่ยวที่

5. เศรษฐกิจในปพ.ศ.2549 มีแนวโนมชลอตัว

เปนที่ตั้งของที่วาการอําเภอ สวนราชการ

6. เทคโนโลยีที่มีอยูขาดการบํารุงรักษา

สําคัญในจังหวัดเชียงใหม

รัฐวิสาหกิจ และเอกชนที่สําคัญ เชน

7. งบประมาณเพื่อการพัฒนาไมเพียงพอ

4. ยังไมมีหนวยงานใดจัดทําจุดแวะพักขนาด

ธนาคาร สหกรณการเกษตร หางรานตางๆ

8. การมีสวนรวมของประชาชนมีนอย

มาตรฐานและศูนยขอมูลการทองเที่ยว

9. เทศบาลไมมีพื้นที่ และงบประมาณจํานวนมาก

บริเวณนี้

และตอเนื่อง 3. เทศบาลอยูจุดศูนยกลางของอําเภอ

4. ในเขตพื้นที่เทศบาลเปนทางผานไปสู หลายอําเภอ เชน เชียงดาว ฝาง และ

ในการจัดทําจุดแวะพักเพื่อซื้อของที่ระลึก

5 การขยายตัวของหางสรรพสินคาขนาดใหญ

แหลงทองเที่ยวตางๆ ทําใหเศรษฐกิจ

และศูนยขอมูลการทองเที่ยว ซึ่งตองใช

เชน เทสโกโลตัส ทําใหเศรษฐกิจดีขึ้นและ

บริเวณตลาดสดแมมาลัยขยายตัว

งบประมาณมาก

นักทองเที่ยวแวะเพื่อจับจายซื้อสินคา บริการ

5 ผูเดินทางผานมักจะแวะเพื่อซื้อสินคา

มากยิ่งขึ้น -57-

อัตราเงินเฟอ ราคาน้ํามัน ทําใหราคาสินคา และบริการสูงขึ้น อาจสงผลตอการบริโภค 6. ขาดกลุมองคกรที่เขมแข็งในการผลิตสินคา และบริการของทองถิ่น และกลุมขาดศักยภาพ ดานการบริหารจัดการธุรกิจ และการตลาด

3.1.3 ศักยภาพการพัฒนาดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และโครงสรางพื้นฐาน ในการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และขอจํากัด เพื่อมากําหนดแนวทางการพัฒนาดานการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และโครงสรางพื้นฐาน สรุปไดดังนี้ จุดแข็ง (Strength) จุดออน (Weakness) โอกาส (Opportunity) ขอจํากัด (Threat) 1. คณะผูบริหารมีนโยบายตอเนื่องและชัดเจน

1. พื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลมี 12 หมูบาน 32.09

1. นโยบายของรัฐบาลสงเสริมการทองเที่ยวซึ่ง

1. ในปพ.ศ2549 เศรษฐกิจอยูในภาวะถดถอย

2. ผูบริหารเอาใจใสมีความรูความสามารถ

ตร.กม. จึงทําใหงบประมาณดานการบริการ

สงผลใหการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานไดรับ

อาจทําใหงบประมาณที่จัดเก็บไดจากภาษีลดลง

3. บุคลากรทางการชางมีศักยภาพและจํานวน

สาธารณูปโภค สาธารณูปการและโครงสราง

การสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัด

และอาจทําใหงบประมาณที่ไดรับการจัดสรร

พื้นฐานภายในเขตไมเพียงพอตอความตองการ

2. ประชาชนใหความสนใจในการจัดเวที

เพียงพอตอปริมาณงาน 4. สมาชิกสภาเทศบาลมีความรูความเขาใจใน

2. ที่ดินในพื้นที่เทศบาล โดยเฉพาะบริเวณสองฝง

ประชาคมเพื่อรวบรวมโครงการแผนงานที่

จากรัฐบาลลดนอยลง งบในการพัฒนาจึง ลดลงไปดวย

เรื่องระบบการจัดทําโครงการกอสรางดาน

ถนนเปนที่ตั้งของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และผู

ชุมชนตองการอยางแทจริงทําใหการดําเนินการ

2. ประชาชนขาดทักษะ ความเขาใจ ในระเบียบ

สาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสราง

ถือครองที่ดินตางถิ่น จึงทําใหยากตอการพัฒนา

ดานโครงสรางพื้นฐาน สาธารณูปโภคตรงตาม

การจัดทําแผนพัฒนา และการจัดทําโครงการ

ความตองการของประชาชนอยางแทจริง

เพื่อพัฒนา

พื้นฐาน 5. สมาชิกสภาเทศบาลใหความสนใจตอการ ปรับปรุง กอสราง ภายในเขตรับผิดชอบ ของตนเอง

3. เทศบาลขาดระบบการจัดทําผังเมืองที่ถูกหลักใน การใชประโยชนจากที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ

3. นโยบายของกระทรวงมหาดไทยที่สงเสริม

3 พื้นที่วางเปลาไมไดใชประโยชนบางแหง

4. โครงการหลายโครงการของเทศบาลเปนโครงการ

ใหจัดทํา Zonnig เพื่อใหกลุม อปท. มีการ

เปนที่ราชพัสดุที่มีผูดูแล การเขาไปดําเนินการ

ที่คาบเกี่ยวระหวางตําบล/หมูบานจึงใชงบประมาณ

บูรณาการ และประสานความรวมมือกัน

ใดๆ ตองไดรับอนุญาตจากกรมธนารักษและ

สูง เทศบาลตองรอรับการสนับสนุนจากหนวยงาน

4 กรมสงเสริมไดจัดใหมีการฝกอบรมการวางผัง

ผูดูแล จึงทําใหการใชประโยชนเพื่อกอสราง

อื่นที่ใหญกวา เชน อบจ. กรมสงเสริมฯ

เมืองของ อปท. เองและเตรียมถายโอนภารกิจ

สิ่งสาธารณูปโภค สาธารณูปการและโครงสราง

การปกครองทองถิ่น กรมทรัพยากรน้ํา เปนตน

การจัดทําผังเมืองรวมตอไป

พื้นฐานสาธารณะ เปนไปอยางลาชา

-58-

3.2.2.3 ศักยภาพการพัฒนาดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และโครงสรางพื้นฐาน ในการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และขอจํากัด เพื่อมากําหนดแนวทางการพัฒนาดานการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และโครงสรางพื้นฐาน สรุปไดดังนี้ จุดแข็ง (Strength)

จุดออน (Weakness)

โอกาส (Opportunity)

5. เทศบาลยังไมมีการรวมรวมขอมูลพื้นฐานเพื่อการ

ขอจํากัด (Threat) 4. พรบ.กําหนดขั้นตอนการกระจายอํานาจให

พัฒนาดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 สงผล

6. การประสานงานกับหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของใน

ใหภารกิจของเทศบาลเพิ่มขึ้น มากกวาจํานวน

การทบทวนแผนพัฒนาเพื่อปรับปรุงโครงสราง

งบประมาณที่มีอยู ทําใหการจัดสรรงบพัฒนา

พื้นฐานยังไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ

ตองกระจายไปพัฒนาดานอื่นๆ เชน คุณภาพ ชีวิต การศึกษา วัฒนธรรม ฯลฯ

-59-

3.1.4 ศักยภาพการพัฒนาดานวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และจริยธรรมของประชาชน ในการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และขอจํากัด เพื่อมากําหนดแนวทางการพัฒนาดานวัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิ ญญาทองถิ่น และจริยธรรมของประชาชน จุดแข็ง (Strength) 1. การบริหารจัดการมีการแบงโครงสราง องคกรชัดเจน 2. มีปจจัยการบริหารครบถวน 3. มีนโยบายที่มีเปาหมายชัดเจน และตอเนื่อง 4. มีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ที่เปนเอกลักษณ

จุดออน (Weakness) 1. การประสานงานระหวางองคกรและ หนวยงานตางๆ ยังไมมีประสิทธิภาพ เทาที่ควร

โอกาส (Opportunity) 1. ไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐ เอกชน 2. นโยบายจากสวนกลางและจังหวัดชัดเจน

2. การเผยแพรขาวสารลาชา และไมทั่วถึง

และเกื้อหนุนตอนโยบายของเทศบาล

3. งบประมาณเพื่อการพัฒนาไมเพียงพอ

3 การรณรงคดานวัฒนธรรม ประเพณีและ

4. ประชาชนใหความสําคัญของการพัฒนา

ภูมิปญญาทองถิ่นระดับประเทศ

ดานจิตใจนอยกวาดานวัตถุ

ขอจํากัด (Threat) 1. คานิยม กระแสวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไป ทําให ภูมิปญญาทองถิ่น และการอนุรักษวัฒนธรรม ลานนาเสื่อมถอย 2. วิถีชีวิตประชาชนในทองถิ่นเปลี่ยนไป การยาย ไปทํางานตางถิ่นของวัยกลางคน เหลือแตคน เฒาคนแกในชุมชน ทําใหไมมีผูสืบสาน ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญา

5. ประชาชนในทองถิ่นใหความสนใจและ

3. ยุคไรพรมแดนทําใหมุงสูความเปนเทคโนโลยี

รวมจัดกิจกรรมสงเสริมวัฒนธรรม

สารสนเทศ โดยไมมีกฎหมายควบคุมอยาง

ประเพณีทองถิ่น

เพียงพอทําใหจริยธรรมของประชาชนทั่วไป

6. มีบุคลากรเพียงพอ และมีศักยภาพ

ลดต่ําลง

-60-

3.1.5 ศักยภาพการพัฒนาดานความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสิน และการมีสวนรวมของชุมชน ในการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และขอจํากัด เพื่อมากําหนดแนวทางการพัฒนาดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และการมีสวนรวมของชุมชน จุดแข็ง (Strength) 1. คณะผูบริหารมีนโยบายตอเนื่อง และชัดเจน 2. ผูบริหารเอาใจใสมีความรูความสามารถ 3. มีหนวยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย มีบุคลากรและวัสดุอุปกรณเพียงพอ 4. มีคณะกรรมการชุมชนทุกชุมชน เพื่อ ปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนของเทศบาล 5. ประชาชนมีความตื่นตัวในบทบาทหนาที่

จุดออน (Weakness) 1. เทศบาลประสานงานระหวางชุมชนเพื่อดูแล

โอกาส (Opportunity) 1. นโยบายระดับประเทศ จังหวัด และทองถิ่น

ขอจํากัด (Threat) 1. สภาพทางครอบครัวและเศรษฐกิจของ

รักษาความความปลอดภัย หรือจัดกิจกรรมได

สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในดาน

กลุมผูมีรายไดนอย/ชุมชนแออัด

ไมดีเทาที่ควร

ตางๆ เชน การจัดทําแผนพัฒนา การตรวจ

2. ปญหาวิถีการดําเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลง

2. เจาหนาที่ยังไดรับการพัฒนาศักยภาพนอย

สอบการจัดซื้อจัดจาง ฯลฯ

เนื่องจากประชาชนสวนใหญเริ่มทํางาน

3. ประชาชนในเขตใหความรวมมือแกไข

2. หนวยงานอื่นๆมีการสนับสนุนงบประมาณ

กับหางราน หนวยงาน โรงงาน ซึ่งไม

ปญหาความปลอดภัยภายในชุมชนนอย

วิชาการ และฝกอบรมเกี่ยวกับการสงเสริม

สะดวกในการเขารวมกิจกรรมตางๆ ของ

4. ประชาชนยังขาดความรูความเขาใจในการ

ประชาธิปไตยและการมีสวนรวมของชุมชน

ชุมชน

บริหารงานระดับทองถิ่น และระดับประเทศ

3. การรณรงค สงเสริม การปองกันและการ

3. มีที่รกรางวางเปลา และพื้นที่ของคน

ในการมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่น

ทําใหการปฏิบัติงานรวมกับชุมชนลาชาและ

เฝาระวังภัยธรรมชาติของสวนกลาง

ตางถิ่น ทําใหเกิดแหลงมั่วสุม

ของตน

มีขอผิดพลาด

4. เยาวชนในปจจุบันขาดการเอาใจใสดูแล

6 เทศบาลมีนโยบายการพัฒนาที่สงเสริม

และประพฤติตัวไมพึงประสงค

การมีสวนรวม และการประสานความ

5 ภัยธรรมชาติ เชน อุทกภัย วาตภัย

รวมมือระหวางชุมชน

ภัยแลง สามารถควบคุมไดยาก

-61-

3.1.6 ศักยภาพการพัฒนาดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ในการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และขอจํากัด เพื่อมากําหนดแนวทางการพัฒนาดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สรุปไดดังนี้ จุดแข็ง (Strength)

จุดออน (Weakness)

1. ผูบริหารมีความรู มีคุณภาพ

1. งบประมาณไมเพียงพอ

2. มีระบบการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี

2. ขาดแคลนบุคลากรที่มีความชํานาญเฉพาะทาง

โอกาส (Opportunity) 1. เปนจังหวัดที่ไดรับการสงเสริมทั้งจากรัฐบาล

1. พื้นที่ไมเพียงพอในการกอสรางระบบการ

และ NGO ตางประเทศ เนื่องจากเปนเมือง

ควบคุมมลพิษตามแผนงานที่วางไว

3. ประชาชนมีความเขาใจและใหความรวมมือ

และบุคลากรที่มีอยูไดรับการพัฒนาความรูไม

ศูนยกลางการทองเที่ยว จึงทําใหไดรับเทคนิค

4. มีการวางแผนที่ดีและตอเนื่อง

ทั่วถึง

ใหมๆ ที่ทันสมัยในกาคจัดการสิ่งแวดลอม

5. มีการเชื่อมโยงประสานเครือขาย และมี

3. ไมไดนําเทคโนโลยีที่มีอยู เชน Website ที่มีอยู

ชองทางประชาสัมพันธหลายชองทาง เชน

มาใชประโยชนในการประชาสัมพันธเรื่อง

มี Website เปนของตนเอง

สิ่งแวดลอมอยางเต็มที่

กอนจังหวัดอื่นเสมอ 2. เปนเมืองตัวอยางดานการจัดการสิ่งแวดลอม ดวยเหตุนี้จึงไดรับโอกาสทั้งขาวสารการลงทุน

4. ขาดการประสานงาน กิจกรรม โครงการ ระหวางกองภายในสํานัก 5. ขาดสถานที่พักผอนหยอนใจ และสวนสาธารณะ

ตอการพัฒนาของเทศบาล 3. มีประชากรแฝงและประชากรนอกสํามะโนมี มากและไมสามารถควบคุมกฎระเบียบ ขอบังคับไดจึงเกิดปญหาสิ่งแวดลอมตามมา 4. ปญหาอุทกภัย วาตภัย เกิดขึ้นทุกป

ตางชาติกอนจังหวัดอื่น

5. ไดรับการสนับสนุนงบประมาณแกไขปญหา

ทํางานของเทศบาลตําบลสันมหาพน 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดเชียงใหมมุงเนน ใหเปนเมือง Green and Clean

-62-

2. กฎหมาย ขอบังคับดานสิ่งแวดลอมไมเอื้อ

ดานสิ่งแวดลอม และการลงทุนธุรกิจอื่นๆ จาก 3. ยุทธศาสตรจังหวัด และระดับชาติเอื้อตอการ

ขนาดใหญของเทศบาล 6. ประชาชนในเขตเทศบาลยังขาดจิตสํานึกรักษ สิ่งแวดลอม

ขอจํากัด (Threat)

ขนาดใหญที่เกินศักยภาพนอย

3.2.2.7 ศักยภาพการพัฒนาดานการเมืองการบริหาร ในการวิเคราะหจดุ แข็ง จุดออน โอกาส และขอจํากัด เพื่อมากําหนดแนวทางการพัฒนาดานการเมืองการบริหาร สรุปไดดังนี้ จุดแข็ง (Strength) 1. มีงบประมาณเพียงพอสําหรับการพัฒนา ดานการบริหารจัดการ 2. บุคลากรมีความเพียงพอและมีความพรอม ที่จะไดรับการพัฒนา 3. มีนโยบายของผูบริหารที่ชัดเจนและ มีความตอเนื่อง 4. มีการนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชในการ ปฏิบัติงาน 5. มีสถานที่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน งายตอการประสานงาน 6. มีการสงเสริมจิตสํานึกของการเปน

จุดออน (Weakness) 1. ขาดการประสานงานระหวางหนวยงาน และในหนวยงานเดียวกัน

โอกาส (Opportunity) 1. ประชาชนในเขตเทศบาลมีการศึกษา 2. มีผูวา CEO ซึ่งทําใหมีการบริหารงานอยาง

2. ระเบียบ ขั้นตอนการปฏิบัติงานซับซอน และยุงยาก

บูรณาการ 3. การมีเอกลักษณของทองถิ่นและมี

3. บุคลากรไมไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง และขาดความคิดสรางสรรค

ศิลปวัฒนธรรมเปนของตนเอง 4. มีบริการสาธารณสุขทั้งภาครัฐและเอกชน

4. ขาดการบริหารจัดการที่ทําใหประชาชน เขามามีสวนรวมอยางตอเนื่อง

ครอบคลุมทุกพื้นที่ 5 มีการคมนาคมและการติดตอสื่อสารที่

5. ประชาชนบางสวนมีทัศนคติที่ไมดีตอ ขาราชการและนักการเมืองในพื้นที่

สะดวก 6. หนวยงานตางๆ มีการสรางแรงจูงใจให

6. ประชาชนมีแนวโนมของรายไดที่ลดลง

จัดการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาล เชน

ขาราชการที่ดีในการปฏิบัติงานเพื่อ

7. ไมมีนโยบายที่แปลกใหมจากที่ผานมา

โครงการรางวัลพระปกเกลา , โครงการ

ประชาชน

8. ขาดการเกลี่ยอัตรากําลังใหทั่วถึงระหวาง

ประเมินหลักธรรมาภิบาลของ อปท.

7. เทศบาลมีการจัดทําระบบควบคุมภายใน และการติดตามประเมินผลทุกป

สํานัก/กอง 9. ขาดขอมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนา เพื่อใหเปนเมืองที่เปนระบบและครบถวน -63-

ขอจํากัด (Threat) 1. เศรษฐกิจของประเทศมีการชลอตัวทําให การจัดสรรงบประมาณในปตอไปอาจลดลง 2. กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตางๆ มีความ ซับซอน ทําใหการดําเนินงานลาชา

บทที่ 4 วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค และเปาหมายการพัฒนาเทศบาล 4.1 วิสัยทัศน (Vision) การกําหนดวิสยั ทัศนของเทศบาลตําบลสันมหาพน จัดทําขึ้นโดยคณะกรรมการพัฒนาเทศบาล และประชาคมเทศบาล รวมแสดงความคิดเห็นและพิจารณาจุดออน จุดแข็ง โอกาสและขอจํากัดของเทศบาล ตามลําดับความสําคัญและวิเคราะห กําหนดเปนวิสยั ทัศน ดังนี้ “ ศูนยกลางทางเศรษฐกิจ แหลงวิสาหกิจชุมชน ประชาชนมีคุณภาพชีวิตทีด่ ี ” คําอธิบาย :

เทศบาลตําบลสันมหาพนมุงเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจระดับอําเภอแมแตง โดยสงเสริมใหมี วิสาหกิจชุมชน และมุงเนนพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอยางทัว่ ถึง ทั้งในดานสุขภาวะ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ การศึกษา การดํารงชีพ และการประกอบอาชีพ

4.2 พันธกิจ (Mission) 1. พันธกิจหลักที่ 1 การสงเสริมและสนับสนุนการประกอบอาชีพของประชาชน การทองเที่ยว การตอบสนอง นโยบายแกไขปญหาสังคมและความยากจนของประชาชน และการสนับสนุนใหชุมชนมีความเขมแข็งสามารถ พึ่งตนเองได มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีมาตรฐาน ทั้งดานสุขภาพอนามัย การศึกษา สวัสดิการสังคม 2. พันธกิจหลักที่ 2 การปรับปรุงและพัฒนาระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการใหไดมาตรฐาน และเพียงพอ ตอความตองการของประชาน 3. พันธกิจหลักที่ 3 การปรับปรุงพัฒนาระบบการศึกษาและการอนุรักษวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงาม ภูมิปญญา ทองถิ่น และทํานุบํารุงศาสนา การพัฒนาระบบการสาธารณสุข ตอบสนองนโยบายแกไขปญหายาเสพติด และการสงเสริมสนับสนุนกีฬา นันทนาการ 4. พันธกิจหลักที่ 4 การสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนและความรวมมือของหนวยงานตาง ๆ ในการพัฒนาเทศบาล การสงเสริมและปรับปรุงประสิทธิภาพการใหบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ การตอบสนองนโยบายการขจัดการทุจริตคอรัปชั่น และการพัฒนาระบบความมั่นคงและความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพยสินของประชาชน

-655. พันธกิจหลักที่ 5 การปรับปรุงและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และใหประชาชนมีสวนรวมใน การฟนฟูอนุรกั ษธรรมชาติ ปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดเก็บขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูล และความเปนระเบียบ เรียบรอยของบานเมือง

4.3 จุดมุงหมายการพัฒนา (Goals) 1. เพื่อใหมีประชาชนมีการดําเนินชีวิตตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ไดรับการ พัฒนาศักยภาพดานการสุขอนามัย การศึกษา และการบริการดานสังคมขั้นพื้นฐานที่ เหมาะสม 2. เพื่อใหการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาของจังหวัด และ พัฒนาบนพืน้ ฐานศักยภาพหลักของตนเอง โดยการมีสว นรวมของชุมชน 3. เพื่อใหโครงสรางพื้นฐานของทองถิ่นในดานการคมนาคม การขนสง สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ สามารถตอบสนองความตองการของชุมชน การพัฒนาดานการคา การลงทุน การทองเที่ยว และการเกษตร 4. เพื่อใหชุมชนมีความรักและหวงแหน ภาคภูมิใจ มีสว นรวมในการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชวี ิต ภูมิปญญาทองถิ่น และมีคุณธรรม จริยธรรม 5. เพื่อใหมีชุมชนสามารถอยูรวมกันไดอยางสงบสุข ปลอดภัยทั้งดานชีวติ และทรัพยสนิ สามารถปองกันและบรรเทาสาธารภัยตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการมีสวนรวม ในการพัฒนาทองถิ่นของตน 6. เพื่อใหประชาชนรวมดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดําเนินการจัดการ สิ่งแวดลอมและมลพิษตางๆ และการดูแลรักษาที่สาธารณะ รวมถึงการใชพลังงานอยาง คุมคา 7. เพื่อใหการบริหารจัดการของเทศบาลมีความโปรงใส เปนธรรม และมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองและสอดคลองตอแนวทางการพัฒนาจังหวัดและความตองการของ ชุมชน

-66-

4.4 วัตถุประสงค 4.4.1 จุดมุงหมายการพัฒนา เพื่อใหมีประชาชนมีการดําเนินชีวิตตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจ พอเพียง ไดรบั การพัฒนาศักยภาพดานการสุขอนามัย การศึกษา และการบริการดานสังคมขั้นพื้นฐานที่ เหมาะสม มีวัตถุประสงค ดังตอไปนี้ 1. เพื่อใหประชาชนมีสุขภาพดี ลดภาระคาใชจายในดานการรักษาพยาบาล และปองกัน แกไข ปญหาการระบาดของโรคติดตอและโรคไมติดตอ 2. เพื่อใหประชาชนและผูประกอบการมีความรูและความเขาใจในการการปฏิบัติตัวที่ถูกตองใน ดานการรักษาสุขภาวะ 3. เพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาทุกระดับในเขตเทศบาล และสงเสริมการศึกษาในระดับกอน ประถมศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อสงเสริมการเรียนรู ทัง้ ในและนอกระบบแกเด็ก เยาวชน และผูสนใจทัว่ ไปในชุมชน 5. เพื่อใหเกิดการรวมกลุมของเยาวชนและประชาชนในเขตพื้นที่ เกิดการสรางสรรคกิจกรรมที่ เปนประโยชนตอสังคม 6. เพื่อใหผูดอ ยโอกาสในสังคมไดรับการดูแลสวัสดิการขั้นพื้นฐาน 7. เพื่อสงเสริมคุณภาพชีวิตและสวัสดิการสังคมในภาพรวมแกชุมชนในเขตเทศบาล 4.4.2 จุดมุงหมายการพัฒนา เพื่อใหการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนสอดคลองกับทิศทางการพัฒนา ของจังหวัด และพัฒนาบนพื้นฐานศักยภาพหลักของตนเอง โดยการมีสวนรวมของชุมชน มีวัตถุประสงค ดังตอไปนี้ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุมอาชีพประจําหมูบานใหดําเนินกิจการไดอยางตอเนื่อง 2. เพื่อสงเสริมใหกลุมอาชีพพัฒนาอยางสอดคลองกับการพัฒนาจังหวัด 3. เพื่อใหสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) เปนที่รูจักอยางแพรหลาย และมีคุณภาพทีด่ ี 4. เพื่อใหประชาชนมีทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ 5. เพื่อใหเกษตรกรมีความรูความเขาใจในการประกอบอาชีพดานการเกษตร และสงเสริมการ แปรรูปพืชผลทางการเกษตร เพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ เพิ่มรายไดใหกับครอบครัวและชุมชน 4.4.3 จุดมุงหมายการพัฒนา เพื่อใหโครงสรางพื้นฐานของทองถิ่นในดานการคมนาคม การขนสง สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ สามารถตอบสนองความตองการของชุมชน การพัฒนาดานการคา การ ลงทุน การทองเที่ยว และการเกษตร มีวัตถุประสงค ดังตอไปนี้ 1. เพื่อจัดเก็บรวบรวมขอมูล เชื่อมโยงขอมูลสารสนเทศเพื่อใชเปนแหลงขอมูลหลักของ โครงสรางพื้นฐาน 2. เพื่อรวมกับหนวยงานอืน่ ทบทวนแผนดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสรางพื้นฐาน ลดความซ้ําซอน

-673. เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสนับสนุนการปฏิบัติงาน และการตัดสินใจ ของผูบริหาร 4. เพื่อใหประชาชนไดรับความสะดวกในการเดินทางสัญจรไปมา 5. เพื่อใหประชาชนมีน้ําดืม่ น้ําใช ที่สะอาดถูกหลักอนามัย อยางทั่วถึงและเพียงพอ 6. เพื่อใหประชาชนมีแหลงน้ําเพื่อใชน้ํา เพื่อการเกษตรอยางเพียงพอตอการทํางาน 7. เพื่อใหประชาชนในหมูบ านมีสถานที่ในการประกอบพิธีฌาปนกิจ 4.4.4 จุดมุงหมายการพัฒนา เพื่อใหชุมชนมีความรักและหวงแหน ภาคภูมใิ จ มีสว นรวมในการ สืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชวี ิต ภูมิปญญาทองถิ่น และมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม มีวัตถุประสงค ดังตอไปนี้ 1. เพื่อสงเสริมและอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีของทองถิ่น 2. เพื่อสงเสริมจริยธรรม คุณธรรมแกเยาวชนและประชาชนในทองถิ่น 3. เพื่อสืบสานภูมิปญญาทองถิ่นอยางมีสวนรวมแกชุมชน 4. เพื่อใหเยาวชนและประชาชนลด ละ เลิก อบายมุข และประพฤติตวั ในทางที่พึงประสงค 4.4.5 จุดมุงหมายการพัฒนา เพื่อใหมีชุมชนสามารถอยูรวมกันไดอยางสงบสุข ปลอดภัยทั้งดานชีวติ และทรัพยสินสามารถปองกันและบรรเทาสาธารภัยตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการมีสวนรวมในการ พัฒนาทองถิ่นของตน มีวัตถุประสงค ดังตอไปนี้ 1. เพื่อใหเทศบาลและชุมชนมีศักยภาพในการปองกันและบรรเทาสาธารภัยไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2. เพื่อสงเสริมใหชุมชนมีสว นรวมในการสรางความสงบสุข ปลอดภัยทั้งดานชีวิตและทรัพยสิน 3. เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนและเสริมสรางความเขาใจในบทบาทหนาที่ของตน 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุมตางๆ ในชุมชน ใหปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ไดอยางมี ประสิทธิภาพ 5. เพื่อใหชุมชนมีกิจกรรมตางๆ เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมและความสามัคคีของคนในชุมชน 6. เพื่อใหประชาชนสามารถชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และชุมชนในเบื้องตนหากเกิด สาธารณภัยขึน้

-684.4.6 จุดมุงหมายการพัฒนา เพื่อใหประชาชนรวมดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดําเนินการจัดการสิ่งแวดลอมและมลพิษตางๆ และการดูแลรักษาที่สาธารณะ รวมถึงการใชพลังงานอยางคุมคา มีวัตถุประสงค ดังตอไปนี้ 1. เพื่อใหระบบการระบายน้าํ เปนไปอยางคลองตัว ลดปญหาน้ําทวมขัง น้ําเนาเสีย และการเกิด อุทกภัย 2. เพื่อปองกันและบรรเทาความเดือดรอนของประชาชนจากอุทภัย และภัยธรรมชาติ 3. เพื่อบรรเทาปญหาขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล และปญหาขยะตกคางในชุมชน 4. เพื่อใหมีสถานที่พักผอนหยอนใจ ออกกําลังกาย แกประชาชนในทองถิ่น 5. เพื่ออนุรักษสภาพแวดลอม และภูมิทศั นใหสะอาด สวยงาม ใหสอดคลองกับการพัฒนา เชียงใหมเปนเมืองนาอยู “Green and Clean” 6. เพื่อใหมกี ลุมอาสาสมัครพิทักษสิ่งแวดลอม และรณรงคการรักษาสิ่งแวดลอมและประหยัด พลังงาน 7. เพื่อใหเทศบาลมีระบบบริหารจัดการสิง่ แวดลอมที่มปี ระสิทธิภาพ 4.4.7 จุดมุงหมายการพัฒนา เพื่อใหการบริหารจัดการของเทศบาลมีความโปรงใส เปนธรรม และมี ประสิทธิภาพสามารถตอบสนองและสอดคลองตอแนวทางการพัฒนาจังหวัดและความตองการของชุมชน มี วัตถุประสงค ดังตอไปนี้ 1. เพื่อใหบุคลากรมีศักยภาพใหการปฏิบัติงานในหนาที่ และใหบริการประชาชนไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2. เพื่อสงเสริมการตรวจสอบ การควบคุมภายในเทศบาล อยางมีสวนรวมจากทุกภาคสวน 3. เพื่อสงเสริมใหประชาชนรวมตรวจสอบความโปรงใสในการบริหารจัดการงานภายในเทศบาล 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณ เครือ่ งมือ เครื่องใช ในดานการบริหารจัดการใหตอบสนอง ความตองการของประชาชนไดอยางรวดเร็ว สะดวก เปนธรรม และประชาชนมีความพึงพอใจ

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals)

ตัวชี้วัด (KPls)

ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data)

1. เพื่อใหมีประชาชนมีการดําเนินชีวิตตามแนว 1) รอยละของประชาชนที่ไดรับ 1) จํานวนประชาชนในเขต เทศบาล 8,476 คน ไดรับการ การบริการสุขภาพของ พระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ไดรับการ บริการสุขภาพอยางนอย 1 ครั้ง/ เทศบาล พัฒนาศักยภาพดานการสุขอนามัย การศึกษา ป จากเทศบาลทุกคน และการบริการดานสังคมขั้นพื้นฐานที่ 2) รอยละสัตวเลี้ยงที่ไดรับการ 2) จํานวนสัตวเลี้ยงในหมูบานเขต เหมาะสม เทศบาล 12 หมูบานไดรับ ฉีดวัคซีน และทําหมันในแต บริการฉีดวัคซีนและทําหมันฟรี ละหมูบาน รอยละ 80 3) จํานวนครัวเรือนในเขต 3) รอยละของครัวเรือนที่ไดรับ เทศบาลทั้งหมด 3,703 การพนหมอกควันอยางนอย ครัวเรือน ในป 49 ไดรับการ ปละ 1 ครั้ง พนหมอกควันอยางนอยปละ 2 ครั้ง ทุกครัวเรือน 4) จํานวนผูประกอบการราน 4) รอยละผูประกอบการราน จําหนายอาหารที่ได จําหนายอาหาร 53 ราน สะสม มาตรฐาน Clean food good อาหาร 63 ราน taste จากเทศบาล

-69-

ป 51-56

ป 51

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

ป 55

ป 56

จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals)

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (KPls) (Baseline Data) ป 51-56 ป 51 5) จํานวนแผงจําหนายอาหารใน ตลาด 3 ตลาดเขตเทศบาล 220 แผง ป 49 ผานการตรวจ มาตรฐานจาก สสจ. จํานวน 218 แผงไมผาน 2แผง 6) จํานวนศูนย อสมช. ในเขต เทศบาล 12 ศูนย ไดรับการ ฟนฟูแลว 12 ศูนย 7) รอยละของจํานวนนักเรียน 7) จํานวนนักเรียนในระดับ ระดับกอนประถมวัย- กอนประถมวัย 5 แหง ระดับประถมวันที่ไดรับ - ระดับประถมวัย 5 แหง อาหารกลางวันและนมฟรี ป 2549 ไดรับอาหารกลางวัน และทุกคน 8) จํานวนโรงเรียนไดรับการ 8) จํานวนโรงเรียนในเขตเทศบาล สนับสนุนดานการจัด ทั้งหมด 6 โรงเรียน ป 2549 การศึกษาจากเทศบาล ไดรับการสนับสนุนงบประมาณ 5 โรงเรียน 9) จํานวนศูนยการเรียนรูและที่ 9) ศูนยการเรียนรูและที่อาน อานหนังสือที่ไดรับการจัดตั้ง หนังสือทั้งหมด 12 หมูบาน ไดรับการจัดตั้งแลว 4 ศูนย ยัง ขึ้น ไมมีศูนย 8 ศูนย

1. เพื่อใหมีประชาชนมีการดําเนินชีวิตตามแนว 5) รอยละของแผงจําหนาย อาหารที่ผานการตรวจจาก พระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ไดรับการ สสจ.และเทศบาล พัฒนาศักยภาพดานการสุขอนามัย การศึกษา และการบริการดานสังคมขั้นพื้นฐานที่ เหมาะสม 6) รอยละของศูนย อสมช. ที่ ไดรับการฟนฟู

-70-

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

ป 55

ป 56

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

6 รร.

6 รร.

6 รร.

6 รร.

6 รร.

6 รร.

6 รร.

8 ศูนย

1 ศูนย

1 ศูนย

2 ศูนย

2 ศูนย

2 ศูนย

-

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals)

ตัวชี้วัด (KPls)

ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data)

1. เพื่อใหมีประชาชนมีการดําเนินชีวิตตามแนว 10) จํานวนศูนยการเรียนรูและที่ 10) ศูนยการเรียนรูและที่อาน หนังสือทั้งหมด 12 หมูบาน อานหนังสือที่ไดรับการ พระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ไดรับการ ไดรับการจัดตั้งแลว 4 ศูนย ยัง สนับสนุนสื่อสิ่งพิมพ พัฒนาศักยภาพดานการสุขอนามัย การศึกษา ไมมีศูนย 8 ศูนย และการบริการดานสังคมขั้นพื้นฐานที่ 11) รอยละของเด็กเล็กที่ไดรับ 11) จํานวนเด็กเล็กในศูนยพัฒนา เหมาะสม เด็กเล็ก 5 แหงไดรับวัสดุ สื่อการ วัสดุ สื่อการเรียนการสอน เรียนการสอนในป 2549 ทุกคน ของศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 12) รอยละเยาวชนที่ไดรับการ ฝกอบรมอาชีพ

12) เยาวชนในเขตเทศบาลทั้งหมด 881 คน ไดรับการฝกอบรมป 2549 จํานวน 120 คน

13) รอยละของเยาวชนที่เขารวม 13) จํานวนเยาวชนในเขตเทศบาล กิจกรรมนันทนาการของ 881 คน เขารวมกิจกรรม เทศบาล นันทนาการอยางนอย 1 กิจกรรม ในป 2548 จํานวน 480 คน

-71-

ป 51-56

ป 51

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

8 ศูนย

1 ศูนย

2 ศูนย

2 ศูนย

1 ศูนย

1 ศูนย

1 ศูนย

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

ป 55

ป 56

จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals)

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (KPls) (Baseline Data) ป 51-56 ป 51

1. เพื่อใหมีประชาชนมีการดําเนินชีวิตตามแนว 14) จํานวนสนามกีฬาหมูบานที่ 14) จํานวนหมูบานในเขตเทศบาล ไดรับการกอสราง/ 12 หมูบาน มีสนามกีฬาแลว พระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ไดรับการ ปรับปรุง จํานวน 4 หมูบาน ยังไมมี พัฒนาศักยภาพดานการสุขอนามัย การศึกษา สนามกีฬา 8 หมูบาน และการบริการดานสังคมขั้นพื้นฐานที่ 15) รอยละของจํานวนสูงอายุ ผู 15) จํานวนผูสูงอายุ ผูพิการ ผูติด เหมาะสม พิการ และผูติดเชื้อที่ไดรับ เชื้อในเขตเทศบาลทั้งหมด เบี้ยยังชีพ 1,314 คน ป 2549 ไดรับเบี้ย ยังชีพ 937 คน 16) รอยละของงบประมาณดาน 16) งบพัฒนาดานตางๆ ป 49 สงเสริมคุณภาพชีวิตเทียบ 23,308,120.-บาท เปนงบดาน กับงบพัฒนา สงเสริมคุณภาพชีวิต 6,380,755.-บาท 1) จํานวนกลุมอาชีพที่สามารถ 1) จํานวนกลุมอาชีพในเขต 2. เพื่อใหการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน เทศบาล 12 กลุม ป 2549 ดําเนินกิจการตอเนื่องได สอดคลองกับทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ดําเนินกิจการอยางตอเนื่อง อยางนอย 1 ป และพัฒนาบนพื้นฐานศักยภาพหลักของ จํานวน 2 กลุม ตนเอง โดยการมีสวนรวมของชุมชน 2) รอยละกลุมอาชีพที่ดําเนิน 2) จํานวนกลุมอาชีพในเขต กิจการสอดคลองกับการ เทศบาล 12 กลุม พัฒนาของจังหวัด

-72-

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

ป 55

ป 56

8 แหง

-

-

2 แหง

2 แหง

2 แหง

2 แหง

970 คน

970 คน

-

-

-

-

-

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

11 กลุม

2 กลุม

2 กลุม

2 กลุม

2 กลุม

2 กลุม

1 กลุม

12 กลุม

2 กลุม

2 กลุม

2 กลุม

2 กลุม

2 กลุม

2 กลุม

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals) 2. เพื่อใหการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน สอดคลองกับทิศทางการพัฒนาของจังหวัด และพัฒนาบนพื้นฐานศักยภาพหลักของ ตนเอง โดยการมีสวนรวมของชุมชน

ตัวชี้วัด (KPls)

ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data)

3) จํานวนผลิตภัณฑชุมชนในเขต เทศบาลที่ไดรับความนิยมและ เปนที่รูจัก มี 2 กลุมคือ กลุม ผลิตตุกตาชาวเขาบานหนอง กอก และชาสมุนไพรเชียงดา 4) จํานวนกลุมอาชีพที่ไดรับการ 4) จํานวนกลุมอาชีพในเขต สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน เทศบาล มี 12 กลุมตาม จากเทศบาล หมูบาน ป 49 ไดการสนับสนุน จํานวน 12 กลุม

3) จํานวนผลิตภัณฑชุมชนใน เขตเทศบาลที่ไดรับความ นิยมและเปนที่รูจัก

5) จํานวนผูเขารับการอบรมเพื่อ 5) จํานวนผูเขารับการอบรมเพื่อ เพิ่มศักยภาพในการประกอบ เพิ่มศักยภาพในการประกอบ อาชีพ อาชีพ ป 49 จํานวนประมาณ 360 คน

-73-

ป 51-56

ป 51

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

6 กลุม

1 กลุม

1 กลุม

1 กลุม

1 กลุม

1 กลุม

1 กลุม

12 กลุม

12 กลุม

-

-

-

-

-

ป 55

ป 56

2,160 คน 360 คน 360 คน 360 คน 360 คน 360 คน 360 คน

จุดมุงหมาย เพื่อการพัฒนาทองถิ่น (Goals)

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (KPls) (Baseline Data) ป 51-56

1) พื้นที่ของถนนที่สํารวจเพื่อการปรับปรุง / 3. โครงสรางพื้นฐานของทองถิ่นในดาน 1) จํานวนพื้นที่ถนน คสล.ที่ กอสราง เปน ถนน คสล. จํานวน 19,208 ไดรับการกอสราง/ซอมแซม การคมนาคม การขนสง สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ตร.ม. ดําเนินการกอสราง/ซอมแซม ตั้งแตป สามารถตอบสนองความตองการของ 2549 แลว 4,713 ตร.ม. ยังไมไดดําเนินการ ชุมชน การพัฒนาดานการคา การ อีก 14,495 ตร.ม. 5 ปจะสราง12,000 ตร.ม. ลงทุน การทองเที่ยว และการเกษตร 2) จํานวนพื้นที่ของถนนที่ไดรับ 2) พื้นทีข่ องถนนที่สํารวจเพื่อขยายผิวจราจร การขยายผิวจราจร 5,191 ตร.ม. ยังไมไดดําเนินการขยาย 3) ปริมาตรของถนนและลาน 3) ปริมาตรของถนนและลานอเนกประสงคที่ อเนกประสงคที่ไดรับการ สํารวจวาตองรับปรุงจํานวน 35,100 ลบ.ม. ปรับปรุงดวยหินคลุก/ลูกรัง ไดรับการปรับปรุงตั้งแตป 49 9,900 ลบ.ม. ยังไมไดปรับปรุง 25,200 ลบ.ม. 5 ปจะ 4) ปริมาตรของถนนที่ไดรับการ ปรับปรุง 13,900 ลบ.ม. 4) ปริมาตรของถนนที่สํารวจวาตอง OVER LAY ปรับผิวจราจรโดยการ OVER LAY จํานวน 43,245 ตร.ม. ดําเนินการแลว 5) ปริมาตรของถนนที่ไดรับการ 9,8000 ตร.ม. ยังไมไดดําเนินการ 33,445 ลาดยางแอสฟสท ตร.ม. 5 ปจะดําเนินการ 7,200 ตร.ม. 5) ปริมาตรของถนนที่สํารวจวาตองลาดยางแอส ฟสท จํานวน 81,142 ตร.ม. ดําเนินการ ตั้งแตป 2549 ยังไมไดดําเนินการ

-74-

ป 51

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

ป 55

ป 56

12,000 ตร.ม.

2,000 ตร.ม.

2,000 ตร.ม.

2,000 ตร.ม.

2,000 ตร.ม.

2,000 ตร.ม.

2,000 ตร.ม.

1,200 ตร.ม. 13,900 ลบ.ม.

200 ตร.ม. 6,950 ลบ.ม.

200 ตร.ม. 6,950 ลบ.ม.

200 ตร.ม. -

200 ตร.ม. -

200 ตร.ม. -

200 ตร.ม. -

7,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

7,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

1,200 ตร.ม.

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา จุดมุงหมาย เพื่อการพัฒนาทองถิ่น(Goals) 3. โครงสรางพื้นฐานของทองถิ่น ในดานการคมนาคม การ ขนสง สาธารณูปโภค และ สาธารณูปการ สามารถ ตอบสนองความตองการของ ชุมชน การพัฒนาดานการคา การลงทุน การทองเที่ยว และ การเกษตร

ตัวชี้วัด (KPls)

ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data)

6) จํานวนสะพาน คสล. ที่ 6) จํานวนสะพานที่สํารวจวาตองปรับปรุงและ ดําเนินการปรับปรุง/กอสราง กอสราง จํานวน 8 แหง ดําเนินการตั้งแตป 49 จํานวน 3 แหง ยังไมไดดําเนินการ 5 แหง 7) จํานวนทอลอดเหลี่ยมที่ไดรับ 7) จํานวนทอระบายน้ําที่สํารวจวาตองกอสราง การกอสราง/ปรับปรุง ปรับปรุง จํานวน 9 แหง ดําเนินการตั้งแตป 49 จํานวน 7 แหง ยังไมไดดําเนินการ 2 แหง 8) จํานวนครัวเรือนที่มีไฟฟาใช 8) ครัวเรือนในเขตเทศบาลทั้งหมด 3,703 คร. มีไฟฟาใชแลว 3,091 คร. ยังไมมีไฟฟาใช 612 คร. 9) จํานวนครัวเรือนที่มี 9) ครัวเรือนในเขตเทศบาลทั้งหมด 3,703 คร. มีประปาใชแลว 1,648 คร. น้ําประปาใช ยังไมมีประปาใช 2,055 คร. 10) จํานวนฌาปนสถานที่ไดรับ การปรับปรุง

10) จํานวนฌาปนสถานในเขต เทศบาลทั้งหมดมีจํานวน 5 แหง ไดรับการ กอสราง / ปรับปรุง ตั้งแตป 2549 แลวจํานวน 5 แหง

-75-

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

ป 55

ป 56

ป 51-56

ป 51

5 แหง

-

1 แหง

1 แหง

1 แหง

1 แหง

1 แหง

2 แหง

-

-

-

-

1 แหง

1 แหง

200 คร.

-

-

50 คร.

50 คร.

50 คร.

50 คร.

200 คร.

50 คร.

50 คร.

50 คร.

50 คร.

-

-

-

-

-

-

-

-

-

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals) 3. โครงสรางพื้นฐานของทองถิ่นในดานการ คมนาคม การขนสง สาธารณูปโภค และ สาธารณูปการ สามารถตอบสนองความ ตองการของชุมชน การพัฒนาดานการคา การลงทุน การทองเที่ยว และการเกษตร

4. เพื่อใหชุมชนมีความรักและหวงแหน ภาคภูมิใจ มีสวนรวมในการสืบทอด วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ภูมิปญญา ทองถิ่น และมีคุณธรรม จริยธรรม

ตัวชี้วัด (KPls)

ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data)

ป 51-56

ป 51

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

ป 55

ป 56

11) จํานวนกิจกรรมที่ไดมีการ ประสาน เชื่อมโยงขอมูล หลักของการพัฒนา

11) จํานวนกิจกรรมที่ไดมีการ ประสาน เชื่องโยงขอมูลหลัก ของการพัฒนา 2 ครั้ง

18 ครั้ง

3 ครั้ง

3 ครั้ง

3 ครั้ง

3 ครั้ง

3 ครั้ง

3 ครั้ง

12) อัตราเพิ่มของงบพัฒนาดาน เทคโนโลยีสารสนเทศที่ สนับสนุนการปฏิบัติงาน เทศบาล 1) รอยละของชุมชนที่เขารวม กิจกรรมสงเสริมวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น

12) งบประมาณดานการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศในป 49 จํานวน 92,500.-บาท

รอยละ 10

รอยละ 2

รอยละ 2

รอยละ 2

รอยละ 2

รอยละ 2

รอยละ 2

1) จํานวนชุมชนทั้งหมด 21 ชุมชน ในป 2549 เขารวม กิจกรรมสงเสริมวัฒนธรรม ภูมิ ปญญาทองถิ่นอยางนอย 1 ครั้ง จํานวน 21 ชุมชน 2) งบพัฒนาป 2549 จํานวน 23,308,120.-บาท งบสงเสริม วัฒนธรรม ฯ 609,924.-บาท

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

10%

4%

6%

-

-

-

-

2) อัตราสวนระหวาง งบประมาณการสงเสริม สงวัฒนธรรม ภูมิปญญา ทองถิ่นเทียบกับงบพัฒนา

-76-

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals) 4. เพื่อใหชุมชนมีความรักและหวงแหน ภาคภูมิใจ มีสวนรวมในการสืบทอด วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ภูมิปญญา ทองถิ่น และมีคุณธรรม จริยธรรม

5. เพื่อใหมีชุมชนสามารถอยูรวมกันไดอยาง สงบสุข ปลอดภัยทั้งดานชีวิตและทรัพยสิน สามารถปองกันและบรรเทาสาธารภัยตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการมีสวน รวมในการพัฒนาทองถิ่นของตน

ตัวชี้วัด (KPls)

ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data)

3) จํานวนเยาวชนทั้งหมด 881คน ป 2549 ไดรับการอบรม จริยธรรมคุณธรรม 72คน 4) กิจกรรมดานการสงเสริม สืบ ทอดภูมิปญญาทองถิ่นในป 2549 จํานวน 1 กิจกรรม 1) รอยละงบประมาณดาน 1) งบพัฒนาป2549 จํานวน สงเสริมความปลอดภัยในชีวิต 23,308,120.-บาท ดานการ และทรัพยสินเทียบกับ สงเสริมความปลอดภัยในชีวิต/ งบประมาณพัฒนาทั้งหมด ทรัพยสิน 413,684.-บาท 2) รอยละงบประมาณดานการ 2) งบพัฒนาป 2549 จํานวน สงเสริมการมีสวนรวมของ 23,308,120.-บาท งบพัฒนา ชุมชนและพัฒนาศักยภาพของ ศักยภาพชุมชนและสงเสริมการ ชุมชนเทียบกับงบประมาณ มีสวนรวมจํานวน 3,611,082.การพัฒนาทั้งหมด บาท

3) จํานวนเยาวชนที่เขารับการ อบรมจริยธรรม คุณธรรม จากเทศบาล 4) จํานวนกิจกรรมสงเสริม สืบ ทอดภูมิปญญาทองถิ่น

-77-

ป 51-56

ป 51

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

360 คน

60 คน

60 คน

12 กิจกรรม

2 2 2 2 2 2 กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม

60 คน

60 คน

ป 55

ป 56

60 คน

60 คน

10%

8%

2%

-

-

-

-

10%

5%

5%

-

-

-

-

จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals)

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (KPls) (Baseline Data) ป 51-56 ป 51

5. เพื่อใหมีชุมชนสามารถอยูรวมกันไดอยางสงบ 3) รอยละของสมาชิกกลุมตางๆ ที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพ สุข ปลอดภัยทั้งดานชีวิตและทรัพยสิน สามารถปองกันและบรรเทาสาธารภัยตางๆ 4) รอยละของประเภทการ ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการมีสวน สงเสริมการมีสวนรวมของ รวมในการพัฒนาทองถิ่นของตน ประชาชน

1) ระยะทางของทอระบายน้ําที่ 6. เพื่อใหประชาชนรวมดูแลรักษา ไดรับการกอสราง/ปรับปรุง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดําเนินการจัดการสิ่งแวดลอมและมลพิษ ตางๆ และการดูแลรักษาที่สาธารณะ รวมถึง การใชพลังงาน อยางคุมคา 2) ระยะทางของดาดลําเหมืองที่ ไดรับการกอสราง/ปรับปรุง

1) จํานวนกลุมตางๆ ในเขต เทศบาล 6 กลุม ในป49ไดรับ การพัฒนาศักยภาพอยางนอย 1 ครั้ง 5 กลุม 4) จํานวนประเภทการสงเสริมการ มีสวนรวมของประชาชน12 ประเภท ในป 49 มีวิธีสงเสริม 12 ประเภท 1) ทอระบายน้ําที่จําเปนตองไดรับ การกอสราง /ปรับปรุง 465 ม. ตั้งแตป49 ไดรับการปรับปรุง แลว 55 ม. ยังไมไดปรับปรุง 410 ม. 2) ระยะทางของดาดลําเหมืองที่ ตองไดรับการกอสราง/ ปรับปรุง 9,123 ม. ตั้งแตป 49 ไดรับการกอสรางแลว 2,373 ม. ยังไมไดรับการกอสราง 6,705 ม.

-78-

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

ป 55

ป 56

6 กลุม

1 กลุม

1 กลุม

1 กลุม

1 กลุม

1 กลุม

1 กลุม

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

410 ม.

100 ม.

100 ม.

100 ม.

110 ม.

-

-

6,705 ม.

1,000 ม.

1,000 ม.

1,000 ม.

1,000 ม.

1,000 ม.

1,705 ม.

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals)

ตัวชี้วัด (KPls)

3) จํานวนประตูระบายน้ําที่ 6. เพื่อใหประชาชนรวมดูแลรักษา ไดรับการกอสราง/ปรับปรุง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดําเนินการจัดการสิ่งแวดลอมและมลพิษ ตางๆ และการดูแลรักษาที่สาธารณะ รวมถึง การใชพลังงาน อยางคุมคา 4) ระยะทางของรางระบายน้ําที่ กอสราง/ปรับปรุง

5) รอยละของลําเหมือง ลําหวย รางระบายน้ํา ที่ไดรับการขุดลอก 6) ระยะทางของตลิ่งที่ได ปรับปรุง/กอสราง

ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data)

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

ป 55

ป 56

ป 51-56

ป 51

3) จํานวนประตูระบายน้ําที่ตอง กอสราง/ปรับปรุง จํานวน 6 แหง ตั้งแตป 49 ดําเนินการแลว 2 แหง ยังไมไดดําเนินการ 4 แหง

4 แหง

-

-

-

2 แหง

2 แหง

-

4) ระยะทางของรางระบายน้ําที่ ตองกอสราง/ปรับปรุง 3,400 ม. ตั้งแตป 49 กอสรางแลว 572 ม. ยังไมไดกอสราง 2,828 ม.

2,800 ม.

466 ม.

466 ม.

466 ม.

466 ม.

466 ม.

466 ม.

5) ตั้งแตป 49 ขุดลอกลําเหมือง ลํา หวย รางระบายน้ําแลว 17 สาย

60 สาย

10 สาย

10 สาย

10 สาย

10 สาย

10 สาย

10 สาย

6) ระยะทางของตลิ่งที่สํารวจและ ตองไดรับการปรับปรุง/กอสราง ยาว 485 ม.

485 ม.

-

-

-

162 ม.

162 ม.

162 ม.

-79-

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals)

ตัวชี้วัด (KPls)

6. เพื่อใหประชาชนรวมดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดําเนินการจัดการสิ่งแวดลอมและมลพิษ ตางๆ และการดูแลรักษาที่สาธารณะ รวมถึงการใชพลังงาน อยางคุมคา

7) จํานวนของกิจกรรมที่สงเสริม รณรงค การบริหารจัดการขยะ

7. ใหการบริหารจัดการของเทศบาลมีความ โปรงใส เปนธรรม และมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองและสอดคลองตอแนว ทางการพัฒนาจังหวัดและความตองการ ของชุมชน

1) รอยละของงบประมาณพัฒนา ศักยภาพบุคคลากรเทียบกับงบ พัฒนา ประสิทธิภาพการทํางาน

8) รอยละของงบพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมตอจํานวนงบพัฒนา ทั้งหมด

2) รอยละของจํานวนบุคลากรที่ ไดรับการฝก อบรม

ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data)

ป 51-56

ป 51

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

ป 55

ป 56

5 5 5 5 5 5 กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม

7) กิจกรรมที่สงเสริม รณรงค การบริหารจัดการขยะในป 2549 จํานวน 5 กิจกรรม

30 กิจกรรม

8) งบพัฒนาป 49 จํานวน 23,308,120.-บาท เปนงบ พัฒนาดานทรัพยากรธรรม ชาติและสิ่งแวดลอม 2,076,650.-บาท 1) งบพัฒนาประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงาน ป 49 จํานวน 2,074,478.-บาท งบพัฒนา บุคลากร 1,020,897.-บาท

10%

5%

5%

-

-

-

-

20%

10%

5%

5%

-

-

-

2) จํานวนบุคลากรทั้งหมด117 คน ในป 49 ไดรับการ ฝกอบรมอยางนอย 1 ครั้ง จํานวน 117 คน

600%

100%

100%

100%

100%

100%

100%

-80-

4.5 การแปลงจุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนา จุดมุงหมายเพือ่ การพัฒนาทองถิ่น (Goals) 7. ใหการบริหารจัดการของเทศบาลมีความ โปรงใส เปนธรรม และมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองและสอดคลองตอแนว ทางการพัฒนาจังหวัดและความตองการของ ชุมชน

ตัวชี้วัด (KPls)

ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data)

3) จํานวนประเภทกิจกรรมที่ สงเสริมความโปรงใสทั้งหมด ตามแบบประเมินการบริหาร จัดการบานเมืองที่ดี 11 ประเภท ป49 เทศบาลดําเนินการได 8 ประเภท 4) รายงานการควบคุมภายในป 4) จัดทํามาตรฐานขอ 5 เดือน ละอยางนอย 1 ครั้ง พฤษภาคม 2550แลวจะรายงาน ขอ 6 ครั้งแรก ธันวาคม 2550 5) อัตราสวนงบประมาณในการ 5) งบพัฒนาประสิทธิภาพการ เพิ่มประสิทธิภาพอุปกรณ ปฏิบัติงาน ป 49 ทั้งหมด เครื่องมือ เครื่องใช ในการ 2,074,478.-บาท เปนงบการเพิ่ม พัฒนาบุคลากร ประสิทธิภาพอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช จํานวน.1,053,581.บาท 3) รอยละประเภทกิจกรรมที่ สงเสริมความโปรงใสและ การตรวจสอบจากทุกภาค สวน

-81-

ป 51-56

ป 51

เปาหมาย (Targets) ป 52 ป 53 ป 54

100%

20%

20%

20%

20%

20%

-

6 ครั้ง

1 ครั้ง

1 ครั้ง

1 ครั้ง

1 ครั้ง

1 ครั้ง

1 ครั้ง

2:1

2:1

2:1

2:1

2:1

2:1

2:1

ป 55

ป 56

บทที่ 5 ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาเทศบาล จากการรวบรวมขอมูลและการจัดประชุมประชาคม รวมทั้งการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ตามขั้นตอนของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน ที่ไดกลาวมาแลวในบทที่ 1-4 โดยมีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนา จังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ นั้น สามารถนํามากําหนดเปนยุทธศาสตร และแนวทางการพัฒนาเทศบาลตําบล สันมหาพนในอนาคต 5 ปขางหนา คือตั้งแตป พ.ศ. 2551 – 2555 ตามวิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุงหมาย ของการพัฒนาเปน 7 ยุทธศาสตร 20 แนวทางการพัฒนา ดังนี้

5.1 ยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาล (ระยะ 5 ป พ.ศ.2551 – 2555) 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานคุณภาพชีวิต 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจ 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานอนุรักษ ฟนฟูและสืบสานศิลปวัฒนธรรม จารีต ประเพณีและภูมิปญญาทองถิ่น 5. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการจัดระเบียบชุมชน สังคมและการรักษาความสงบ เรียบรอย 6. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม และระบบนิเวศอยางยั่งยืน 7. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการบริหารจัดการบานเมือง

-83-

5.2 แนวทางการพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร 1. การพัฒนาดาน คุณภาพชีวิต

แนวทางการพัฒนา 1. การพัฒนาและปลูกฝงแนวความคิดเศรษฐกิจ พอเพียง การกระตุนและปลูกฝงจิตสํานึกใหชุมชนเกิดความ ตระหนักและเขาใจ พรอมนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงไป ปฏิบัติได โดยดําเนินการในลักษณะของเครือขายความ รวมมือในทุกระดับตั้งแตสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา หนวยงานภาครัฐและ เอกชน เพื่อพัฒนาและปลูกฝงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง อยางจริงจังและตอเนื่อง จนนําไปสูการปรับกระบวน ทัศนในการดําเนินชีวติ 2. การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต การจัดการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบที่มี คุณภาพ พรอมทั้งเสริมสรางสภาพแวดลอมแหลง แลกเปลี่ยนเรียนรู หรือศูนยการเรียนรูที่เหมาะสมและ พอเพียงสําหรับประชาชนทุกระดับ 3. การสงเสริมสุขภาวะของชุมชน การพัฒนาใหมีระบบบริการสุขภาพทางดาน เสริมสรางสุขภาพ ปองกันโรค รักษาพยาบาล และ ฟนฟูสมรรถภาพที่มีคุณภาพ มาตรฐาน การสงเสริม และสนับสนุนใหประชาชนมีทักษะในการดูแลสุขภาพ ของตนเอง รวมถึงการจัดกิจกรรมเสริมสรางความ เขมแข็งทั้งรางกายและจิตใจของคนในชุมชน 4. การสงเคราะหผูดอยโอกาส การศึกษารวบรวมขอมูลผูดอยโอกาสในทองถิ่น การ กําหนดแนวทางในการสงเคราะหผูที่ดอยโอกาส ทั้งใน ดานการศึกษา การพัฒนาอาชีพ การเขาถึงปจจัยการ ผลิต รวมทั้งการติดตามประเมินผลการสงเคราะหอยาง ตอเนื่อง เพื่อใหผูดอยโอกาสสามารถพึ่งพาตนเองได

โครงการ - พัฒนาประสิทธิภาพ การศึกษา - พัฒนาแหลงเรียนรู - สนับสนุนวารสาร/ หนังสือพิมพแหลง เรียนรู - สาธารณสุขเคลื่อนที่ - โครงการชวยเหลือ ผูดอยโอกาส ฯลฯ

-84ประเด็นยุทธศาสตร แนวทางการพัฒนา 2. การพัฒนาดาน 1. การสรางและพัฒนาการรวมกลุม เศรษฐกิจ การสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือระหวาง ทองถิ่นตางๆ ตลอดจนหนวยงานภาครัฐ เอกชน และ สถาบันการเงิน ใหสามารถดําเนินการแบบบูรณาการใน ลักษณะของการรวมกลุม เพื่อรวมกันพัฒนา/ยกระดับ สินคาและบริการ ทั้งในการดานการทองเที่ยว การเกษตร ผลิตภัณฑชุมชน ตามศักยภาพของพื้นที่ให ไดมาตรฐาน และมีการใชเทคโนโลยี ระบบการควบคุม การผลิตที่ลดตนทุน เพิ่มคุณภาพ และมูลคาสินคา/ บริการ มีการรับประกันคุณภาพสินคา มีการสงเสริม ตลาดรวมกัน และกอใหเกิดการแสวงหาโอกาสทาง ตลาดใหมๆ 2. การสงเสริมการเกษตรทฤษฎีใหม การใชทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นเพือ่ เปนฐานการ ผลิตทางดานการเกษตรอยางคุมคาและเกิดประโยชน สูงสุด โดยใชแนวคิดการเกษตรทฤษฎีใหม 3. การสรางภูมิคุมกันของระบบเศรษฐกิจ การสงเสริมใหเกิดการออมในทุกระดับ การขยาย ธุรกิจบนพื้นฐานและความพรอมของชุมชน และสงเสริม ใหเกิดการแขงขันการประกอบธุรกิจในระบบไดอยางเสรี และเปนธรรม พัฒนาและสนับสนุนใหเกิดการกระจาย ผลประโยชนอยางทั่วถึงและเปนธรรม

โครงการ - โครงการสงเสริมการ เลี้ยงโค - โครงการพัฒนา อาชีพและรายได - โครงการอบรม ผูประกอบการ ฯลฯ

-85-

ประเด็นยุทธศาสตร แนวทางการพัฒนา 3. การพัฒนาดาน 1. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางการเกษตร โครงสรางพื้นฐาน การศึกษาและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่จะสามารถ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางการเกษตรใน ทองถิ่น ทั้งในดานการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การลด คาใชจาย การกระจายสินคา เชน การจัดตัง้ ดูแลตลาด กลาง โรงสีชุมชน โรงปุยอินทรีย โกดัง หองเย็น เปนตน 2. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคมขนสง ดานสาธารณูปโภค และดานสาธารณูปการ การดําเนินการเกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐานดานการ คมนาคมขนสงทั้งทางบกและน้ํา รวมถึงการจัดการ จราจรในพืน้ ทีใ่ หมีประสิทธิภาพ การพัฒนาและ บํารุงรักษาแหลงน้ํา ระบบประปา ระบบไฟฟา การวาง และปรับปรุงผังเมือง ควบคุมอาคาร

โครงการ - โครงการกอสรางถนน คอนกรีตเสริมเหล็ก - โครงการปรับปรุง ถนน - โครงการกอสรางทาง ระบายน้ํา - โครงการดาดลําเหมือง คอนกรีต - โครงการปรับปรุง ฌาปนสถาน ฯลฯ

4. การพัฒนาดาน อนุรักษ ฟน ฟู และสืบสาน ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและ ภูมิปญญาทองถิ่น

- โครงการประเพณี สงกรานต - โครงการปใหมเมือง - โครงการจัดกิจกรรม วันสําคัญทางศาสนา ฯลฯ

1. การพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การสนับสนุนและเชื่อมโยงแหลงทองเที่ยว แลกเปลี่ยนเรียนรูเชิงวัฒนธรรมในแตละทองถิ่น เปน การนําวิถีชีวติ ภูมิปญญาทองถิ่น มาเปนจุดขายที่ แตกตางและยัง่ ยืน ในขณะเดียงกันยังเปนการกระตุนให ชุมชนมีความภาคภูมใิ จและมีสวนรวมในการสืบทอด วัฒนธรรมประเพณี วิถีชวี ิต ภูมิปญญาทองถิ่นของ เชียงใหมสืบไป 2. การเชื่อมโยงวิธีชีวติ ชุมชนกับศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น การสรางความเชื่อมโยงระหวางศิลปวัฒนธรรมกับวิถี ชีวิตของคนทองถิ่นในปจจุบัน การจัดกิจกรรมและการ สรางกลุมสงเสริมวัฒนธรรมทองถิ่นและคุณธรรม จริยธรรมรวมถึงกิจกรรมทางศาสนา การสงเสริม สนับสนุนใหเกิดการพัฒนาและสรางสรรคงานศิลปะใน แขนงตางๆ ที่เกี่ยวกับภูมิปญ  ญาทองถิ่น

-86-

ประเด็นยุทธศาสตร 4. การพัฒนาดาน อนุรักษ ฟน ฟูและ สืบสาน ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและ ภูมิปญญาทองถิ่น 5. การพัฒนาดานการ จัดระเบียบชุมชน สังคมและการรักษา ความสงบเรียบรอย

แนวทางการพัฒนา 3. การจัดการองคความรู การจัดการองคความรูทางศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น การสรางแหลงเรียนรูเพื่อการสืบคน ภูมิปญญา/เอกลักษณทองถิ่น การพัฒนาระบบขอมูล การวาง แผนพัฒนาและเชื่อมโยงแหลงการเรียนรู รวมทั้งบูรณะฟนฟู แหลงโบราณสถานแหลงประวัติศาสตรทสี่ ําคัญ 1. การกระตุนการมีสวนรวมโดยมุงเนนทุกภาคสวนในชุมชน การดําเนินกิจกรรมเพื่อกระตุนจิตสํานึกใหเกิดความ ตระหนักในการมีสวนรวม รวมกันรับผิดชอบตอปญหาใน สังคมและชุมชน พัฒนาเครือขายชุมชน อาสาสมัครและ บุคลากรขององคกร / หนวยงาน ในการเฝาระวัง ประชาสัมพันธและรณรงคแนวทางในการปองกันและ บรรเทาสาธารณภัย 2. การปองกันและแกไขปญหาอาชญากรรม อบายมุข และสิ่งเสพติด การรวมมือและเชื่อมโยงกับหนวยงานที่เกี่ยวของกันใน การแกไขปญหาอาชญากรรม อบายมุขและสิ่งเสพติด ในการ กําหนดมาตรการปองกันและแกไขอยางตอเนื่องและจริงจัง ตั้งแตระดับครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา สถานศึกษา และสถานที่ทํางานอยางเปนระบบ 3. เสริมสรางประสิทธิภาพในการรักษาความสงบ ปลอดภัยใหแกชุมชน พัฒนาระบบและประสิทธิภาพในการรักษาความสงบ ปลอดภัยในชุมชนอยางบูรณาการ ทั้งในดานการพัฒนา บุคลากร การสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ เทคโนโลยี และ การพัฒนาเครือขายในการปองกันและเฝาระวังภัยในรูปแบบ ตางๆ รวมถึงการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานความ ปลอดภัย

โครงการ

- โครงการปองกัน และแกไขปญหา ยาเสพติด - โครงการ สนับสนุน ศตสจ. เชียงใหม - โครงการอบรม อาสาสมัครปองกัน ภัยฝายพลเรือน - โครงการอบรม การดับเพลิงเบือ้ งตน - โครงการขับขี่ ปลอดภัย ฯลฯ

-87-

ประเด็นยุทธศาสตร 6. การพัฒนาดานการ บริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และ ระบบนิเวศอยาง ยั่งยืน

แนวทางการพัฒนา 1. การปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม การศึกษารวบรวมและจัดทําฐานขอมูลเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติ/สิ่งแวดลอม และผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมของทองถิ่น ควบคูไปกับการสงเสริม สนับสนุนการอนุรักษและฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม เสริมสรางความรูความเขาใจ จิตสํานึกและ ความตระหนักในคุณคาของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมแกชุมชนอยางตอเนื่อง เพื่อใหชุมชน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการผลิตและบริโภค เพื่อลด ผลกระทบที่มีตอสิ่งแวดลอม 2. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม และระบบการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม โดยใหชุมชนดําเนินการดวยตนเองมากขึ้นอยางตอเนื่อง รวมถึงการกําหนดขอบเขตพื้นที่ (Zoning) การกําหนด บทบัญญัติขอบังคับและกฎหมายที่เกี่ยวของ เพื่อควบคุม กิจกรรมที่สงผลตอคุณภาพชีวิต

โครงการ - โครงการขุดลอก ลําเหมือง - โครงการกอสรางทอ ระบายน้ํา - โครงการขุดลอก แมน้ําปง - โครงการขุดลอก แมน้ําแตง - โครงการกอสราง พนังกันตลิ่งน้าํ แตง ฯลฯ

7. การพัฒนาดานการ 1. การสรางจิตสํานึกและพัฒนาขีดความสามารถ บริหารจัดการ บุคลากรภาครัฐ บานเมืองที่ดี การปรับกระบวนทัศนและสรางจิตสํานึกของบุคลากร ภาครัฐในทุกระดับ ตลอดจนพัฒนาขีดความสามารถของ บุคลากรภาครับใหมีนวัตกรรมในการบริหารจัดการการ ทํางานที่จะมุงไปสูประโยชนสุขของประชาชน โดย ประชาชนไดรบั ความพึงพอใจ

- โครงการ 5 ส. - โครงการปรับลด ขั้นตอนการใหบริการ - โครงการจัดวาง ระบบควบคุมภายใน - โครงการอบรม พัฒนาศักยภาพ พนักงาน ประจําป

-88-

ประเด็นยุทธศาสตร แนวทางการพัฒนา 7. การพัฒนาดาน 2. การเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงานและ การบริหารจัดการ ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ บานเมืองที่ดี การพัฒนาประสิทธิภาพโดยมุงเนนความคุมคาในการ ปฏิบัติภารกิจ เนนการบริการโดยคํานึงถึงความตองการ ของประชาชน เพิ่มบทบาทภาคเอกชนในกิจการของรัฐ เพื่อลดภาระการลงทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการ ใหบริการตลอดจนพัฒนากลไกการกํากับดูแลที่เขมแข็ง และโปรงใสโดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูรับบริการ เปนหลักและดําเนินการควบคูไปกับการปลูกฝงจิตสํานึก ขาราชการใหยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบ ตอสวนรวม การพรอมรับการตรวจสอบจากประชาชน และปฏิบัติตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการเปดเผยขอมูล อยางเครงครัด 3. การสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการ บริหารจัดการและการตรวจสอควบคุม การเปดโอกาสใหทุกภาคสวนมีโอกาสในการ เสนอแนะและกําหนดบทบัญญัติ รวมถึงกฎระเบียบที่ เกี่ยวของเพื่อประสานประโยชนของภาคสวนตางๆ ให เสมอภาคและมีความสมดุล สงเสริมการจัดใหมีระบบ การควบคุมภายในองคกรภาครัฐตามที่กฎหมายกําหนด และสงเสริมใหมีการตรวจสอบจากทุกภาคสวน

โครงการ - โครงการอบรมความรู เกี่ยวกับการจัดเก็บ รายได - โครงการชําระภาษี ผานระบบธนาคาร - โครงการศูนยขอมูล ขาวสารของทางราชการ ฯลฯ

บทที่ 6 การนําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาลไปสูการปฏิบัติและติดตามประเมินผล “แผนยุทธศาสตรการพัฒนา” เปนเครื่องมือที่สําคัญประการหนึ่งที่จะทําใหองคกรปกครอง ส ว นท อ งถิ่ น สามารถดํ า เนิ น งานได ต ามเป า หมายที่ ว างไว จึ ง จํ า เป น ต อ งมี ก ารกํ า หนดแผนให ส ามารถ ตอบสนองตอการทํางานเพื่อพัฒนาทองถิ่นและสามารถบงชี้ความสําเร็จของแผนไดดวย จากที่กลาวมา แมวา องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น จะมี แ ผนพั ฒ นาท อ งถิ่ น ที่ ดี เ ท า ไหร ก็ ต าม แต ห ากไม ส ามารถบ ง ชี้ ถึ ง ผลการ ดําเนินงานที่เกิดขึ้นได ก็ไมสามารถที่จะบงบอกความสําเร็จของแผนพัฒนาทองถิ่นได “ระบบติดตาม” จึงเปน เครื่องมือสําคัญที่ชวยในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน รวมถึง “ระบบประเมินผล” ที่คอยเปนตัว บงชี้วา ผลการปรับปรุง แกไข ขยายขอบเขต หรือแมแตยุติการดําเนินงาน

6.1) องคกรในการติดตามและประเมินผล ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 หมวด 6 ขอ 28 ไดกําหนดองคประกอบของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา ทองถิ่น ประกอบดวยหลายฝาย ดังนี้ 1. สมาชิกสภาเทศบาล (สภาเทศบาลคัดเลือก จํานวน 2 คน) กรรมการ 2. ผูแทนประชาคมเมือง (คัดเลือกกันเองจํานวน 2 คน) กรรมการ 3. ผูแทนหนวยงานที่เกีย่ วของ (ผูบริหารคัดเลือกจํานวน 2 คน) กรรมการ 4. หัวหนาสวนการบริหาร (คัดเลือกกันเองจํานวน 2 คน) กรรมการ 5. ผูทรงคุณวุฒิ (ผูบริหารคัดเลือกจํานวน 2 คน) กรรมการ โดยใหคณะกรรมการเลือกกรรมการหนึ่งคนทําหนาที่ประธานคณะกรรมการ และกรรมการ อีกคนหนึ่งทําหนาที่เลขานุการคณะกรรมการ และใหมวี าระอยูใ นตําแหนงคราวละ 2 ป อาจไดรับการ คัดเลือกอีกได คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลมีอํานาจหนาที่ 1. กําหนดแนวทาง วิธีการในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา 2. ดําเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา 3. รายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งไดจากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาตอ นายกเทศมนตรี เพื่อใหนายกเทศมนตรีเสนอตอสภาเทศบาล คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล และประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาใหประชาชนในเขตเทศบาลไดทราบ โดยทั่วกัน อยางนอยปละ 1 ครั้ง ภายในเดือนธันวาคมของทุกป 4. แตงตั้งคณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางานเพื่อชวยปฏิบัติงานตามที่เห็นสมควร

-90คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลตําบลสันมหาพน ประกอบดวย 1. นายพงษศกั ดิ์ แกวชุม 2. นางกอบคํา กิติ 3. นางวิไล จัตตุรัตน 4. นางชูศรี กาลายี 5. นางศรีวรรณ มูลปน 6. เกษตรอําเภอแมแตง 7. สาธารสุขอําเภอแมแตง 9. นายพิภพ กิตกิ าศ 10. นายสมบูรณ 11. นายนิคม 8. นายวีรยุทธ

ใจมูล จันทรบุญ ปนแกว

สมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล ผูแทนประชาคมเมือง ผูแทนประชาคมเมือง

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

หัวหนาฝายบริหารงานชาง รก.ผูอํานวยการกองชาง ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการ นายชางโยธา 6ว. กรรมการ/เลขานุการ รก.ผูอํานวยการกองสาธารณสุข

6.2 วิธีการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล การกําหนดวิธีการติดตามและประเมินผล เปนการแสดงถึงวิธีการติดตามและประเมินผลตาม ยุ ท ธศาสตร แ ละแนวทางการพั ฒ นา โดยการกํ า หนดรู ป แบบที่ จ ะใช ใ นการติ ด ตามและประเมิ น ผล เพื่ อ ตรวจสอบวาไดดําเนินการนําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาไปสูการปฏิบัติตามเปาหมายภายใตระยะเวลาที่กําหนด ไวหรือไม และบรรลุตามจุดมุงหมายที่กําหนดไวหรือไม 6.2.1 ลักษณะทั่วไปของระบบติดตามและประเมินผล ระบบติดตามและประเมินผลแผนยุทธศาสตรการพัฒนาของเทศบาล จะสามารถติดตาม แผนการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตรที่ไดกําหนดไวได โดยจะปรากฏในรูปแบบของรายงานในทุกชวงแผน ยุทธศาสตร โดยขอมูลที่ไดจะสงไปยังหนวยติดตามและประเมินผล ซึ่งไดแกองคการบริหารสวนจังหวัด ที่จะ เปนศูนยกลางในการเก็บรวบรวมขอมูลที่ไดจากการติดตามและจากการประเมินผล รวมตลอดจนเปนศูนยกลาง ในการวิเคราะหขอมูลในภาพรวมของจังหวัด นอกจากนี้ยังทําหนาที่เปน “ระบบสัญญาณเตือนภัยลวงหนา” วา เทศบาลมีแผนยุทธศาสตรการพัฒนาที่ดีหรือไมอยางไร เทศบาลสามารถดําเนินการไดตามแผนที่กําหนดไว เพียงใด การดําเนินการตามแผนที่เกิดขึ้นเปนอยางไร เพื่อประโยชนตอการปรับปรุงใหผลบรรลุไดในทุกชวง ของแผนตอไปในอนาคต

-916.2.2 รูปแบบและวิธีการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาของเทศบาล ระบบการติดตามและประเมินผลแผนการพัฒนาเทศบาล ประกอบดวยองคประกอบ 3 สวน หลัก คือ สวนของปจจัยนําเขา , สวนของกระบวนการติดตาม และสวนของการประเมินผลผลลัพธ โดยมี วิธีการติดตามและประเมินผลที่อาศัยเครื่องมือชวย ดังนี้ 1) สวนปจจัยนําเขา คือ ปจจัยที่เทศบาลจะตองมี เพื่อนําเขาสูระบบติดตามและประเมินผล แผนพัฒนา ไดแก แผนยุทธศาสตรการพัฒนา ผูประเมิน ผูถูกประเมิน และเครื่องมือในการประเมิน ฯลฯ ซึ่งแผนยุทธศาสตรการพัฒนาของเทศบาลมีอยูแลว ผูประเมิน คือ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผน ผูถูกประเมินคือเทศบาล และเครื่องมือสําหรับประเมินตนเองของเทศบาล คือ แบบรายงานแบบที่ 1 แบบ ชวยกํากับการจัดทําแผนยุทธศาสตรของเทศบาล เปนการทบทวนวาการจัดทําแผนไดใชกระบวนการครบทุก ขั้นตอน หรือไม อยางไร 2) สวนของกระบวนการติดตาม คือ ชวงของการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ซึ่งกําหนดเปนการติดตามราย 6 เดือน ครั้งที่ 1 (ตุลาคม – มีนาคม) และครั้งที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน) ใน แตละป เปนการติดตามวาแผนยุทธศาสตรการพัฒนาของเทศบาลเปนไปตามที่กาํ หนดไวหรือไม ซึ่งในการ ติดตามในขัน้ ตอนนี้เปนชวงที่ทําใหทราบวา แผนยุทธศาสตรที่ไดกําหนดไวดหี รือไม สามารถวัดไดจริงหรือ เปลา นอกจากนี้ การติดตามแบงเปนชวงของแผนยังสามารถเปน “สัญญาณเตือนภัยลวงหนา” วาแผน ยุทธศาสตรที่ไดกําหนดไวเปนไปตามเปาหมายที่ตั้งไวไดหรือไม เพื่อใหบุคลากรที่เกี่ยวของสามารถระดม ความคิดในการปรับเปลี่ยนวิธีการดําเนินงานที่จะสามารถนําไปสูการบรรลุแผนที่กําหนดไวได ซึ่งการรวบรวม ขอมูลใชในการติดตามผลการดําเนินงาน ไดแก แบบรายงานแบบที่ 2 แบบติดตามผลการดําเนินงานของ เทศบาล ซึ่งประกอบไปดวยการติดตามการดําเนินงานของโครงการ และการเปลี่ยนแปลงโครงการ การ ติดตามการใชจายงบประมาณ การติดตามโครงการที่ไดรับเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ตลอดจนปญหาและอุปสรรค ในการดําเนินงาน 3) สวนของการประเมินผลลัพธ เปนการติดตามผลชวงสุดทายหรืออาจเรียกวา “การประเมิน ยุทธศาสตร” ซึ่งจะแสดงใหเห็นวาเมื่อสิน้ สุดการดําเนินงานของแผนยุทธศาสตร ที่ผานมาในแตละป ผลที่ เกิดขึ้นเปนไปตามเปาหมายที่ไดกําหนดไวหรือไม รวมทั้งจัดทํารายงานผลการติดตามแผนยุทธศาสตรรายงาน ใหผูบริหารทองถิ่นทราบ และผูบริหารเสนอตอสภาเทศบาลทราบ และประกาศใหประชาชนทั่วไปทราบอยาง นอยปละ 1 ครั้ง นอกจากนีย้ ังใชเพื่อเปนประโยชนสําหรับเจาหนาทีแ่ ละเทศบาลในการพัฒนาแผนยุทธศาสตร ในอนาคตตอไป โดยเครื่องมือที่ใชในการประเมินผลลัพธ ไดแก แบบรายงานแบบที่ 3 แบบประเมินผลการ ดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร โดยมีเนือ้ หาสําคัญในการประเมิน ไดแก ความพึงพอใจของผูท ี่เกี่ยวของ ตอ ผลการดําเนินงานของเทศบาลในภาพรวม

-92-

6.3 การกําหนดหวงเวลาในการติดตามและประเมินผล คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล จะเปนผูกําหนดหวงระยะเวลาใน การติดตามและประเมินผล โดยคํานึงถึงความเหมาะสม ทั้งนี้จะกําหนดหวงระยะเวลาในการติดตามระหวาง การจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา และประเมินผลการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมื่อดําเนินการแลว เสร็จ ในแตละปจะมีการติดตามการนําแผนยุทธศาสตรไปสูการปฏิบัติอยางนอยปละ 1 ครั้ง แลวรายงานผล และเสนอความเห็นซึ่งไดจากการติดตามและประเมินผลตอนายกเทศมนตรี เพื่อใหเสนอตอสภาเทศบาล คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล และประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาใหประชาชนในทองถิน่ ทราบโดยทั่วกันอยางนอยปละ 1 ครั้ง ภายในเดือนธันวาคมของทุกป แสดงหวงระยะเวลาในการติดตามและ ประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล ดังนี้ หวงเวลาในการติดตามและประเมินผล ระบบติดตามผล ผูประเมิน รายงาน เทศบาล 1. ใชแบบรายงานแบบที่ 2 แบบติดตามผลการ ดําเนินงานของเทศบาล ราย 6 เดือน 2. รายงานใหผูบริหาร ทองถิ่นทราบ

ระบบประเมินผล ระยะเวลา ผูประเมิน รายงาน ระยะเวลา ทุก ๆ 6 เทศบาล 1. ใชแบบรายงานแบบที่ 1 เมื่อ การกํากับการจัดทําแผน เทศบาล เดือน ยุทธศาสตรของเทศบาล ประกาศใช แผนฯ 2. รายงานใหผูบริหาร ทองถิ่นทราบ 1. ใชแบบรายงานที่ 3 ทุก ๆ 1 ป ประเมินผลการ ดําเนินงานตามแผน ยุทธศาสตร โดยใชแบบ ประเมินความพึงพอใจ ตอผลการดําเนินงานของ เทศบาล เปนเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวม ขอมูล 2. รายงานใหผูบริหาร ทองถิ่นทราบ

-93แบบที่ 1 แบบชวยกํากับการจัดทําแผนยุทธศาสตรของทองถิ่นโดยตนเอง คําชี้แจง : แบบที่ 1 เปนแบบประเมินตนเองในการจัดทําแผนยุทธศาสตรขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยจะทําการประเมินและรายงานทุกๆ ครั้ง หลังจากทีอ่ งคกรปกครองสวนทองถิ่น ชื่อองคกรปกครองสวนทองถิ่น เทศบาลตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม มี ไมมี ประเด็นการประเมิน การดําเนินงาน การดําเนินงาน สวนที่ 1 คณะกรรมการพัฒนาทองถิน่ 1. มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลเพื่อจัดทําแผนพัฒนาทองถิน่ 2. มีการจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลเพื่อจัดทําแผนพัฒนา 3. มีการจัดประชุมอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ 4. มีการจัดตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล 5. มีการจัดประชุมคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิน่ 6. มีคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลและประชาคมทองถิ่นพิจารณารางแผน ยุทธศาสตรการพัฒนา สวนที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น 7. มีการรวบรวมขอมูลและปญหาสําคัญของทองถิ่นมาจัดทําฐานขอมูล 8. มีการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดทําแผนพัฒนา 9. มีการวิเคราะหศักยภาพของทองถิ่น (SWOT) เพื่อประเมินสถานภาพการ พัฒนาทองถิ่น 10. มีการกําหนดวิสยั ทัศนและภารกิจหลักการพัฒนาทองถิ่นที่สอดคลองกับ ศักยภาพของทองถิ่น 11. มีการกําหนดจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 12. มีการกําหนดเปาหมายเพื่อการพัฒนาทองถิ่น 13. มีการกําหนดยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนา 14. มีการกําหนดยุทธศาสตรที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของจังหวัด 15. มีการอนุมัติและประกาศใชแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 16. มีการกําหนดรูปแบบการติดตามและประเมินผลแผนยุทธศาสตร 17. มีการปรับปรุงและทบทวนแผนยุทธศาสตร (ลงชื่อ) ............................................................. ( ..........................................................)

ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล -94แบบที่ 2 แบบติดตามผลการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น คําชี้แจง : แบบที่ 2 เปนแบบติดตามตนเอง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อติดตามผลการดําเนินงานตามแผน ยุทธศาสตรขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ภายใตแผนพัฒนา 3 ป โดยมีกําหนดระยะเวลาในการติดตามและ รายงานผลการดําเนินงานทุกอยางนอยปละ 1 ครั้ง หลังสิ้นสุดปงบประมาณ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. ชื่อขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เทศบาลตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 2. รายงานผลการดําเนินงาน วัน / เดือน / ป ...................................................................................... สวนที่ 2 ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนา 3 ป 3. จํานวนโครงการและงบประมาณตามแผนพัฒนา 3 ป ป 2550 ป 2551 ยุทธศาสตร โครงการ

งบประมาณ

โครงการ

งบประมาณ

ป 2552 โครงการ

งบประมาณ

รวม โครงการ

งบประมาณ

1. ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 1 ดาน.................................... 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 2 ดาน.................................... 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 3 ดาน.................................... 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 4 ดาน.................................... 5. ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 5 ดาน.................................... 6. ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 6 ดาน.................................... 7. ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 7 ดาน.................................... รวม

/แบบที่ 2 หนา 1

-954. จํานวนโครงการและงบประมาณตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด ป 2549 ป 2550 ป 2551 รวม จํานวน งบ จํานวน งบ จํานวน งบ จํานวน งบ โครงการ ประมาณ โครงการ ประมาณ โครงการ ประมาณ โครงการ ประมาณ

ยุทธศาสตร 1. ยุทธศาสตรเชิงรุก 2. ยุทธศาสตรปรับตัว 3. ยุทธศาสตรยั่งยื่น รวม

5. ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาสามป ...............................ประจําป ............. จํานวนโครงการ ที่ดําเนินการ จํานวน รอยละ

ยุทธศาสตร

ยุทธศาสตรที่ ยุทธศาสตรที่ ยุทธศาสตรที่ ยุทธศาสตรที่ ยุทธศาสตรที่ ยุทธศาสตรที่ ยุทธศาสตรที่ รวม

จํานวนโครงการที่ ไมไดดําเนินการ รอยละ จํานวน รอยละ

งบประมาณ จํานวน

งบประมาณ จํานวน

รวม

รอยละ โครงการ

งบฯ

1 2 3 4 5 6 7

/แบบที่ 2 หนา 2

-96สวนที่ 3 ผลการดําเนินงานตามโครงการที่ไดรับเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 6. โครงการที่ไดรับเงินอุดหนุนเฉพาะกิจประจําป ......................... ผลการดําเนินการ งบประมาณ ดําเนินการ อยูระหวาง ยังไมได งบประมาณ งบประมาณ ที่เบิกจาย เสร็จแลว ดําเนินการ ดําเนินการ ที่ไดรับ

โครงการ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

เงินอุดหนุนนม เงินอุดหนุนอาหารกลางวัน เงินอุดหนุนดานกีฬา เงินอุดหนุนผูติดเชื้อเอดส เงินอุดหนุนคนพิการ เงินอุดหนุนเพื่อยังชีพผูสูงอายุ 7. เงินอุดหนุนการบริการ สาธารณสุข 8. เงินอุดหนุนทั่วไปแกไขปญหาภัย แลง 9. เงินอุดหนุนทั่วไปหอกระจายขาว 10. เงินอุดหนุนทั่วไปศูนยเด็กเล็ก/ คาครองชีพ สวนที่ 4 ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. /แบบที่ 2 หนา 3 (ลงชื่อ) ...........................................................

(.........................................................) ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล -97-

แบบที่ 3 แบบประเมินผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร คําชี้แจง : แบบที่ 3 เปนแบบประเมินตนเอง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชประเมินผลการดําเนินงานขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นตามยุทธศาสตรที่กําหนดไว และมีกําหนดระยะเวลาในการรายงานปละ 1 ครั้งหลังจาก สิ้นสุดปงบประมาณ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. ชื่อองคกรปกครองสวนทองถิ่น เทศบาลตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 2. วัน / เดือน / ป ...................................................................... สวนที่ 2 ยุทธศาสตร และโครงการในป ................... 3. ยุทธศาสตรและจํานวนโครงการที่ปรากฏอยูในแผน และจํานวนโครงการที่ไดปฏิบัติ จํานวนโครงการและงบประมาณ จํานวนโครงการ จํานวน ยุทธศาสตร ที่ปรากฏอยูใน งบประมาณ โครงการที่ได แผน ปฏิบตั ิ 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาดาน ............... ……………………………………….. 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดาน............... ............................................................... 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาดาน……….. ……………………………………….. 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาดาน.............. ............................................................. 5. ยุทธศาสตรการพัฒนาดาน………. ………………………………………. 6. ยุทธศาสตรการพัฒนาดาน………. ……………………………………… 7. ยุทธศาสตรการพัฒนาดาน………. ………………………………………. รวม

งบประมาณ

แบบ 3/หนา 1. -98สวนที่ 3 ผลการดําเนินงาน 4. ความพึงพอใจตอผลการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในภาพรวม ประเด็น 1. มีการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในโครงการ / กิจกรรม 2. มีการประชาสัมพันธใหประชาชนรับรูขอมูลของโครงการ/กิจกรรม 3. มีการเปดโอกาสใหประชาชนแสดงความคิดเห็นในโครงการ / กิจกรรม 4. มีการรายงานผลการดําเนินงานของโครงการ/กิจกรรมใหประชาชนทราบ 5. มีการเปดโอกาสใหประชาชนตรวจสอบการดําเนินโครงการ/กิจกรรม 6. การดําเนินงานเปนไปตามระยะเวลาที่กําหนด 7. ผลการดําเนินโครงการ/กิจกรรมนําไปสูการแกไขปญหาของประชาชน ในทองถิ่น 8. ประโยชนที่ประชาชนไดรับจากการดําเนินโครงการ/กิจกรรม ภาพรวม

พอใจมาก

พอใจ

ไมพอใจ

แบบ 3/หนา 2.

(ลงชื่อ) ........................................................ ( ..................................................... ) ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล

More Documents from "Tambon Sanmahapon"

April 2020 9
April 2020 16
April 2020 10
Yutthasard-binder2
April 2020 17
003khamnam-2
April 2020 15
April 2020 16