คู่มืองานธุรการ

  • Uploaded by: Tambon Sanmahapon
  • 0
  • 0
  • April 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View คู่มืองานธุรการ as PDF for free.

More details

  • Words: 5,783
  • Pages: 50
คูมือการปฏิบัติงานธุรการ จัดทําโดย

หนวยธุรการ

สํานักงานอธิการบดี ศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขาย คอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยนเรศวร

คํานํา คูมือหนวยธุรการฉบับนี้ เปนเอกสารที่ หนวยธุรการ ศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบ เครือขายคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดทําขึ้นเพื่อเปนขอมูลเบื้องตนในการจัดระบบงานให งายตอการปฏิบัติ โดยจะบรรยายวิธีการทํางานอยางละเอียดทุกขั้นตอน เพื่อใหผูปฏิบัติงานทํางานมี ความสามารถในการจัดวางระบบงาน รูจักวิธีการทํางานใหงาย จัดระบบเอกสารใหเปนที่เปนทาง สามารถคนหาไดงายฝกฝนตนเองใหเปนคนมีระเบียบ ซึ่งเปนการบริหารเวลาอยางมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล

หนวยธุรการ ศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขาย คอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยนเรศวร กรกฎาคม 2548

สารบัญ หนา สวนที่ 1 โครงสรางองคการ และการแบงสวนราชการของศูนยฝกอบรมและควบคุม ระบบเครือขายคอมพิวเตอร - โครงสรางองคกร และการแบงสวนราชการของศูนยฯ - โครงสรางการบริหารงานหนวยธุรการ สํานักงานเลขานุการ - ภาระงานของหนวยธุรการ สวนที่ 2 หลักการปฏิบัตงิ านธุรการ - นโยบายดานการดําเนินงานของหนวยธุรการ - การกําหนดหมวดหมูเ ลขรหัสของกลุมงานตาง ๆ - การรับหนังสือ - การสงหนังสือ - ขั้นตอนการเสนอหนังสือ - การออกเลขที่คําสั่งศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร - ประกาศศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร - วิธีการจัดเก็บเอกสาร สวนที่ 3 จุดออน จุดแข็ง ของหนวยธุรการ - วิเคราะหจดุ ออนและจุดแข็งของหนวยธุรการ - แนวทางการแกไขจุดออน - การพัฒนาจุดแข็ง

1 2 3 5 9 11 14 16 17 17 18 20 20 21

สวนที่ 1 โครงสรางองคกร และการแบงสวนราชการ ศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร

โครงสรางการบริหารงาน สํานักงานเลขานุการ ศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร ผูอํานวยการศูนยฯ

ผูชวยผูอํานวยการฝายบริหาร

เลขานุการศูนยฯ

หัวหนาหนวยธุรการ

หัวหนาหนวยพัฒนา ทรัพยากรมนุษย

หัวหนาหนวยอาคารสถานที่ และยานพาหนะ

หัวหนาหนวยนโยบาย และแผน

หัวหนาหนวยการเงิน และพัสดุ

หัวหนาหนวยการตลาดและ ประชาสัมพันธ

หัวหนาหนวยบริการ โสตทัศนูปกรณ และ สาธารณูปโภค

หัวหนาหนวยบริการ คอมพิวเตอร

2

หนวยธุรการ ™ ผูปฏิบัตงิ าน 1. นางสาววันวิภา 2. นางสาววิลาวัณย 3. นางสุมาลี

สายหยุด รีสมซา วิจิตรธนากร

™ ลักษณะงาน 1. รับนโยบายการบริหารงานจากหัวหนางานและนํานโยบายดังกลาวมาปฏิบัติอยางถูกตองเหมาะสม 2. มีหนาที่รับผิดชอบในการกําหนดกระบวนการทํางาน และการบริหารจัดการตามหนาที่ใหรวดเร็ว และ มีประสิทธิภาพ 3. ลงทะเบียนรับ - สงหนังสือราชการภายใน และภายนอกศูนยฯ 4. ประสานงานรับนัดหมายกําหนดการตาง ๆ ของบุคคลภายในงานบริการทั่วไป พรอมทั้งกรอกขอมูล กิจกรรมของกลุมงานบริการลงฐานขอมูลในระบบ e-CIC 5. ประสานงานระหวางบุคลากรภายในฝายกับบุคคลภายนอก ตามภารกิจตาง ๆ ของงานที่ไดรับมอบหมาย 6. ประสานการประชุมทั้งภายในและภายนอกงาน พรอมทั้งรับผิดชอบในการจัดทําระเบียบวาระการ ประชุม รายงานสรุปผลการประชุมใหกับบุคลากรภายในงานรับทราบ 7. อาน และพิจารณาแยกเรื่องดวนที่สุด ดวน ปกติ และประสานงานกับเจาของเรื่องเมือ่ ดําเนินการสง หนังสือเรียบรอยแลว 8. ติดตามเรื่องที่ออกจากศูนยฯโดยตรง ติดตามความกาวหนาและความสําเสร็จของงาน 9. การเวียนแจงหนังสือราชการภายในและภายนอก 10.พิมพหนังสือราชการภายในและภายนอก 11.รางโตตอบตรวจทานความถูกตองหนังสือภายในและภายนอกศูนยฯ กอนเสนอลงนาม 12.จัดทําขอมูล และปรับปรุงขอมูลบนฐานขอมูลสารบรรณอิเล็กทรอนิกสใหเปนปจจุบัน 13.งานอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย งานรอง 1. การมีสวนรวมในการจัดทําและดําเนินการตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมของศูนยฯ 2. ประสานงานดานการจัดทําฐานขอมูลของศูนยฯ เพื่อการบริหารกับงานพัฒนาระบบสารสนเทศ 3. ประสานงานดานเอกสารหลักฐานการประกันคุณภาพกับหนวยประกันคุณภาพ

สวนที่ 2 หลักการปฏิบัติงาน หนวยธุรการ

หนวยธุรการ ตามที่ศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร ไดจัดทํานโยบายของศูนยฯ เพื่อเปน เครื่องมือ และแนวทางในการปฏิบัติงานในดานตาง ๆ ของศูนยฯ ซึ่งมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรของ ชาติในการพัฒนาดาน ICT ยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยนเรศวร ในการสนับสนุนใหมีการนําเทคโนโลยี สารสนเทศมาเปนเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และใหสอดคลองกับภารกิจของศูนยฯ จึงไดกําหนดนโยบาย ในการปฏิบัติงานของหนวยธุรการ สํานักงานเลขานุการ ศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขาย คอมพิวเตอร ดังนี้ 1. นโยบายการปฏิบัตงิ าน ศูนยฯ มีนโยบายที่จะใหบุคลากรทุกคนของศูนยสามารถปฏิบัติงานดานเอกสารไดอยางมี ประสิทธิภาพทุกคน โดยไดกําหนดแนวทางการปฏิบัติงานดานเอกสารดังนี้ 1) บุคลากรทุกคนของศูนยฯ ตองสามารถรางหนังสือราชการ และทําหนังสือโตตอบ หนังสือราชการ ไดอยางมีคุณภาพ ตามระเบียบงานสารบรรณ 2) บุคลากรทุกคนของศูนยฯ ตองสามารถจัดทําวาระการประชุม บันทึกการประชุม และ จัดทํารายงานการประชุม ไดอยางมีคณ ุ ภาพ ตามระเบียบงานสารบรรณ 3) บุคลากรทุกคนของศูนยฯ ตองเปนผูที่มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษย สัมพันธ และทัศนคติทดี่ ีตอการทํางาน 4) บุคลากรทุกคนของศูนยฯ ตองเปนผูที่เสียสละ และอุทิศตัวใหกับงาน 5) บุคลากรทุกคนของศูนยฯ ตองมีจิตสํานึกในการปฏิบัติงานที่มุงเนนคุณภาพและ มาตรฐานของผลงาน 2. นโยบายการรับสงเอกสารงานธุรการ นโยบายการรับสงเอกสารนี้ เปนนโยบายที่หนวยธุรการของทุกกลุมงานตองดําเนินการ ใหเปนไปตามนโยบายนี้อยางเครงคัดทุกประการ 1) ลงทะเบียนรับ 1.1) ลงทะเบียนรับหนังสือ และออกเลขที่รับหนังสือตามรหัสของหนวย งานภายในที่เกี่ยวของ 1.2) อานและพิจารณาแยกเรื่องตามประเภทความเรงดวน เพือ่ นําเสนอ และดําเนินการ 1.3) เมื่อแฟมออกจาก ผูอํานวยการศูนยฯ แลว ใหสงเรื่องดวนไปยัง ธุรการกลุมงาน ภายใน 10 นาที หากเปนเรื่องปกติใหแจกจายใหเสร็จ ภายใน 1 วัน 2) สงหนังสือ 5

2.1) อานและพิจารณาแยกเรื่อง หากเปนเรื่องดวนใหแยกแฟมเสนอลงนาม ภายใน 10 นาที และดําเนินการสงใหผูเกี่ยวของภายใน 30 นาที หากเปน เรื่องปกติใหแจกจายใหเสร็จภายในวันเดียวกัน 2.2) เมื่อไดดําเนินการสงหนังสือเรียบรอยแลว ตองประสานงานกับเจาของ เรื่อง (กรณีหนังสือภายในมหาวิทยาลัย) 2.3) การติดตามเรื่องที่ออกจากศูนยฯ โดยตรง จะตองตรวจสอบกับผูรับปลาย ทางวาไดรับหรือไม ครบจํานวนหรือไม (เชน จดหมายลงทะเบียน FAX) 2.4) ขั้นตอนการเสนอเรื่องเพื่อดําเนินการในระดับกลุมงาน - เมื่อเรื่องออกจากผูอํานวยการแลว ธุรการของศูนยนําสงเอกสารให ธุรการของกลุมงานดําเนินการ - ธุรการกลุมงานลงทะเบียนรับและนําเรื่องเขาแฟมเสนอผูชวยกลุมงาน หรือ หัวหนางาน พิจารณา มอบหมายงาน - ธุรการกลุมงานดําเนินการแจกจายเอกสารตามนโยบายการลงทะเบียน รับ และการลงทะเบียนสง 3) การประสานงาน 3.1) การเดินทางไปราชการ • หนวยบุคคลดําเนินการตอบรับการลงทะเบียนเขารวมสัมมนา • แจงและมอบเอกสารใหแกผูที่ไดรับมอบหมายเขาสัมมนาทราบ และ ใหเจาตัวดําเนินการดังนี้ 1) ทําหนังสือขออนุมัติเดินทางไปราชการ 2) ทําเรื่องยืมเงินไปราชการ 3) จองที่พัก 4) ทํารายงานการเดินทาง 5) ทํารายงานผลการอบรมและสัมมนา 4) การเวียนแจงเรื่องเพื่อทราบและเรื่องประชาสัมพันธ 4.1 ทําการเวียนแจงผานทาง mail 4.2 เรื่องดวนใหแจงทราบภายใน 1 ชั่วโมง 4.3 เรื่องทั่วไปใหแจงใหทราบภายใน 1 วัน 4.4 ติดตามผลและรายงานผูบ ังคับบัญชา 4.5 รายงานผลใหแกหนวยงานเจาของเรื่องถึงความกาวหนาของงาน 6

5) การจัดเก็บและการคนหาเอกสาร 5.1 จัดเก็บโดยเอกสารตนฉบับจัดเก็บทีห่ นวยธุรการของศูนย และสําเนา สงไปยังหนวยงานที่เกีย่ วของ โดยมีการแยกจัดเก็บตามหมวดหมูดงั นี้ 5.1.1 หนังสือรับภายใน 1) หนังสือบันทึกขอความ 2) เอกสารการประชาสัมพันธจากหนวยงานภายใน มหาวิทยาลัย 3) เรื่องเกี่ยวกับการเงิน (จัดเก็บที่หนวยการเงิน) 4) เรื่องเกี่ยวกับพัสดุ (จัดเก็บทีห่ นวยพัสดุ) 5.1.2 หนังสือรับภายนอก 1) หนังสือที่รับจากทบวง 2) หนังสือที่รับจากกระทรวงการคลัง 3) หนังสือประชาสัมพันธการฝกอบรมและสัมมนา 4) หนังสือที่รับเขาเกี่ยวกับการวิจัย 5) เรื่องเกี่ยวกับการเงิน (จัดเก็บที่หนวยการเงิน) 6) เรื่องเกี่ยวกับพัสดุ (จัดเก็บทีห่ นวยพัสดุ) 5.1.3 หนังสือสงออกภายใน 5.1.4 หนังสือสงออกภายนอก 5.1.5 ขออนุมัติตาง ๆ 5.1.6 ขออนุมัติเดินทางไปราชการ 5.1.7 คําสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร 5.1.8 คําสั่งศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายฯ 5.1.9 ระเบียบ ประกาศ มหาวิทยาลัย 5.1.10 โครงการตามแผนปฏิบัติการ 5.2 การคนหาหนังสือ - กรณีเรื่องเรงดวน คนหาหนังสือตามคํารองขอภายใน 5 นาที - กรณีเรื่องปกติ คนหาหนังสือตามคํารองขอภายใน 10 นาที 6) การติดตามเรื่อง 6.1 เรื่องรับเขามาตองดําเนินการติดตามความกาวหนา และความสําเร็จของ งานเพื่อแจงผลการดําเนินงานใหกับตนเรื่องเดิมรับทราบ

7

6.2 เรื่องสงออกตองดําเนินการติดตามผลการสงเอกสารวาถึงผูรับปลายทาง หรือไม และติดตามความกาวหนา และความสําเร็จของงาน เพื่อแจง ผลการดําเนินงานใหกับตนเรื่องเดิมรับทราบ 6.3 การประสานงานทางโทรศัพท และผูทเี่ ขามาติดตอประสานงานโดยตรง 1. เมื่อไดรับการประสานงานจากโทรศัพท ใหรีบประสานงานกับ ผูเกี่ยวของทันที โดยการแจงผานโทรศัพทภายใน และ โทรศัพทมือถือของผูเกี่ยวของ 2. แจงผลใหแกเจาของเรื่องที่มาประสานใหทราบ 3. ติดตอประสานงานใหเรื่องดังกลาวใหแลวเสร็จ

8

การกําหนดหมวดหมูเลขรหัสของฝายตาง ๆ ของศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบคอมพิวเตอร หนวยธุรการ สํานักงานเลขานุการ ศูนยฝก อบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร ได แบงเลขรหัสของแตละกลุมงาน เพื่อเปนระบบ และกลไกลในการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ และมี ประสิทธิภาพในการบริหารงานธุรการดังนี้ 1. ศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร ที่ ศธ 0527.01.06/ เลขลําดับออกหนังสือ 2. สํานักงานเลขานุการ ที่ ศธ 0527.01.06(1)/ เลขลําดับของกลุมงาน ประกอบดวย 2.1 หนวยธุรการ 2.2 หนวยพัฒนาทรัยพากรมนุษย 2.3 หนวยการเงินและพัสดุ 2.4 หนวยนโยบายและแผน 2.5 หนวยบริการคอมพิวเตอร 2.6 หนวยการตลาด และประชาสัมพันธ 2.7 หนวยอาคารสถานที่และยานพาหนะ 2.8 หนวยโสตทัศนูปกรณ และสาธารณูปโภค 3. งานบริการวิชาการ 3.1 หนวยบริการจัดอบรม 3.2 หนวยวิเคราะหและพัฒนาหลักสูตร 4. งานมาตรฐานและวิจยั นวัตกรรม .4.1 หนวยวิจยั และประเมินผล 4.2 หนวยมาตรฐานและประกันคุณภาพ 5. งานบริการระบบเครือขายคอมพิวเตอร ที่ ศธ 0527.01.06(2)/ เลขลําดับหนังสือของกลุมงาน 5.1 หนวยปฏิบัติการระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3.2 หนวยบริการเว็ปไซด 3.3 หนวยบริการผูใชงานระบบเครือขายคอมพิวเตอร 6. งานพัฒนาระบบสารสนเทศ 6.1 หนวยวิเคราะหและออกแบบระบบ 6.2 หนวยพัฒนาโปรแกรม 6.3 หนวยติดตั้งและบํารุงรักษาระบบ 6.4 หนวยบริการผูใชงานระบบสารสนเทศ

9

7. งานวิเคราะหสื่อสารสนเทศ ที่ ศธ 0527.01.06(3)/ เลขลําดับหนังสือของกลุมงาน 7.1 หนวยวิเคราะหและออกแบบสื่อ 7.2 หนวยควบคุมระบบจัดการเรียนการสอน 7.3 หนวยบริการผูใชงานบทเรียนอิเล็กทรอนิกส 8. งานผลิตสื่อสิ่งพิมพ 8.1 หนวยสตูดิโอถายภาพ 8.2 หนวยผลิตสื่อสิ่งพิมพ 8.3 หนวยสําเนาและแปลงสื่อ 9. งานผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส 9.1 หนวยบันทึกวิดีทัศน 9.2 หนวยครุภัณฑกลุมงาน 9.3 หนวยตัดตอวิดีทัศน 9.4 หนวยบันทึกและตัดตอเสียง 9.5 หนวยคอมพิวเตอรกราฟฟก คําอธิบาย 1. ทุกกลุมงาน จะมีทะเบียนคุมเลขรหัสหนังสือโดยทีห่ นวยงานจะเรียงลําดับเปน 3 กลุมงาน เชน ที่ ศธ 0527.01.06(1) / ออกเลขตามลําดับ 2. กรณีที่เปนของศูนย ที่ ศธ 0527.01.06 / ตามดวยเลขที่ของศูนยฯ ศธ = กระทรวงศึกษาธิการ เลข = เลขทะเบียนของมหาวิทยาลัยนเรศวร ศธ 0527.01.06./ = ศูนยฝก อบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร ศธ 0527.01.06 (1)/ = กลุมงานบริการ ศธ 0527.01.06 (2)/ = กลุมงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศธ 0527.01.06 (3)/ = กลุมงานผลิตสื่อสารสนเทศ

10

1. การรับหนังสือเขา หนังสือรับ หมายถึง หนังสือที่ไดรับเขามาจากหนวยงานภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย สง เรื่องมายังศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร โดยหนวยธุรการของศูนย จะลงรับหนังสือ และจัดเสนอตามขึ้นตอน ดังนี้ 1. จัดลําดับความสําคัญ และความเรงดวนของหนังสือเพื่อดําเนินการกอนหลัง 2. ประทับตราลงรับหนังสือที่มุมดานขวาของหนังสือโดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 2.1 เลขรับ ใหลงเลขที่รับตามเลขที่รับในสมุดทะเบียนรับ 2.2 วันที่ ใหลงวัน เดือน ป ที่รบั หนังสือ 2.3 เวลา ใหลงเวลาที่รับหนังสือ 3. ลงทะเบียนรับหนังสือในทะเบียนหนังสือรับโดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 3.1 ทะเบียนหนังสือรับ วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวัน เดือน ป ที่ลงทะเบียนรับ 3.2 เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขลําดับของทะเบียนหนังสือรับเรียงลําดับติดตอกันไป ตลอดปปฏิทิน เลขทะเบียนของหนังสือรับจะตองตรงกับเลขที่ในการรับหนังสือ

3.3 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือที่รับเขามา 3.4 ลงวันที่ ใหลงวันเดือนปของหนังสือที่รับเขามา 3.5 จาก ใหลงตําแหนงเจาของหนังสือ หรือชื่อสวนราชการ หรือชื่อบุคลากรในกรณี ที่ไมมีตําแหนงระบุ 3.6 ถึง ใหลงตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อสวนราชการ หรือชื่อบุคคลในกรณี ที่ไมมีตําแหนงระบุ

3.7 เรื่อง ใหลงชือ่ เรื่องของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่ไมมชี ื่อเรื่องใหลงสรุปเรื่องยอ 3.8 การปฏิบัติ ใหบันทึกการปฏิบัติเกี่ยวกับหนังสือฉบับนั้น 4. คัดแยกหนังสือที่ลงทะเบียนรับ ตามสายงาน เจาหนาทีห่ นวยธุรการดําเนินการบันทึกให ความเห็น แลวเสนอเลขานุการศูนยตามลําดับขั้นสายการบังคับบัญชาจนถึงผูอํานวยการศูนยฯ 5. การรับหนังสือภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อไดรับหนังสือแลวใหหนวยธุรการปฏิบัติตาม ที่กลาวขางตนโดยอนุโลม 6. ตนเรื่องสงเอกสารที่งานธุรการ 7. ธุรการตรวจความเรียบรอยของเอกสาร 8. ถาเรื่องไมเรียบรอย หรือเอกสารไมครบใหกลับไปแกไขกอนแลวจึงมาสงใหม 9. หนวยธุรการดําเนินการรับเรื่องเสนอหัวหนาหนวยธุรการ 10. หัวหนาหนวยธุรการผานเรื่องเพื่อเสนอเลขานุการศูนยฯ มี 2 กรณี ไดแก 10.1 เรื่องแกไข ใหคนื เอกสารใหแกเจาของเรื่อง 10.2 เรื่องที่ยังไมสิ้นสุดใหเสนอผูอํานวยการศูนยฯ ตอไป 11

11. เสนอแฟมตอผูชวยผูอํานวยการกลุมงานตาง ๆ ไดแก 11.1 ผูชวยผูอํานวยการฝายบริหาร 11.2 ผูชวยผูอํานวยการฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ 11.3 ผูชวยผูอํานวยการฝายผลิตสื่อสารสนเทศ ตั้งแต ขอ 11.1 หรือ 11.2 หรือ 11.3 ผานเรื่อง ในกรณีเรื่องเกีย่ วของกับกลุมงานนั้น ๆ และเมือ่ พิจารณาแลวไมสามารถดําเนินการได ใหเสนอตอไปยังผูอํานวยการศูนยฯ ตอไป 12. ผูอํานวยการศูนยฯ ผานเรื่องเพื่อเสนอรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา มี 3 กรณี ไดแก 11.1 เรื่องแกไขใหคืนเอกสารใหแกตนเรือ่ ง 11.2 เรื่องที่สิ้นสุดใหดึงเรื่องออกจากแฟม และสําเนาใหแกผูเกีย่ วของ 11.3 เรื่องที่ยังไมสิ้นสุดใหเสนอตออธิการบดีตอไป 13. เสนอรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา เพื่อพิจารณาสั่งการตอไป มี 2 กรณี 13.1 รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา ลงนามสั่งการ 13.2 รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา เกษียณเรื่องเสนออธิการบดีเพือ่ พิจารณาสั่งการ 14. ธุรการนําแฟมออก จากหองรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา และหนาหองอธิการบดี เสนอตอเลขานุการศูนยฯ 15. เลขานุการศูนยฯ ดูแฟมเสร็จแลวใหหนวยธุรการสําเนาเรื่องตาง ๆ แจงไปยังผูเกี่ยวของเพื่อ ดําเนินการตอไป 16. สิ้นสุดการดําเนินงาน

12

อธิการบดี

เสนอรองฯวางแผน

กองแผนงาน

เสนอผอ.ลงนาม

เลขานุการศูนยฯ เสนอเพื่อพิจารณา

ธุรการศูนยฯ รับ

สํานักงาน เลขานุการ

บริการระบบ เครือขายฯ

บริการวิชาการ

พัฒนาระบบฯ

วิเคราะหสื่อฯ

ผลิตสื่อ อิเล็กทรอนิกส

ผลิตสื่อสิง่ พิมพ

มาตรฐานและ วิจัยนวัตกรรม

หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อดําเนินการ

หมายเหตุ

สั่งการ ดําเนินการ เสนอเพื่อพิจารณาลงนาม

13

2. การสงหนังสือ ตนฉบับ คือ หนังสือที่สงจากศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร ไปหนวยงาน ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยปฏิบัติตามขึ้นตอน ดังนี้ 1. ใหเจาของเรื่องตรวจความเรียบรอยของหนังสือ รวมทั้งสิ่งที่จะสงไปดวยใหครบถวนและ สงเรื่องที่หนวยธุรการของศูนยฯ 2. หนวยธุรการศูนยฯ โดยเลขานุการศูนยฯ ตรวจความเรียบรอยของหนังสืออีกครั้งหนึ่งวา เอกสารครบถวนหรือไม หรือพิมพขอความผิด จะดําเนินการสงคืนใหแกไขตอไป 3. หนวยธุรการเสนอเรื่องใหผอู ํานวยการศูนยฯ พิจารณาลงนาม 4. กรณีเสนอใหรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา หรืออธิการบดีลงนาม - เสนอผูอํานวยการศูนยฯ พิจารณา - เสนอรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา หรืออธิการบดีพิจารณาอนุมัติใหดําเนินการ 5. หนวยธุรการเสนอเลขานุการศูนยฯ เกี่ยวกับผลการอนุมัติใหดําเนินการ 6. หนวยธุรการศูนยฯ ลงทะเบียนหนังสือสงโดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 6.1 ทะเบียนหนังสือสง วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวันเดือนปที่ลงทะเบียน 6.2 เลขทะเบียนหนังสือสง ใหลงเลขลําดับของทะเบียนหนังสือสง 6.3 ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของสวนราชการเจาของเรื่องทับเลขที่หนังสือ สงออกในหนังสือที่จะสงออก เชน ที่ ศธ 0527.01.06/ 6.4 ลงวันที่ ใหลงวัน เดือน ปที่จะสงหนังสือนัน้ ออก 6.5 จาก ใหลงตําแหนงเจาของหนังสือ หรือชื่อสวนราชการ 6.6 ถึง ใหลงตําแหนงของผูทหี่ นังสือนั้นมีถงึ หรือถาไมมี หรือไมทราบใหใชชื่อสวนราชการ 6.7 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่ไมมีชอื่ เรื่องใหลงสรุปเรื่องยอจากหนังสือ สงมา 7. ลงเลขที่และวันเดือนปในหนังสือที่จะสงออกทัง้ ในตนฉบับ และสําเนาคูฉบับใหตรงกับเลข ทะเบียนสงและวันเดือนปในทะเบียนหนังสือสง 8. ดําเนินการจัดสงหนังสือ กระทําได 2 วิธีตามสถานการณ ดังตอไปนี้ 8.1 จัดสงหนังสือภายในมหาวิทยาลัย ใหจัดสงไปยังคณะ / หนวยงาน หรือสํานักงานที่ไปถึง 8.2 จัดสงหนังสือภายนอกมหาวิทยาลัย 9. กรณีออกเลขทะเบียนสง โดยอธิการบดี หรือรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา ตองดําเนินการ ออกจากกองกลาง งานสารบรรณ และสําเนาใหกองกลาง 1 ชุด และเก็บที่ธุรการศูนยฯ 1 ชุด

14

การสงหนังสือ หนวยงานทุกหนวยของศูนย

สํานักงาน เลขานุการ

งานบริการ วิชาการ

งานมาตรฐาน และวิจัย นวัตกรรม

งานบริการ ระบบเครือขาย

งานพัฒนา ระบบ สารสนเทศ

ธุรการของศูนยฯ

สํานักงาน เลขานุการ

งานบริการ วิชาการ

งาน มาตรฐาน วิจัยและ

งาน วิเคราะหสื่อ

งานผลิตสื่อ อิเล็กทรอนิกส

งานผลิตสื่อ สิ่งพิมพ

ผอ.ศูนยเพื่อพิจารณาลงนาม

งานบริการ ระบบเครือขาย

งานพัฒนาระบบ สารสนเทศ

งาน วิเคราะหสื่อ

งานผลิตสื่อ อิเล็กทรอนิกส

งานผลิตสื่อ สิ่งพิมพ

หนวยงานทุกหนวย(เจาของเรื่อง)

หมายเหตุ

สั่งการ ดําเนินการ เสนอเพื่อพิจารณาลงนาม

15

ขั้นตอนการเสนอหนังสือ (โดยรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา) อธิการบดี

รองอธิการบดีฝายวางแผนงาน

กองแผนงาน

ผอ.ศูนยฯ

ธุรการศูนยฯ

สํานักงาน เลขานุการ

พัฒนาระบบ

บริการวิชาการ

บริการระบบ เครือขาย

วิเคราะหสื่อ สารสนเทศ

ผลิตบทเรียน อิเล็กทรอนิกส

ผลิตสื่อสิ่งพิมพ

มาตรฐานและ วิจัยนวัตกรรม

หนวยงานเจาของเรื่อง

เสนอเพื่อพิจารณาลงนาม สั่งการ ดําเนินการ

16

3. การออกเลขที่คําสั่งศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัย นเรศวร เมื่อมีการจัดพิมพคําสั่งแตงตั้งของศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร โดย ผูอํานวยการศูนยฯ เปนผูลงนาม จะออกเลขที่คําสั่งในสมุดคําสั่งที่หนวยธุรการของศูนยฯ ปฏิบัตดิ ังนี้ 1. เจาของเรื่องจัดพิมพคําสั่งแตงตั้งภายในศูนยฯ 2. เสนอหนังสือตามลําดับสายการบังคับบัญชาถึงผูอํานวยการศูนยฯ หรือรองอธิการบดีฝาย วางแผนและพัฒนา ลงนาม 3. หนวยธุรการศูนยฯ ดําเนินการลงเลขที่คําสั่ง วันที่ ที่ หนวยธุรการศูนยฯ 4. สําเนาเรื่องแจกใหผูเกี่ยวของเพื่อดําเนินการตอไป 5. เก็บตนฉบับไวที่หนวยธุรการศูนยฯ ในแฟมคําสั่งศูนยฯ

4. การออกเลขที่คําสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อมีการจัดพิมพคําสั่งแตงตั้ง สามารถปฏิบัติตามขั้นตอน ดังตอไปนี้ 1. เจาของเรื่องจัดพิมพคําสั่งแตงตั้งการปฏิบัติงานของศูนยฯ 2. เสนอคําสั่งตามลําดับสายการบังคับบัญชาจนถึงอธิการบดีเปนผูลงนามคําสั่ง 3. หนวยธุรการศูนยฯ ลงเลขทีค่ ําสั่ง วันที่ ณ งานสารบรรณ กองกลาง สํานักงานอธิการบดี 4. สําเนาเรื่องแจกใหผูเกี่ยวของดําเนินการตอไป 5. เก็บตนฉบับไวที่หนวยธุรการศูนยฯ ในแฟมคําสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร 6. สําเนาคําสั่งสงใหงานสารบรรณ กองกลาง สํานักงานอธิการบดี เก็บไว จํานวน 1 ชุด เพื่อใช เปนหลักฐานอางอิงตอไป

5. ประกาศศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยนเรศวร การจัดทําประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อมีการจัดทําประกาศของมหาวิทยาลัย โดย ทานอธิการบดีเปนผูลงนาม หนวยธุรการศูนยฯ ปฏิบัตดิ ังนี้ 1. เจาของเรื่องจัดพิมพประกาศศูนยฯ 2. เสนอหนังสือตามลําดับขั้นสายการบังคับบัญชาจนถึงอธิการบดีลงนาม 3. หนวยธุรการลงบันทึกเรื่องในสมุดประกาศมหาวิทยาลัย ณ งานสารบรรรณ กองกลาง สํานักงานอธิการบดี 4. เก็บตนฉบับไวที่หนวยธุรการศูนยฯ 5. สําเนาเรื่องแจกใหผูเกี่ยวของเพื่อดําเนินการตอไป

6. วิธีการจัดเก็บเอกสาร 17

เอกสารที่เขามาภายในศูนยฝก อบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร จากแหลงตาง ๆ มีทุก ประเภทและมีจํานวนมาก เอกสารทุกฉบับมีความสําคัญจะตองเก็บไวเปนหลักฐาน เพื่อการคนควา จึง จําเปนตองเก็บเอกสารตาง ๆ ใหเปนหมวดหมู และมีระเบียบเพื่อความสะดวกในการคนหาไดงา ยสะดวก รวดเร็วและใหเอกสารอยูในสภาพที่เรียบรอยไมชํารุดเสียหาย ในการเก็บเอกสารที่เปนแฟกซมาให ดําเนินการถายเอกสารพรอมแนบแฟกซฉบับเดิมเขาไวดว ยกัน แลวจึงเก็บเอกสารตามระบบ เพื่อปองกัน การเก็บเปนเวลานานแลวขอความในแฟกซจะเลือนลางไมชัดเจน

การเก็บเอกสารตามหมวดหมูตามการปฏิบัติจริง 1 เรื่องตางๆ ภายในหนวยงานของศูนยฯ แบงเปนหมวดไดดังนี้ 1. รับเขาภายใน 2. รับเขาภายนอก 3. สงออกภายใน 4. สงออกภายนอก 5. ขออนุมัติตาง ๆ 6. ขออนุมัติเดินทางไปราชการ 7. คําสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร 8. คําสั่งศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร 9. โครงการตามแผนปฏิบัติการ 10. ระเบียบ ประกาศมหาวิทยาลัย

18

สวนที่ 3 จุดออน จุดแข็ง ของหนวยธุรการ

19

วิเคราะหจุดออนและจุดแข็งของหนวยธุรการ จุดออน

1. 2. 3. 4. 5. 6.

จํานวนบุคลากรที่ปฏิบัติหนาที่งานธุรการ มีจํานวนนอย การเสนอแฟมตามขั้นตอนลาชา การติดตอและประสานงานกับผูเกีย่ วของไมสะดวกเทาที่ควร วัสดุ/ครุภัณฑ ทีจ่ ัดเก็บคับแคบไมเพียงพอ เอกสารหาย เนื่องจาก การดึงเอกสารออกนอกแฟมระหวางนําเสนอตามขั้นตอน เอกสารที่จัดสงมาในบางเรื่องเปนเรื่องดวน ดวนมาก ดวนที่สุด ซึ่งเปนเรื่องเรงดวน แต หนังสือมาถึงลาชามาก หรือ เลยกําหนดวันที่จะดําเนินการ 7. การจัดทําเอกสารที่เรงดวน และไมมีการประชุมหารือกันกอน จึงทําใหเกิดการผิดพลาดได 8. ระบบการจัดเก็บขอมูลยังไมดีพอ 9. การประเมินศักยภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรยังไมชัดเจนมากนัก จุดแข็ง

1. บุคลากรที่ปฏิบัติหนาที่มีความรับผิดชอบตอหนาที่ตนไดรับมอบหมาย และมี มนุษยสัมพันธอันดีกับผูม าติดตองาน 2. บุคลากรที่ปฏิบัติหนาทีม่ ีความรู ความสามารถ ตรงกับสายงานการปฏิบัติงาน 3. ผูบริหารใหความดูแล และเอาใจใสอยางเครงครัด 4. มีการกําหนดโครงสรางที่ครอบคลุมภารกิจหลักของหนวยงาน 5. เปดโอกาสใหบุคลากรมีสวนรวมในการตัดสินใจ แสดงความคิดเห็นในการบริหาร 6. มีการพัฒนาบุคลากรในสายงานดานตาง ๆ อาทิ การจัดสงบุคลากรเขารับการอบรม

แนวทางการแกไขจุดออนและพัฒนาจุดแข็ง การแกไขจุดออน 1. เพิ่มอัตรากําลังในสวนของงานที่ไมเพียงพอ 2. การเสนอแฟมผานระบบงานตาง ๆ ควรมอบหมายใหผูดูแลและรับผิดชอบโดยตรง เปนผูผานระบบงานของตนเอง และนําเสนอตามขั้นตอน 3. ควรแจงใหผูเกี่ยวของไดทราบหมายเลขโทรศัพทที่สามารถติดตอไดทันที เมื่อมีงาน เรงดวน และมอบผูเกีย่ วของโดยตรงเปนผูติดตาม 20

4. ไมควรดึงเอกสารในแฟมออก หากตองการ ควรโทรศัพทแจง หรือ เขียนขอความ แจงใหหนวยงานไดทราบ 5. ควรมีการประสานงานในเรื่องตาง ๆ ดวยวาจากอนหนังสือจะมาถึง 6. ควรมีการจัดประชุม เพื่อหารือ และหาแนวทางรวมกัน ทั้งนี้เพื่อมิใหเกิดปญหาการ ทํางานไมเขาใจกัน และไมซับซอน และทําใหเสียเวลา 7. ควรจัดสงบุคลากรไปเขารับการอบรม สัมมนา ในเรือ่ งของการจัดระบบเอกสาร หรือ ควรมีการเก็บระบบงานใหสะดวก รวดเร็ว และสามารถคนหาได 8. ควรมีการประเมินศักยภาพการทํางานของบุคลากรอยางเครงครัด 9. ควรมีการประชุมกับหนวยงานที่เกี่ยวของในทุก ๆ 6 เดือน เพื่อใหงานเกิดความคลองตัว

พัฒนาจุดแข็ง 1. สงเสริมและพัฒนาบุคลากรในทุก ๆ ดานใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น 2. จัดใหมีการศึกษา ดูงาน และฝกทักษะใหเกิดความชํานาญ และคลองตัวยิ่งขึ้น 3. ควรมีการเปดโอกาสใหบุคลากร ไดมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมของมหาวิทยาลัย รวมกับสถาบัน/มหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใหมาก

21

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน หนวยธุรการ การรับเขาหนังสือ เมื่อไดรับหนังสือที่เขามาจากหนวยงานภายใน และหนวยงานภายนอกมหาวิทยาลัย สงเรื่องมายังศูนยฯ โดยหนวยธุรการ จะลงรับหนังสือ และจัดเสนอตามขั้นตอน ดังนี้ 1. จัดลําดับความสําคัญ และความเรงดวนของหนังสือ เพื่อดําเนินการกอนหลัง 2. พิจารณา คัดแยกประเภทหนังสือ 3. เปดซอง และตรวจเอกสาร 4. ลงทะเบียนรับเรื่อง โดยประทับตราลงรับหนังสือ ที่มุมดานขวาของหนังสือ และกรอกรายละเอียด ดังนี้ 4.1 เลขรับ ใหลงเลขที่รับตามเลขที่รับในทะเบียน 4.2 วันที่ ใหลงวัน เดือน ป ที่รับหนังสือ 4.3 เวลา ใหลงเวลาที่รบั หนังสือ 5. ลงทะเบียนรับหนังสือในทะเบียนหนังสือรับโดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 5.1 ทะเบียนหนังสือรับ วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวัน เดือน ป ที่ลงทะเบียนรับ 5.2 เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขลํากับของทะเบียนหนังสือรับเรียงลําดับติดตอกันไป ตลอดปปฏิทิน เลขทะเบียนของหนังสือรับจะตองตรงกับเลขที่ในการรับหนังสือ 5.3 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือที่รับเขามา 5.4 ลงวันที่ ใหลงวันเดือนปของหนังสือที่รับเขามา 5.5 จาก ใหลงตําแหนงเขาของหนังสือหรือสวนราชการหรือชื่อบุคลากรในกรณีทไี่ มมี ตําแหนงระบุ 5.6 ถึง ใหลงตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อสวนราชการ หรือชื่อบุคคลในกรณี ทีไมมีตําแหนงระบุ 5.7 การปฏิบัติ ใหบันทึกการปฏิบัติเกี่ยวกับหนังสือฉบับนั้น 6. เปดดูหนังสือราชการ บนเว็บไซดของระบบหนังสือราชการอิเล็กทรอนิกส http://nudoc.nu.ac.th ที่ สงมาใหศูนยฯ เพื่อเวียนแจงใหทราบ หรือดําเนินการตอไป โดยดําเนินการเปดเวลา 11.00 น. และเวลา 15.00 น. 7. หนวยธุรการดําเนินการอาน และพิจารณาแยกเรื่องตามประเภทความเรงดวน เพือ่ นําเสนอและ ดําเนินการ 8. หนวยธุรการ ดําเนินการบันทึกใหความเห็นแลวจึงนําแฟมเสนอเซ็นมาสงใหเลขานุการศูนยฯ พิจารณาเสนอเรื่องตอไป 9. หนวยธุรการศูนยฯ ดําเนินการตรวจความเรียบรอยของเอกสาร ถาเรื่องไมเรียบรอยหรือ เอกสารไมครบใหกลับไปแกไขกอน แลวจึงมาสงใหม 1

10. หัวหนาหนวยธุรการผานเรื่องเพื่อเสนอเลขานุการศูนยฯ มี 2 กรณี ไดแก 10.1 เรื่องแกไข ใหคนื เอกสารใหแกเจาของเรื่อง 10.2 เรื่องที่ยังไมสนิ้ สุดใหเสนอผูอํานวยการศูนยฯ ตอไป 11. เสนอแฟมตอผูชวยผูอํานวยการฝายตาง ๆ ไดแก 11.1 ผูชวยผูอํานวยการฝายบริหาร 11.2 ผูชวยผูอํานวยการฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ 11.3 ผูชวยผูอํานวยการฝายผลิตสื่อสารสนเทศ ตั้งแต ขอ 11.1 หรือ 11.2 หรือ 11.3 ผานเรื่อง ในกรณีเรื่องเกีย่ วของกับฝายนั้น ๆ และเมื่อพิจารณา แลวไมสามารถดําเนินการได ใหเสนอตอไปยังผูอํานวยการศูนยฯ ตอไป 12. ผูอํานวยการศูนยฯ ผานเรื่องเพื่อเสนอรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา มี 3 กรณี ไดแก 11.1 เรื่องแกไข ธุรการศูนยฯ ดําเนินการคืนเอกสารใหแกเจาของเรื่อง 11.2 เรื่องที่สิ้นสุด ธุรการศูนยฯดําเนินเรือ่ งออกจากแฟม และสําเนาใหแกผูเกี่ยวของ 11.3 เรื่องที่ยังไมสิ้นสุด ธุรการศูนยฯ ดําเนินการเสนอตออธิการบดีตอไป 13. เสนอรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา เพื่อพิจารณาสั่งการตอไป มี 2 กรณี 13.1 รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา ลงนามสั่งการ 13.2 รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา เกษียณเรื่องเสนออธิการบดีเพือ่ พิจารณาสั่งการ 14. ธุรการนําแฟมออก จากหองรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา และหนาหองอธิการบดี เสนอหัวหนาเลขานุการศูนยฯ 15. เลขานุการศูนยฯ ดูแฟมเสร็จแลวใหธุรการสําเนาเรื่องตาง ๆ แจงไปยังผูเกีย่ วของเพื่อดําเนิน การตอไป กรณีเรื่องดวน ภายใน 10 นาที หากเปนเรื่องปกติ ใหแจกจายใหแลวเสร็จภาย 1 วัน 16. สิ้นสุดการดําเนินงาน 17. นําหนังสือตนฉบับของเรื่องตางๆ เก็บเขาแฟมเอกสาร (หนวยธุรการ) ยกเวนเรื่องเกีย่ วกับการเงิน (เก็บทีห่ นวยการเงิน) วิธีการทํางาน 1. ถามีหนังสือเขามาภายในศูนยฯ ลงรับในทําเบียนรับเขาภายนอก – ภายใน ทําการบันทึกเสนอ ขอคิดเห็นของหนังสือ แลวนําเสนอตอเลขานุการศูนยฯ กอนทุกเรื่อง การรับหนังสือเขาจากภายนอกนั้นมีหลายกรณี ดังนี้ 1.1. ถาเปนหนังสือราชการตามหนวยงานตางๆ สงเขามาสามารถรับเขาไดเลย 1.2. จะยกเวนเรื่องของพัสดุจะมีใบเสนอราคาตัวจริงมาจากสถานที่ตาง ๆ และถามีบิลมาซึ่งเปน เรื่องของการเงินจากสถานทีต่ าง ๆ จากภายนอกสงมาเรียกเก็บเงิน เชน บริษัท ที ที แอนด ที คาโทรศัพท คา เชาสัญญาณ เขียนสงใหหนวยการเงินและบัญชีไดเลย 1.3. การรับหนังสือรับเขาภายในจะแบงเปน ตามคณะหรือหนวยงานตาง ๆ ฝายตาง ๆ ของ ศูนยฯ ขาวกองบริการ เอกสารประชาสัมพันธตามคณะหรือหนวยงานตาง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย 2

- ตามคณะ หนวยงานตาง ๆ และ ฝายตาง ๆ ของศูนยฯ รับเขาไดเลยแลวทําการเสนอตาม ขั้นตอน - ขาวกองบริการก็ใหรับเขาใสแฟมเสนอตามขั้นตอน - เอกสารประชาสัมพันธจะมี 2 กรณี 1.มีใบปะหนา 2. ไมมีใบปะหนา 1. มีใบปะหนารับเขาใบปะหนาแลวแนบตัวเอกสารประชาสัมพันธ 1 ชุด 2. ไมมีใบปะหนา ใสแฟมเสนอ ผอ. และใหหนวยการตลาดและประชาสัมพันธไดเลย 2. นําแฟมที่ผานเลขานุการศูนยฯ แลว เสนอตอ ผอ. (โดยผาน เลขา ผอ.) และเมื่อ เลขา ผอ. นําแฟมที่ ผอ. เซ็นเสร็จแลวมาให ก็นาํ แฟมใหเลขานุการศูนยตรวจดูอีกครั้ง แลวนําหนังสือมาถายเอกสาร เขียนลงสมุด สงเอกสารแลวนําไปแจกจายใหแกธุรการฝาย ที่ไดรับมอบหมาย เซ็นรับเรื่องเพื่อไปดําเนินการตอไป 5. ถาแฟมที่เสนอมีใหตอบกลับ ยินดี ตอบรับ ขอขอบคุณ ฯลฯ พิมพหนังสือตอบกลับไปหนวยงาน เจาของเรื่องนัน้ 6. สวนหนังสือรับเขาที่ผอ. สั่งการ เวียนแจง ประชาสัมพันธ นํามาถายเอกสารใหหนวยการตลาดและ ประชาสัมพันธ 1 ชุด 7. คําสั่ง หรือประกาศที่รับเขามาจากมหาวิทยาลัยดําเนินการเสร็จเรียบรอยตามขั้นตอนแลวนําเก็บเขา แฟมคําสั่งหรือประกาศ 8. หนังสือรับเขาทั้งภายในและภายนอกถาถายเอกสารแจกใหหนวยธุรการตาง ๆ ตามที่สั่งการแลวนํา เก็บเขาแฟมใหเรียบรอย ถาอันไหนเรียบรอยสมบูรณ ใหเขียนคําวา OK. กํากับไว การรับหนังสือเขาจากภายในมหาวิทยาลัย (เรื่องพิจารณารายละเอียดครุภัณฑคอมพิวเตอร) - ลงทะเบียนรับหนังสือ - นําแบบฟอรมบันทึกขอความ เรื่องพิจารณารายละเอียดครุภัณฑคอมพิวเตอร (ตามแบบฟอรม ที่หนวยธุรการ) แนบรายละเอียดเอกสารทีห่ นวยงานนั้น ๆ สงมา และดําเนินการนําเสนอคณะกรรมการ พิจารณาลงนาม - เมื่อคณะกรรมการของศูนยฯ ลงนามเสร็จแลว นําเรื่องดังกลาวออกเลขทะเบียนสงหนังสือ และนําสงคืนใหหนวยงานตนเรื่อง และเซ็นรับเอกสารคืนตอไป

3

ขั้นตอนการรับหนังสือ รับหนังสือ / เอกสาร (หนวยงานภายใน/นอก) เปดดูหนังสือรับในเว็บไซดของระบบ หนังสือราชการ อิเล็กทรอนิกส พิจารณาคัดแยกเรื่องตาม ความเรงดวนของหนังสือ ลงทะเบียนรับเรื่องและ เสนอเลขานุการศูนยตรวจสอบ

- - - ดําเนินการภายใน 1 วัน - ปฏิบัติตามระเบียบ - ทันเวลา ครบถวน

เลขานุการเสนอเรือ่ งตอผูอํานวยการ พิจารณา สั่งการ เสนอผูอํานวยการศูนยฯ ผานเรื่อง / พิจารณาสั่งการ

- - - - - - กรณีสั่งการเฉพาะเรื่อง ใหดําเนินการตาม สั่งการไดทันที

เสนอรองอธิการบดีฝายวางแผนและ พัฒนาเพื่อโปรดทราบ / สั่งการ

สงเรื่องใหแตละกลุมงาน หรือเรือ่ งที่มอบหมายให ไปดําเนินการตอไป

---- - - ทําหนังสือออก - ถายเอกสารแจงผูเกี่ยวของ - ตอบขอบคุณ / ชี้แจง - เสนอตอทานอธิการบดี

4

การเสนอเรื่องขออนุมัติ 1. แยกหนังสือที่เสนอ ตามลักษณะความสําคัญของเรื่อง แตใหจัดลําดับเรื่องที่ตองพิจารณากอนไว ขางหนา เรื่องที่ไดรับมากอนตองเสนอ เพือ่ ใหไดรับการปฏิบัติใหเสร็จกอน 2. มีการจัดหนังสือเสนอ โดยจัดใหสะดวกในการพิจารณา มีเอกสารประกอบการพิจารณา และมีการ บันทึกยอไวในหนังสือวามีเรื่องอะไรบาง 3. รับแฟมเอกสารคืน และตรวจสอบวาเรือ่ งใดไดรับการพิจารณา สั่งการ - กรณีขออนุมตั ิเบิกคาใชจาย หรือเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวกับการเงิน ดําเนินการดังนี้ 1. นําเรื่องผานหนวยการเงินทุกเรื่อง 2. เมื่อผานหนวยการเงินแลว นําแฟมเสนอเลขานุการศูนยฯพิจารณา 3. เสนอเรื่องตอ ผอ. (โดยผาน เลขา ผอ.) และเมื่อ เลขา ผอ. นําแฟมที่ ผอ. ลงนามเสร็จ แลวนําสงใหหนวยธุรการ 4. หนวยธุรการดําเนินการออกเลขทะเบียนสงออกภายใน และจัดทําสําเนาหนังสือ ประทับตราสําเนาคูฉบับ 5. จัดเก็บเอกสารเขาแฟมตามระเบียบงานสารบรรณ - กรณีเสนอแฟมเอกสารไปยังสํานักงานอธิการบดี ดําเนินการดังนี้ 1. นําแฟมเสนอเซ็นตสงใหกองแผนงาน ลงทะเบียนรับหนังสือ 2. กองแผนงานดําเนินการนําแฟมเสนอ รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา หรือ เสนอ อธิการบดี 3. เมื่อเรื่องอนุมัติเรียบรอยแลว หนวยธุรการดําเนินการพิจารณา และดําเนินการแจกจายใหกับ เจาของเรื่องนัน้ ๆ เพื่อดําเนินการตอไปดังนี้ 1. กรณีเรื่องขออนุมัติ ไดรบั อนุมัติกลับมาแลว ดําเนินการดังนี้ - ถายเอกสารมอบเจาของเรื่อง 1 ชุด - ตัวจริงเก็บที่หนวยธุรการ เก็บเขาแฟมอนุมัติ - ถายเอกสารมอบการเงิน 1 ชุด 2. กรณีการขออนุมัติเบิกคาใชจายโครงการตามแผนปฏิบัติการ ดําเนินการดังนี้ - ตัวจริงมอบหนวยการเงิน - ถายเอกสารเก็บไวที่หนวยธุรการ 1 ชุด เก็บเขาแฟมอนุมัติ - ถายเอกสารใหเจาของเรื่อง 1 ชุด 3. กรณีการขออนุมัติเบิกคาใชจายตาง ๆ ดําเนินการดังนี้ - ตัวจริงมอบหนวยการเงิน - ถายเอกสารมอบเจาของเรื่อง 1 ชุด (เฉพาะใบปะหนาตัวเรื่อง) - ถายเอกสารเก็บไวที่ธุรการ 1 ชุด (เฉพาะใบปะหนาตัวเรื่อง) เก็บเขาแฟมอนุมัติ 4. กรณีการขออนุมัติโครงการตามแผนปฏิบัติการ ดําเนินการดังนี้ 5

- ตัวจริงหนวยธุรการเก็บ - ถายเอกสารใหหนวยการเงิน 1 ชุด - ถายเอกสารใหหนวยประกันคุณภาพ 1 ชุด - ถายเอกสารมอบเจาของเรื่อง 2 ชุด เพือ่ ใชแนบเรื่องขอยืมเงินทําโครงการ 5. กรณีการขออนุมัติเดินทางไปราชการ ดําเนินการดังนี้ - ตัวจริงเก็บที่หนวยธุรการ เก็บเขาแฟมอนุมัติ - ถายเอกสารใหหนวยการเงิน 1 ชุด - ถายเอกสารใหหนวยบุคคล 1 ชุด - ถายเอกสารใหเจาของเรื่อง 2 ชุด และอีกชุดแนบใบยืมเงิน 6. กรณีการขออนุมัติปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ดําเนินการดังนี้ - ตัวจริงเก็บที่หนวยธุรการ เก็บเขาแฟมอนุมัติ - ถายเอกสารใหหนวยการเงิน 1 ชุด - ถายเอกสารใหเจาของเรื่อง 1 ชุด 7. กรณีการขออนุมัติเบิกคาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ดําเนินการดังนี้ 7.1 กรณีหนวยการเงิน ทําเรื่องขออนุมัติ - ตัวจริงเรื่องมอบหนวยการเงิน - ถายเอกสารเก็บไวที่ธุรการ 1 ชุด (เฉพาะใบปะหนาเรื่อง) 7.2 กรณีฝายอื่นทํา - ตัวจริงเรื่องมอบหนวยการเงิน - ถายเอกสารเก็บไวที่ธุรการ 1 ชุด (เฉพาะใบปะหนาเรื่อง) - ถายเอกสารมอบเจาของเรื่อง 1 ชุด (เฉพาะใบปะหนาเรื่อง) 8. กรณีการขออนุมัติจางซอมตาง ๆ ซึ่งเปนงานของหนวยพัสดุ เรื่องขออนุมัติจัดจาง โดยวิธี พิเศษ ทางหนวยพัสดุจะดําเนินการขออนุมัติเอง ธุรการออกเลขใหแลวใหหนวยพัสดุดําเนินการเลย

6

การสงหนังสือ เมื่อจัดพิมพหนังสือที่สงออกจากศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอรออกไปยังหนวยงาน ภายในและหนวยงานภายนอกมหาวิทยาลัยใหปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ใหเจาของเรื่องตรวจความเรียบรอยของหนังสือ รวมทั้งสิ่งที่จะสงไปดวยใหครบถวนและสงเรื่องที่ หนวยธุรการของศูนยฯ โดยดําเนินการ อาน และพิจารณาแยกเรื่อง หากเปนเรื่องดวน ใหแยกแฟมเสนอ ผูบังคับบัญชาลงนาม ภายใน 10 นาที และดําเนินการสงใหผูเกีย่ วของภายใน 30 นาที หากเปนเรือ่ งปกติ ให แจกจายใหเสร็จภายใน 1 วัน 2. หนวยธุรการดําเนินการตรวจความเรียบรอยของหนังสืออีกครั้งหนึ่งวา เอกสารครบถวนหรือไม หรือขอความที่พิมพมามีผิดตรงไหนบาง ก็จะสงคืนใหแกไข 3. หนวยธุรการศูนยฯ ลงทะเบียนสงหนังสือภายในโดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 3.1 ทะเบียนหนังสือสง วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวันเดือนปที่ลงทะเบียน 3.2 เลขทะเบียนหนังสือสง ใหลงเลขลําดับของทะเบียนหนังสือสง 3.3 ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของสวนราชการเจาของเรื่องทับเลขที่หนังสือ สงออกในหนังสือที่จะสงออก เชน ที่ ศธ 0527.01.06/……… 3.4 ลงวันที่ ใหลงวัน เดือน ปที่จะสงหนังสือนัน้ ออก 3.5 จาก ใหลงตําแหนงเจาของหนังสือ หรือชื่อสวนราชการ 3.6 ถึง ใหลงตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึง หรือถาไมมี หรือไมทราบใหใชชื่อสวนราชการ 3.7 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่ไมมีชอื่ เรื่องใหลงสรุปเรื่องยอจาก หนังสือสงมา 4. ลงเลขที่และวันเดือนปในหนังสือที่จะสงออกทั้งในตนฉบับ และสําเนาคูฉบับใหตรงกับ เลขทะเบียนสงและวันเดือนปในทะเบียนหนังสือสง 5. การลงทะเบียนหนังสือสง หรือการออกเลขที่หนังสือภายนอก โดยกรอกรายละเอียด ดังนี้ 5.1 ทะเบียนหนังสือสง วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวันเดือนปที่ลงทะเบียน 5.2 เลขทะเบียนหนังสือสง ใหลงเลขลําดับของทะเบียนหนังสือสง 5.3 ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของสวนราชการเจาของเรื่องทับเลขที่หนังสือ สงออกในหนังสือที่จะสงออก เชน ที่ ศธ 0527.01.06/……… 5.4 ลงวันที่ ใหลงวัน เดือน ปที่จะสงหนังสือนัน้ ออก 5.5 จาก ใหลงตําแหนงเจาของหนังสือ หรือชื่อสวนราชการ 5.6 ถึง ใหลงตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึง หรือถาไมมี หรือไมทราบใหใชชื่อสวนราชการ 5.7 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่ไมมีชอื่ เรื่องใหลงสรุปเรื่องยอจาก 8 หนังสือสงมา 5.8 ลงเลขที่และวันเดือนปในหนังสือที่จะสงออกทั้งในตนฉบับ และสําเนาคูฉบับให 7

ตรงกับเลขทะเบียนสงและวันเดือนปในทะเบียนหนังสือสง โดยลงเลขที่หนังสือออก ณ งานสารบรรณ กองกลาง สํานักงานอธิการบดี พรอมลงทะเบียนหนังสือสงเพื่อคุมยอดหนังสือสงและถายเอกสารไว จํานวน 2 ชุด เก็บไวที่ งานสารบรรณ กองกลาง สํานักงานอธิการบดี 1 ชุด และเก็บไวที่หนวยธุรการศูนย จํานวน 1 ชุด เพื่อใชเปนหลักฐานอางอิงตอไป 6. การดําเนินการจัดสงหนังสือ การจัดสงหนังสือจะดําเนินการจัดสงทุกวันแบงเปน 2 ชวง คือ ชวงเชา เวลา 10.00 น. และ ชวงบาย เวลา 14.00 น.

8

การสงหนังสือ สงหนังสือ / เอกสารเสนอผูอํานวยการศูนย รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา / อธิการบดี ลงนามหนังสือ (ภายในหนวยงาน)

ลงทะเบียนสงหนังสือของ แตละงาน

จัดสงหนังสือ / เอกสาร

--- - - - - - - - 1 วัน - ทันเวลาที่กําหนด

- - - - - - - - - - 1 วัน

เรื่องดวนภายใน 30 นาที

หนังสือภายนอก มหาวิทยาลัย

- - - - - - - - - - - - - - -1 วัน - - - - - - - - - - -- ---

ออกเลขที่ ศธ 0527.01/…. ที่งานสารบรรณ กองกลาง

ออกเลขที่หนังสือ ธุรการศูนย

หนวยธุรการศูนย จัดสงเอกสาร

สําเนาใหกองกลาง จํานวน 1 ชุด

หนังสือภายใน มหาวิทยาลัย

เจาหนาที่จัดสง เอกสาร

จัดเก็บเขาแฟมตาม ระเบียบงานสารบรรณ

สําเนาเก็บที่หนวย ธุรการ จํานวน 1 ชุด 9

การทําคําสั่งมหาวิทยาลัย หรือ ทําหนังสือสงออก ( โดยรองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา หรือ อธิการบดี เซ็น ) 1. หนวย / ฝาย ที่ทําคําสั่ง หรือ ทําหนังสือสงออก โดยทําบันทึกขอความ เรื่อง โปรดลงนาม ปะ หนามาให ผอ. ลงนาม และนําเสนอกับรองวางแผนและพัฒนา หรือ ทานอธิการบดีเพื่อลงนามอนุมัติ 2. เมื่อ คําสั่ง หรือ หนังสือออก ดังกลาวไดรบั การลงนามจาก รองวางแผนและพัฒนา หรือ อธิการบดีแลว หนวยธุรการดําเนินการขอเลขทะเบียนสงออก จากกองกลาง โดยโทรไป ที่เบอร 1110 หรือ ไป ขอดวยตัวเองที่กองกลาง งานสารบรรณ 3. ดําเนินการถายสําเนาให กองกลาง 1 ชุด และจัดทําสําเนาคูฉบับเก็บที่ธุรการ 1 ชุด 4. ตัวจริงนําสงใหเจาของเรื่องดําเนินการตอไป

การจัดเก็บเอกสาร เอกสารที่เขามาภายในศูนยฝก อบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร จากแหลงตาง ๆ มี ทุกประเภทและมีจํานวนมาก เอกสารทุกฉบับมีความสําคัญจะตองเก็บไวเปนหลักฐาน เพื่อการคนควา จึง จําเปนตองเก็บเอกสารตาง ๆ ใหเปนหมวดหมู และมีระเบียบเพื่อความสะดวกในการคนหาไดงายสะดวก รวดเร็ว และใหเอกสารอยูในสภาพที่เรียบรอยไมชํารุดเสียหาย ในการเก็บเอกสรที่เปนแฟกซมาใหดําเนินการ ถายเอกสารพรอมแนบแฟกซฉบับเดิมเขาไวดว ยกัน แลวจึงเก็บเอกสารตามระบบ เพื่อปองกันการ เก็บเปนเวลานานแลวขอความในแฟกซจะเลือนลางไมชัดเจน ดังนั้น การเก็บเอกสารจึงตองเก็บเปน เอกสารตามหมวดหมูต ามการปฏิบัติจริง แบงเปนหมวดหมูไดดังนี้ 1. รับเขาภายใน 2. รับเขาภายนอก 3. สงออกภายใน 4. สงออกภายนอก 5. อนุมัติตาง ๆ 6. ขออนุมัติเดินทางไปราชการ 7. คําสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร 8. คําสั่งศูนยฝกอบรมและควบคุมระบบเครือขายคอมพิวเตอร 9. โครงการตามแผนปฏิบัติการ 10. ระเบียบ ประกาศ

10

การจัดประชุม 1. จัดทําหนังสือเชิญประชุมและสงไปยังผูเ กี่ยวของ 2. จัดทําหนังสือขออนุมัติจัดประชุมและงบประมาณเสนอผูอํานวยการศูนยฯ และใหรองอธิการบดีฝาย วางแผนและพัฒนา หรืออธิการบดี เพื่ออนุมัติ 3. จัดเตรียมขอมูลเพื่อประกอบการประชุม - รายงานการประชุม (ครั้งกอน) - วาระการประชุม (ปจจุบัน) - กําหนด วัน เวลา - เตรียมสถานที่ / อุปกรณ - นัดผูเขารวมประชุม - ใบเซ็นชือ่ เขารวมประชุม - ดําเนินการประชุม 4. เมื่อดําเนินการประชุมเรียบรอยแลว ฝายเลขานุการจะจัดทําสรุปรายงานการประชุม และจะเสนอ ผูบังคับบัญชาตามขั้นตอนตอไป 5. ฝายเลขานุการ ดําเนินการติดตามตามมติการประชุมไปปฏิบัติ 6. สรุปรายงานการประชุม และจัดสงไปยังผูเขารวมประชุม และเซ็นรับเอกสาร

การประสานงาน 1. การเดินทางไปราชการ - หนวยบุคคลดําเนินการตอบรับการลงทะเบียนเขารวมสัมมนา - แจงและมอบเอกสารใหแกผูที่ไดรับมอบหมายเขารวมสัมมนาทราบ และใหเจาตัวดําเนินการ ดังนี้ 1. ทําหนังสือขออนุมัติเดินทางไปราชการ 2. ทําเรื่องยืมเงินไปราชการ 3. จองที่พัก 4. ทํารายงานการเดินทาง 5. ทํารายงานผลการอบรมสัมมนา

การแจงเวียน 1. ทําการแจงเวียนผานทาง Mail 2. เรือ่ งดวนแจงใหทราบภายใน 1 ชั่วโมง 3. เรือ่ งปกติ แจงใหทราบภายใน 1 วัน 11

4. ติดตามผล และรายงานผูบังคับบัญชา 5. รายงานผลใหแกหนวยงานเจาของเรื่องถึงความกาวหนาของงาน

การคนหาหนังสือ 1. กรณีเรื่องดวน คนหาหนังสือตามคํารองขอภายใน 5 นาที 2. กรณีเรื่องปกติ คนหาหนังสือตามคํารองขอภายใน 10 นาที

การติดตามเรื่อง 1. เรื่องรับเขามาตองดําเนินการติดตามความกาวหนา และความสําเร็จของงาน เพื่อแจงผลการดําเนินงาน ใหกับตนเรื่องเดิมรับทราบ 2. เรื่องสงออก ตองดําเนินการติดตามผลการสงเอกสารวาถึงผูรับปลายทางหรือไม และติดตาม ความกาวหนา และความสําเร็จของงาน เพือ่ แจงผลกการดําเนินงานใหกับตนเรื่องเดิมรับทราบ 3. การประสานงานทางโทรศัพท และผูที่เขามาติดตอประสานงานโดยตรง - เมื่อไดรับการประสานงานจากทางโทรศัพท ใหรีบประสานงานกับผูเกีย่ วของทันที โดยการ แจงผานทางโทรศัพทภายใน โทรศัพทมือถือของผูเกี่ยวของ - แจงผลใหแกเจาของเรื่องที่มาประสานใหทราบ - ติดตอประสานงานใหเรื่องดังกลาวใหแลวเสร็จ

12

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 -----------------------

โดยทีเ่ ปนการสมควรปรับปรุงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณพ.ศ. 2506 เสียใหมใหเหมาะสมยิง่ ขึน ้ คณะรัฐมนตรีจงึ วางระเบียบไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา"ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526" ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2526 เปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิก 3.1 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506 3.2 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2507 3.3 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการลงชื่อในหนังสือราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 บรรดาระเบียบ ขอบังคับ มติของคณะรัฐมนตรี และคําสั่งอื่นใด ในสวนที่กาํ หนดไวแลวใน ระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน เวนแตกรณีที่กลาวในขอ 5 ขอ 4 ระเบียบนี้ใหใชบังคับแกสวนราชการ สวนราชการใดมีความจําเปน ที่จะตองปฏิบต ั ิงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ไดกําหนดไว ในระเบียบนี้ใหขอทําความตกลงกับผูรักษาการตามระเบียบนี้ ขอ 5 ในกรณีที่กฎหมายหรือระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ กําหนดวิธี ปฏิบต ั ิเกีย่ วกับงานสารบรรณไวเปนอยางอืน ่ ใหถือปฏิบัตต ิ ามกฎหมายหรือระเบียบวาดวยการนั้น ขอ 6 ในระเบียบนี้ "งานสารบรรณ" หมายความวา งานที่เกีย่ วกับการบริหารงานเอกสารเริม ่ ตัง้ แต การจัดทํา การรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย "หนังสือ" หมายความวา หนังสือราชการ "สวนราชการ" หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอืน ่ ใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมภ ิ าค ราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือในตางประเทศ และใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย "คณะกรรมการ" หมายความวา คณะบุคคลทีไ่ ดรับมอบหมายจากทางราชการใหปฏิบัติงาน ในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะบุคคลอื่นทีป ่ ฏิบต ั ิงานใน ลักษณะเดียวกัน ขอ 7 คําอธิบายซึง่ กําหนดไวทายระเบียบ ใหถือวาเปนสวนประกอบที่ใชในงานสารบรรณและ ใหใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ ขอ 8 ใหปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรก ั ษาการตามระเบียบนี้ และใหมอ ี ํานาจดีความ และวินจิ ฉัย ปญหาเกี่ยวกับการปฏิบต ั ิตามระเบียบนี้ รวมทัง้ การแกไขเพิม ่ เติมภาคผนวกและจัดทําคําอธิบาย กับใหมี หนาที่ดําเนินการฝกอบรมเกีย่ วกับงานสารบรรณ การตีความ การวินจิ ฉัยปญหา และการแกไขเพิม ่ เติมภาคผนวก และคําอธิบายตามวรรคหนึ่ง ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีจะขอความเห็นจาก คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบสํานักนายก รัฐมนตรีเพื่อประกอบการพิจารณาก็ได หมวด 1 ชนิดของหนังสือ ขอ 11 หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี โดยใชกระดาษตราครุฑ เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถงึ หนวยงานอื่นใดซึง่ มิใชสวนราชการ หรือที่มี ถึงบุคคลภายนอก ใหจัดทําตามแบบที่ 1 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 11.1 ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเรือ ่ ง ตามที่กําหนด ไวใน ภาคผนวก 1 ทับเลขทะเบียนหนังสือสง สําหรับหนังสือของคณะกรรมการใหกําหนดรหัสตัวพยัญชนะเพิม ่ ขึ้นไดตามความจําเปน 11.2 สวนราชการเจาของหนังสือ ใหลงชือ ่ สวนราชการ สถานที่ราชการหรือคณะ กรรมการซึง่ เปนเจาของหนังสือนัน ้ และโดยปกติใหลงที่ตั้งไวดว ย 11.3 วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของป พุทธศักราชที่ออกหนังสือ 11.4 เรื่อง ใหลงเรื่องยอทีเ่ ปนใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับนัน ้ ในกรณีที่เปน หนังสือตอเนื่องโดยปกติใหลงเรื่องของหนังสือฉบับเดิม

11.5 คําขึน ้ ตน ใหใชคําขึน ้ ตนตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใชคําขึ้นตน สรรพนาม และคําลงทาย ที่กําหนดไวในภาคผนวก 2 แลวลงตําแหนงของผูที่หนังสือนัน ้ มีถงึ หรือชื่อบุคคล ในกรณีทม ี่ ีถึงตัวบุคคลไมเกีย่ วกับตําแหนงหนาที่ 11.6 อางถึง (ถามี) ใหอางถึงหนังสือที่เคยมีติดตอกันเฉพาะหนังสือที่สวนราชการผู รับหนังสือไดรบ ั มากอนแลว จะจากสวนราชการใดก็ตาม โดยใหลงชื่อสวนราชการเจาของหนังสือและเลขที่ หนังสือ วันที่ เดือน ปพท ุ ธศักราชของหนังสือนัน ้ การอางถึง ใหอางถึงหนังสือฉบับสุดทายทีต ่ ิดตอกันเพียงฉบับเดียว เวนแตมีเรื่อง อื่น ที่เปนสาระสําคัญตองนํามาพิจารณา จึงอางถึงหนังสือฉบับอื่น ๆ ที่เกีย่ วกับเรื่องนัน ้ โดยเฉพาะใหทราบ ดวย 11.7 สิ่งที่สงมาดวย (ถามี) ใหลงชื่อสิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสารที่สงไปพรอม กับหนังสือนั้นในกรณีทไี่ มสามารถสงไปในซองเดียวกันไดใหแจงดวยวาสงไปโดยทางใด 11.8 ขอความ ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย หากมีความ ประสงคหลายประการใหแยกเปนขอ ๆ 11.9 คําลงทาย ใหใชคําลงทายตามฐานะของผูรบ ั หนังสือ ตามตารางการใชคําขึ้น ตน สรรพนาม และคําลงทาย ที่กําหนดไวในภาคผนวก 3 11.10 ลงชื่อ ใหลงลายมือชื่อเจาของหนังสือ และใหพม ิ พชอ ื่ เต็มของเจาของลายมือ ชื่อไวใตลายมือชื่อ ตามรายละเอียดที่กําหนดไวในภาคผนวก 3 11.11 ตําแหนง ใหลงตําแหนงของเจาของหนังสือ 11.12 สวนราชการเจาของเรื่อง ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงานที่ ออกหนังสือ ถาสวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับกระทรวงหรือทบวง ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง ทั้งระดับกรมและกอง ถาสวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับกรมลงมา ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง เพียงระดับกองหรือหนวยงานที่รบ ั ผิดชอบ 11.13 โทร. ใหลงหมายเลขโทรศัพทของสวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงาน ที่ออกหนังสือ และหมายเลขภายในตูสาขา (ถามี) ไวดวย 11.14 สําเนาสง (ถามี) ในกรณีทผ ี่ ูสงจัดทําสําเนาสงไปใหสวนราชการ หรือบุคคล อื่นทราบ และประสงคจะใหผูรบ ั ทราบวาไดมีสําเนาสงไปใหผูใดแลว ใหพิมพชื่อเต็มหรือชื่อยอของสวนราช การหรือชื่อบุคคลทีส ่ งสําเนาไปให เพื่อใหเปนที่เขาใจระหวางผูสงและผูรับ ถาหากมีรายชื่อที่สงมากใหพิมพ วาสงไปตามรายชื่อที่แนบและแนบรายชื่อไปดวย สวนที่ 2 หนังสือภายใน ขอ 12 หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธน ี อยกวาหนังสือภายนอก เปน หนังสือติดตอภายในกระทรวงทบวงกรมหรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ และใหจัดทําตาม แบบที่ 2 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 12.1 สวนราชการ ใหลงชือ ่ สวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงานที่ออกหนังสือ โดยมีรายละเอียดพอสมควร โดยปกติถาสวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับกรมขึน ้ ไป ใหลงชื่อสวนราช การเจาของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง ถาสวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับต่ํากวากรมลงมา ใหลงชื่อ สวนราชการเจาของเรื่องเพียงระดับกอง หรือสวนราชการเจาของเรื่องพรอมทั้งหมายเลขโทรศัพท (ถามี) 12.2 ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเรือ ่ ง ตามที่กําหนดไวใน ภาคผนวก 1 ทับเลขทะเบียนหนังสือสง สําหรับหนังสือของคณะกรรมการใหกําหนดรหัสตัวพยัญชนะเพิม ่ ขึ้นไดตามความจําเปน 12.3 วันที่ ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปพุทธศักราชที่ ออกหนังสือ 12.4 เรื่อง ใหลงเรื่องยอที่เปนใจความสั้นทีส ่ ุดของหนังสือฉบับนัน ้ ในกรณีที่เปน หนังสือตอเนื่อง โดยปกติใหลงเรื่องของหนังสือฉบับเดิม 12.5 คําขึน ้ ตน ใหใชคําขึน ้ ตนตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใชคําขึ้นตน สรรพนาม และคําลงทาย ที่กําหนดไวในภาคผนวก 2 แลวลงตําแหนงของผูที่หนังสือนัน ้ มีถงึ หรือชื่อบุคคล ในกรณีทม ี่ ีถึงตัวบุคคลไมเกีย่ วกับตําแหนงหนาที่ 12.6 ขอความ ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย หากมีความ ประสงคหลายประการใหแยกเปนขอ ๆ ในกรณีที่มก ี ารอางถึงหนังสือที่เคยมีตด ิ ตอกัน หรือมีสิ่งที่สงมาดวย ใหระบุไวในขอนี้ 12.7 ลงชือ ่ และตําแหนง ใหปฏิบัตต ิ ามขอ 11.10 และขอ 11.11 โดยอนุโลม ในกรณี ที่กระทรวงทบวงกรมหรือจังหวัดใด ประสงคจะกําหนดแบบการเขียนโดยเฉพาะ เพือ ่ ใชตามความเหมาะสมก็ใหกระทําได สวนที่ 3 หนังสือประทับตรา ขอ 13 หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราช

การระดับกรมขึน ้ ไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูท่ไี ดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการ ระดับกรมขึน ้ ไป เปนผูรบ ั ผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตราใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราช การกับบุคคลภายนอกเฉพาะกรณีทไี่ มใชเรื่องสําคัญ ไดแก 13.1 การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 13.2 การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร 13.3 การตอบรับทราบที่ไมเกีย่ วกับราชการสําคัญหรือการเงิน 13.4 การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ 13.5 การเตือนเรื่องที่คาง 13.6 เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนด โดยทําเปนคําสั่งใหใช หนังสือประทับตรา ขอ 14 หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ และใหจัดทําตามแบบที่ 3 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 14.1 ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเรือ ่ ง ตามที่กําหนดไวใน ภาคผนวก 1 ทับเลขทะเบียนหนังสือสง 14.2 ถึง ใหลงชื่อสวนราชการ หนวยงาน หรือบุคคลที่หนังสือนั้นมีถงึ 14.3 ขอความ ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย 14.4 ชื่อสวนราชการที่สงหนังสือออก ใหลงชื่อสวนราชการที่สงหนังสือออก 14.5 ตราชื่อสวนราชการ ใหประทับตราชือ ่ สวนราชการตามขอ 72 ดวยหมึกแดง และใหผูรับผิดชอบลงลายมือชื่อยอกํากับตรา 14.6 วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลขของปพท ุ ธ ศักราชที่ออกหนังสือ 14.7 สวนราชการเจาของเรื่อง ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงานที่ ออกหนังสือ 14.8 โทร. หรือที่ตั้ง ใหลงหมายเลขโทรศัพทของสวนราชการเจาของเรื่อง และ หมายเลขภายในตูส  าขา (ถามี) ดวย ในกรณีทไี่ มมโี ทรศัพท ใหลงทีต ่ ั้งของสวนราชการเจาของเรื่อง โดยให ลงตําบลที่อยูตามความจําเปน และแขวงไปรษณีย (ถามี) สวนที่ 4 หนังสือสั่งการ ขอ 15 หนังสือสั่งการ ใหใชตามแบบทีก ่ ําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมายกําหนด แบบไวโดยเฉพาะ หนังสือสั่งการมี 3 ชนิด ไดแก คําสั่ง ระเบียบ และขอบังคับ ขอ 16 คําสั่ง คือ บรรดาขอความที่ผูบงั คับบัญชาสั่งการใหปฏิบัติโดยชอบดวยกฎหมายใช กระดาษตราครุฑ และใหจัดทําตามแบบที่ 4 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 16.1 คําสั่ง ใหลงชื่อสวนราชการหรือตําแหนงของผูมีอํานาจที่ออกคําสั่ง 16.2 ที่ ใหลงเลขที่ที่ออกคําสั่ง โดยเริม ่ ฉบับแรกจากเลข 1 เรียงเปนลําดับ ไปจนสิน ้ ปปฏิทน ิ ทับเลขปพท ุ ธศักราชที่ออกคําสั่ง 16.3 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องที่ออกคําสั่ง 16.4 ขอความ ใหอางเหตุที่ออกคําสั่ง และอางถึงอํานาจที่ใหออกคําสั่ง (ถามี)ไวดว ย แลวจึงลงขอความทีส ่ ั่ง และวันใชบงั คับ 16.5 สั่ง ณ วันที่ ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปพุทธ ศักราชที่ออกคําสั่ง 16.6 ลงชือ ่ ใหลงลายมือชือ ่ ผูออกคําสั่ง และพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือชื่อ ไวใต ลายมือชื่อ 16.7 ตําแหนง ใหลงตําแหนงของผูออกคําสั่ง ขอ 17 ระเบียบ คือ บรรดาขอความทีผ ่ ูมีอํานาจหนาที่ไดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจของ กฎหมายหรือไมกไ็ ด เพื่อถือเปนหลักปฏิบต ั ิงานเปนการประจํา ใชกระดาษตราครุฑ และใหจัดทําตามแบบที่ 5 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 17.1 ระเบียบ ใหลงชื่อสวนราชการที่ออกระเบียบ 17.2 วาดวย ใหลงชื่อของระเบียบ 17.3 ฉบับที่ ถาเปนระเบียบทีก ่ ลาวถึงเปนครั้งแรกในเรื่องนั้น ไมตองลงวาเปนฉบับ ที่เทาใด แตถาเปนระเบียบเรื่องเดียวกันทีม ่ ีการแกไขเพิม ่ เติมใหลงเปน ฉบับที่ 2 และที่ถัด ๆ ไป ตามลําดับ 17.4 พ.ศ. ใหลงตัวเลขของปพุทธศักราชที่ออกระเบียบ 17.5 ขอความ ใชอางเหตุผลโดยยอ เพื่อแสดงถึงความมุงหมายทีต ่ องออกระเบียบ และอางถึงกฎหมายที่ใหอํานาจออกระเบียบ (ถามี) 17.6 ขอ ใหเรียงขอความทีจ่ ะใชเปนระเบียบเปนขอ ๆ โดยใหขอ 1 เปนชือ ่ ระเบียบ ขอ 2 เปนวันใชบังคับกําหนดวาใหใชบังคับตั้งแตเมือ ่ ใด และขอสุดทาย เปนขอผูรักษาการ ระเบียบใดถามี มากขอหรือหลายเรือ ่ งจะแบงเปนหมวดก็ได โดยใหยา ยขอผูรักษาการไปเปนขอสุดทายกอนทีจ่ ะขึ้นหมวด 1 17.7 ประกาศ ณ วันที่ ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของ

ปพุทธศักราชที่ออกระเบียบ 17.8 ลงชือ ่ ใหลงลายมือชือ ่ ผูออกระเบียบ และพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือชื่อไว ใตลายมือชื่อ 17.9 ตําแหนง ใหลงตําแหนงของผูออกระเบียบ ขอ 18 ขอบังคับ คือ บรรดาขอความที่ผม ู ีอํานาจหนาที่กําหนดใหใช โดยอาศัยอํานาจของ กฎหมายทีบ ่ ัญญัตใิ หกระทําได ใชกระดาษตราครุฑ และใหจัดทําตามแบบที่ 6 ทายระเบียบ โดยกรอกราย ละเอียดดังนี้ 18.1 ขอบังคับ ใหลงชื่อสวนราชการที่ออกขอบังคับ 18.2 วาดวย ใหลงชื่อของขอบังคับ 18.3 ฉบับที่ ถาเปนขอบังคับที่กลาวถึงเปนครั้งแรกในเรื่องนั้น ไมตองลงวาเปนฉบับ ที่เทาใด แตถาเปนขอบังคับเรื่องเดียวกันทีม ่ ีการแกไขเพิ่มเติมใหลงเปนฉบับที่ 2 และที่ถัด ๆ ไปตามลําดับ 18.4 พ.ศ. ใหลงตัวเลขของปพุทธศักราชที่ออกขอบังคับ 18.5 ขอความ ใหอางเหตุผลโดยยอเพื่อแสดงถึงความมุง หมายทีต ่ องออกขอบังคับ และอางถึงกฎหมายที่ใหอํานาจออกขอบังคับ 18.6 ขอ ใหเรียงขอความทีจ่ ะใชบงั คับเปนขอ ๆ โดยให ขอ 1 เปนชื่อขอบังคับ ขอ 2 เปนวันใชบังคับกําหนดวาใหใชบังคับตั้งแตเมือ ่ ใด และขอสุดทายเปนขอผูรักษาการ ขอบังคับใด ถามี มากขอหรือหลายเรือ ่ งจะแบงเปนหมวดก็ได โดยใหยา ยขอผูรักษาการไปเปนขอสุดทาย กอนที่จะขึ้น หมวด 1 18.7 ประกาศ ณ วันที่ ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของ ปพุทธศักราชที่ออกขอบังคับ 18.8 ลงชือ ่ ใหลงลายมือชือ ่ ผูออกขอบังคับ และพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือชื่อไว ใตลายมือชื่อ 18.9 ตําแหนง ใหลงตําแหนงของผูออกขอบังคับ สวนที่ 5 หนังสือประชาสัมพันธ ขอ 19 หนังสือประชาสัมพันธ ใหใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมาย กําหนดแบบไวโดยเฉพาะ หนังสือประชาสัมพันธมี 3 ชนิด ไดแก ประกาศ แถลงการณ และขาว ขอ 20 ประกาศ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงใหทราบ หรือแนะแนว ทางปฏิบต ั ิ ใชกระดาษตราครุฑ และใหจัดทําตามแบบที่ 7 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 20.1 ประกาศ ใหลงชื่อสวนราชการที่ออกประกาศ 20.2 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องทีป ่ ระกาศ 20.3 ขอความ ใหอางเหตุผลที่ตองออกประกาศและขอความที่ประกาศ 20.4 ประกาศ ณ วันที่ ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของ ปพุทธศักราช ที่ออกประกาศ 20.5 ลงชือ ่ ใหลงลายมือชือ ่ ผูออกประกาศ และพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือชื่อไว ใตลายมือชื่อ 20.6 ตําแหนง ใหลงตําแหนงของผูออกประกาศ ในกรณีที่กฎหมายกําหนดใหทําเปนแจงความ ใหเปลี่ยนคําวาประกาศ เปน แจงความ ขอ 21 แถลงการณ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการแถลงเพื่อทําความเขาใจในกิจการของ ทางราชการ หรือเหตุการณหรือกรณีใด ๆ ใหทราบชัดเจนโดยทัว่ กัน ใชกระดาษตราครุฑ และใหจัดทําตาม แบบที่ 8 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 21.1 แถลงการณ ใหลงชื่อสวนราชการที่ออกแถลงการณ 21.2 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องที่ออกแถลงการณ 21.3 ฉบับที่ ใชในกรณีทจี่ ะตองออกแถลงการณหลายฉบับในเรื่องเดียวที่ตอ  เนื่องกัน ใหลงฉบับที่เรียงตามลําดับไวดวย 21.4 ขอความ ใหอางเหตุผลที่ตองออกแถลงการณและขอความที่แถลงการณ 21.5 สวนราชการที่ออกแถลงการณ ใหลงชื่อสวนราชการที่ออกแถลงการณ 21.6 วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปพท ุ ธ ศักราชที่ออกแถลงการณ ขอ 22 ขาว คือ บรรดาขอความทีท ่ างราชการเห็นสมควรเผยแพรใหทราบ ใหจด ั ทําตาม แบบที่ 9 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 22.1 ขาว ใหลงชื่อสวนราชการที่ออกขาว 22.2 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องที่ออกขาว 22.3 ฉบับที่ ใชในกรณีทจี่ ะตองออกขาวหลายฉบับในเรื่องเดียวที่ตอเนื่องกัน ใหลง ฉบับทีเ่ รียงตามลําดับไวดวย 22.4 ขอความ ใหลงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องของขาว 22.5 สวนราชการที่ออกขาว ใหลงชื่อสวนราชการที่ออกขาว 22.6 วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปพท ุ ธ

ศักราชที่ออกขาว สวนที่ 6 หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้นหรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ ขอ 23 หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้นหรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ คือ หนังสือที่ทาง ราชการทําขึน ้ นอกจากที่กลาวมาแลวขางตน หรือหนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึง่ มิใชสวนราชการหรือบุคคล ภายนอกมีมาถึงสวนราชการ และสวนราชการรับไวเปนหลักฐานของทางราชการ มี 4 ชนิด คือหนังสือ รับรองรายงานการประชุม บันทึก และหนังสืออื่น ขอ 24 หนังสือรับรอง คือ หนังสือที่สวนราชการออกใหเพื่อรับรองแก บุคคล นิตบ ิ ค ุ คล หรือ หนวยงาน เพื่อวัตถุประสงคอยางหนึ่งอยางใดใหปรากฏแกบค ุ คลโดยทั่วไปไมจําเพาะเจาะจงใชกระดาษตรา ครุฑ และใหจัดทําตามแบบที่ 10 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 24.1 เลขที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือรับรองโดยเฉพาะ เริ่มตั้งแตเลข 1 เรียงเปน ลําดับไปจนถึงสิน ้ ปปฏิทน ิ ทับเลขปพุทธศักราชที่ออกหนังสือรับรอง หรือลงเลขที่ของหนังสือทั่วไปตามแบบ หนังสือภายนอกอยางหนึ่งอยางใด 24.2 สวนราชการเจาของหนังสือ ใหลงชื่อของสวนราชการซึ่งเปนเจาของหนังสือ นั้น และจะลงสถานที่ตั้งของสวนราชการเจาของหนังสือดวยก็ได 24.3 ขอความ ใหลงขอความขึน ้ ตนวาหนังสือฉบับนี้ใหไวเพื่อรับรองวา แลวตอดวย ชื่อบุคคล นิตบ ิ ุคคล หรือหนวยงานทีท ่ างราชการรับรอง ในกรณีเปนบุคคลใหพม ิ พชื่อเต็ม โดยมีคํานําหนา นาม ชื่อ นามสกุล ตําแหนงหนาที่ และสังกัดหนวยงานทีผ ่ ูนน ั้ ทํางานอยูอยางชัดเจน แลวจึงลงขอความที่ รับรอง 24.4 ใหไว ณ วันที่ ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปพุทธ ศักราชที่ออกหนังสือรับรอง 24.5 ลงชือ ่ ใหลงลายมือชือ ่ หัวหนาสวนราชการผูออกหนังสือ หรือผูที่ไดรับมอบ หมาย และพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือชื่อไวใตลายมือชื่อ 24.6 ตําแหนง ใหลงตําแหนงของผูลงลายมือชื่อในหนังสือ 24.7 รูปถายและลายมือชื่อผูไดรบ ั การรับรอง ในกรณีที่การรับรองเปนเรื่องสําคัญที่ ออกใหแกบุคคลใหติดรูปถายของผูท  ี่ไดรบ ั การรับรอง ขนาด 4 X 6 เซนติเมตร หนาตรงไมสวมหมวก ประทับตราหรือสวนราชการที่ออกหนังสือบนขอบลางดานขวาของรูปถายคาบตอลงบนแผนกระดาษ และใหผู นัน ้ ลงลายมือชื่อไวไดรป ู ถายพรอมทั้งพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือชื่อไวใตลายมือชื่อดวย ขอ 25 รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผูมาประชุม ผูเขารวมประชุมและ มติของทีป ่ ระชุมไวเปนหลักฐาน ใหจัดทําตามแบบที่ 11 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 25.1 รายงานการประชุม ใหลงชื่อคณะที่ประชุมหรือชื่อการประชุมนัน ้ 25.2 ครั้งที่ ใหลงครัง้ ที่ประชุม 25.3 เมื่อ ใหลงวันเดือนปที่ประชุม 25.4 ณ ใหลงสถานที่ทป ี่ ระชุม 25.5 ผูมาประชุม ใหลงชื่อและหรือตําแหนงของผูไดรับแตงตั้งเปนคณะที่ประชุม ซึ่งมาประชุม ในกรณีทม ี่ ีผม ู าประชุมแทนใหลงชื่อผูมาประชุมแทน และลงวามาประชุมแทนผูใดหรือ ตําแหนงใด 25.6 ผูไมมาประชุม ใหลงชื่อและหรือตําแหนงของผูที่ไดรับการแตงตัง้ เปนคณะที่ ประชุมซึ่งมิไดมาประชุมพรอมทั้งเหตุผล (ถามี) 25.7 ผูเขารวมประชุม ใหลงชื่อและหรือตําแหนงของผูที่มไิ ดรบ ั การแตงตั้งเปน คณะที่ประชุมซึง่ ไดเขารวมประชุม (ถามี) 25.8 เริม ่ ประชุมเวลา ใหลงเวลาที่เริ่มประชุม 25.9 ขอความ ใหบน ั ทึกขอความทีป ่ ระชุม โดยปกติใหเริ่มตนดวยประธานกลาวเปด ประชุมและเรื่องทีป ่ ระชุม กับมติหรือขอสรุปของทีป ่ ระชุมในแตละเรือ ่ งตามลําดับ 25.10 เลิกประชุมเวลา ใหลงเวลาที่เลิกประชุม 25.11 ผูจดรายงานการประชุม ใหลงชื่อผูจดรายงานการประชุมครั้งนั้น ขอ 26 บันทึก คือ ขอความซึง่ ผูใตบังคับบัญชาเสนอตอผูบงั คับบัญชา หรือผูบังคับบัญชา สั่งการแกผูใตบังคับบัญชา หรือขอความที่เจาหนาทีห ่ รือหนวยงานระดับต่ํากวาสวนราชการระดับกรมติดตอ กันในการปฏิบัติราชการ โดยปกติใหใชกระดาษบันทึกขอความ และใหมีหัวขอดังตอไปนี้ 26.1 ชื่อหรือตําแหนงทีบ ่ น ั ทึกถึง โดยใชคําขึ้นตนตามที่กําหนดไวในภาคผนวก 2 26.2 สาระสําคัญของเรื่อง ใหลงใจความของเรื่องทีบ ่ ันทึก ถามีเอกสารประกอบก็ให ระบุไวดวย 26.3 ชื่อและตําแหนง ใหลงลายมือชื่อและตําแหนงของผูบน ั ทึก และในกรณีที่ไมใช กระดาษบันทึกขอความ ใหลงวันเดือนปทบ ี่ ันทึกไวดวย การบันทึกตอเนื่อง โดยปกติใหผบ ู น ั ทึกระบุคําขึน ้ ตน ใจความบันทึก และลงชื่อเชนเดียวกับ ที่ไดกลาวไวขางตน และใหลงวัน เดือน ป กํากับไดลายมือชื่อผูบ  น ั ทึก หากไมมีความเห็นใดเพิม ่ เติมใหลงชื่อ และวัน เดือน ป กํากับเทานัน ้ ขอ 27 หนังสืออื่น คือ หนังสือหรือเอกสารอื่นใดที่เกิดขึ้น เนือ ่ งจากการปฏิบต ั ิงานของ เจาหนาที่เพื่อเปนหลักฐานในทางราชการ ซึง่ รวมถึง ภาพถาย ฟลม  แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพดวย หรือ

หนังสือของบุคคลภายนอก ที่ยน ่ื ตอเจาหนาที่และเจาหนาที่ไดรบ ั เขาทะเบียนรับหนังสือของทางราชการแลว มีรป ู แบบตามที่กระทรวงทบวงกรมจะกําหนดขึน ้ ใชตามความเหมาะสม เวนแตมีแบบตามกฎหมายเฉพาะ เรือ ่ งใหทําตามแบบ เชน โฉนด แผนที่ แบบ แผนผัง สัญญา หลักฐานการสืบสวนและสอบสวน และคํารอง เปนตน สวนที่ 7 บทเบ็ดเตล็ด ขอ 28 หนังสือที่ตองปฏิบัติใหเร็วกวาปกติ เปนหนังสือที่ตองจัดสงและดําเนินการทาง สารบรรณดวยความรวดเร็วเปนพิเศษ แบงเปน 3 ประเภท คือ 28.1 ดวนที่สุด ใหเจาหนาที่ปฏิบัตใิ นทันทีที่ไดรบ ั หนังสือนัน ้ 28.2 ดวนมาก ใหเจาหนาที่ปฏิบัตโิ ดยเร็ว 28.3 ดวน ใหเจาหนาทีป ่ ฏิบัติเร็วกวาปกติ เทาที่จะทําได ใหระบุชน ั้ ความเร็วดวยตัวอักษรสีแดงขนาดไมเล็กกวาตัวพิมพโปง 32 พอยท ใหเห็นไดชัด บนหนังสือและบนซอง ตามที่กําหนดไวในแบบที่ 1 แบบที่ 2 แบบที่ 3 และแบบที่ 15 ทายระเบียบ โดยให ระบุคําวา ดวนที่สุด ดวนมาก หรือดวน สําหรับหนังสือตามขอ 28.1 ขอ 28.2 และขอ 28.3แลวแตกรณี ในกรณีที่ตองการใหหนังสือสงถึงผูรับภายในเวลาที่กําหนด ใหระบุคําวา ดวนภายในแลวลง วัน เดือน ป และกําหนดเวลาทีต ่ องการใหหนังสือนัน ้ ไปถึงผูร ับ กับใหเจาหนาที่สงถึงผูรับซึ่งระบุบนหนาซอง ภายในเวลาที่กําหนด ขอ 29 เรื่องราชการที่จะดําเนินการหรือสั่งการดวยหนังสือไดไมทน ั ใหสงขอความทาง เครื่องมือสื่อสาร เชน โทรเลข วิทยุโทรเลข โทรพิมพ โทรศัพท วิทยุสื่อสาร วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุ โทรทัศน เปนตน และใหผูรบ ั ปฏิบัตเิ ชนเดียวกับไดรบ ั หนังสือ ในกรณีที่จําเปนตองยืนยันเปนหนังสือ ใหทํา หนังสือยืนยันตามไปทันที การสงขอความทางเครื่องมือสื่อสารซึ่งไมมีหลักฐานปรากฏชัดแจง เชน ทางโทรศัพท วิทยุ สื่อสาร วิทยุ กระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน เปนตน ใหผูสงและผูรบ ั บันทึกขอความเปนเปนหลักฐาน ขอ 30 หนังสือที่จัดทําขึ้นโดยปกติใหมีสําเนาคูฉบับเก็บไวที่ตน  เรื่อง 1 ฉบับ และใหมีสําเนา เก็บไวที่หนวยงานสารบรรณกลาง 1 ฉบับ สําเนาคูฉ  บับใหผลู งชื่อลงลายมือชือ ่ หรือลายมือชื่อยอ และใหผูราง พิมพ และผูตรวจลงลาย มือชื่อหรือลายมือชื่อยอไวทข ี่ างทายขอบลางดานขวาของหนังสือ ขอ 31 หนังสือที่เจาของหนังสือเห็นวา มีสวนราชการอื่นทีเ่ กี่ยวของควรไดรบ ั ทราบดวย โดยปกติใหสงสําเนาไปใหทราบโดยทําเปนหนังสือประทับตรา สําเนาหนังสือนี้ใหมีคํารับรองวา สําเนาถูกตอง โดยใหเจาหนาที่ตั้งแตระดับ 2 หรือ เทียบเทาขึน ้ ไป ซึง่ เปนเจาของเรื่องลงลายมือชื่อรับรอง พรอมทัง้ ลงชื่อตัวบรรจงและตําแหนงที่ขอบลาง ของหนังสือ ขอ 32 หนังสือเวียน คือ หนังสือที่มถ ี ึงผูรบ ั เปนจํานวนมาก มีใจความอยางเดียวกัน ใหเพิ่ม รหัสตัวพยัญชนะ ว หนาเลขทะเบียนหนังสือสง ซึ่งกําหนดเปนเลขที่หนังสือเวียนโดยเฉพาะ เริม ่ ตั้งแตเลข 1 เรียงเปนลําดับไปจนถึงสิ้นปปฏิทินหรือใชเลขที่ของหนังสือทั่วไปตามแบบหนังสือภายนอกอยางหนึง่ อยางใด เมื่อผูรบ ั ไดรับหนังสือเวียนแลวเห็นวาเรื่องนั้นจะตองใหหนวยงานหรือบุคคลในบังคับบัญชา ในระดับตาง ๆ ไดรบ ั ทราบดวย ก็ใหมีหนาทีจ่ ัดทําสําเนาหรือจัดสงใหหนวยงานหรือบุคคลเหลานัน ้ โดยเร็ว ขอ 33 สรรพนามที่ใชในหนังสือ ใหใชตามฐานะแหงความสัมพันธระหวางเจาของหนังสือ และผูรับหนังสือตามภาคผนวก 2 ขอ 34 หนังสือภาษาตางประเทศ ใหใชกระดาษตราครุฑ หนังสือที่เปนภาษาอังกฤษ ใหทําตามแบบที่กําหนดไวในภาคผนวก 4 สําหรับหนังสือที่เปนภาษาอืน ่ ๆ ซึง่ มิใชภาษาอังกฤษ ใหเปนไปตามประเพณีนยิ ม หมวด 2 การรับและสงหนังสือ สวนที่ 1 การรับหนังสือ ขอ 35 หนังสือรับ คือ หนังสือที่ไดรบ ั เขามาจากภายนอก ใหเจาหนาทีข ่ องหนวยงาน สารบรรณกลางปฏิบัติตามที่กําหนดไวในสวนนี้ ขอ 36 จัดลําดับความสําคัญและความเรงดวนของหนังสือเพื่อดําเนินการกอนหลัง และใหผู เปดซองตรวจเอกสาร หากไมถูกตองใหติดตอสวนราชการเจาของเรือ ่ ง หรือหนวยงานที่ออกหนังสือ เพื่อ ดําเนินการใหถูกตอง หรือบันทึกขอบกพรองไวเปนหลักฐาน แลวจึงดําเนินการเรื่องนั้นตอไป ขอ 37 ประทับตรารับหนังสือตามแบบที่ 12 ทายระเบียบ ที่มม ุ บนดานขวาของหนังสือ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 37.1 เลขรับ ใหลงเลขที่รบ ั ตามเลขที่รบ ั ในทะเบียน 37.2 วันที่ ใหลงวันเดือนปที่รับหนังสือ

รายละเอียดดังนี้

37.3 เวลา ใหลงเวลาที่รบ ั หนังสือ ขอ 38 ลงทะเบียนรับหนังสือในทะเบียนหนังสือรับตามแบบที่ 13 ทายระเบียบ

โดยกรอก

38.1 ทะเบียนหนังสือรับ วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวันเดือนปที่ลงทะเบียน 38.2 เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขลําดับของทะเบียนหนังสือรับเรียงลําดับติดตอกันไป ตลอดปปฏิทน ิ เลขทะเบียนของหนังสือรับจะตองตรงกับเลขที่ในตรารับหนังสือ 38.3 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือที่รบ ั เขามา 38.4 ลงวันที่ ใหลงวันเดือนปของหนังสือที่รับเขามา 38.5 จาก ใหลงตําแหนงเจาของหนังสือหรือชื่อสวนราชการหรือชื่อบุคคล ในกรณี ที่ไมมต ี ําแหนง 38.6 ถึง ใหลงตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึงหรือชื่อสวนราชการหรือชื่อบุคคลใน กรณีที่ไมมีตําแหนง 38.7 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือฉบับนัน ้ ในกรณีที่ไมมีชื่อเรื่อง ใหลงสรุป เรือ ่ งยอ 38.8 การปฏิบัติ ใหบันทึกการปฏิบต ั ิเกีย่ วกับหนังสือฉบับนัน ้ 38.9 หมายเหตุ ใหบันทึกขอความอื่นใด (ถามี) ขอ 39 จัดแยกหนังสือที่ลงทะเบียนรับแลวสงใหสวนราชการที่เกีย่ วของดําเนินการ โดยให ลงชื่อหนวยงานที่รบ ั หนังสือนั้นในชอง การปฏิบต ั ิ ถามีชื่อบุคคลหรือตําแหนงทีเ่ กีย่ วของกับการรับหนังสือ ใหลงชื่อหรือตําแหนงไวดวย การสงหนังสือที่ลงทะเบียนรับแลว ไปใหสวนราชการที่เกีย่ วของดําเนินการตามวรรคหนึง่ จะสงโดยใชสมุดสงหนังสือตามขอ 48 หรือใหผูรับหนังสือลงชื่อและวันเดือนปที่รบ ั หนังสือไวเปนหลักฐาน ในทะเบียนรับหนังสือก็ได การดําเนินการตามขัน ้ ตอนนี้จะเสนอผานผูบงั คับบัญชาผูใดหรือไม ใหเปนไปตามที่หัวหนา สวนราชการกําหนด ถาหนังสือรับนัน ้ จะตองดําเนินเรื่องในหนวยงานนัน ้ เองจนถึงขัน ้ ไดตอบหนังสือไปแลว ใหลง ทะเบียนวาไดสงออกไปโดยหนังสือที่เทาใด วันเดือนปใด ขอ 40 การรับหนังสือภายในสวนราชการเดียวกัน เมื่อผูร ับไดหนังสือจากหนวยงาน สารบรรณกลางแลว ใหปฏิบัตต ิ ามวิธีการที่กลาวขางตนโดยอนุโลม สวนที่ 2 การสงหนังสือ ขอ 41 หนังสือสง คือ หนังสือที่สงออกไปภายนอก ใหปฏิบัตต ิ ามที่กําหนดไวในสวนนี้ ขอ 42 ใหเจาของเรื่องตรวจความเรียบรอยของหนังสือ รวมทั้งสิง่ ที่จะสงไปดวยใหครบ ถวน แลวสงเรื่องใหเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลางเพื่อสงออก ขอ 43 เมื่อเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลางไดรบ ั เรื่องแลว ใหปฏิบัตด ิ ังนี้ 43.1 ลงทะเบียนสงหนังสือในทะเบียนหนังสือสงตามแบบที่ 14 ทายระเบียบ โดย กรอกรายละเอียด ดังนี้ 43.1.1 ทะเบียนหนังสือสง วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวันเดือนปที่ลงทะเบียน 43.1.2 เลขทะเบียนสง ใหลงเลขลําดับของทะเบียนหนังสือสงเรียงลําดับติด ตอกันไปตลอดปปฏิทิน 43.1.3 ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของสวนราชการเจาของ เรือ ่ ง ในหนังสือทีจ่ ะสงออก ถาไมมีที่ดงั กลาวชองนี้จะวาง 43.1.4 ลงวันที่ ใหลงวันเดือนปทจี่ ะสงหนังสือนัน ้ ออก 43.1.5 ใหลงตําแหนงเจาของหนังสือ หรือชื่อสวนราชการ หรือชื่อบุคคล ในกรณีทไี่ มมีตําแหนง 43.1.6 ถึง ใหลงตําแหนงของผูทห ี่ นังสือนัน ้ มีถงึ หรือชื่อสวนราชการหรือชื่อ บุคคลในกรณีที่ไมมีตําแหนง 43.1.7 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือฉบับนัน ้ ในกรณีทไี่ มมีชื่อเรือ ่ ง ใหลง สรุปเรื่องยอ 43.1.8 การปฏิบต ั ิ ใหบันทึกการปฏิบต ั ิเกีย่ วกับหนังสือฉบับนัน ้ 43.1.9 หมายเหตุ ใหบันทึกขอความอื่นใด (ถามี) 43.2 ลงเลขที่และวันเดือนปในหนังสือที่จะสงออกทั้งในตนฉบับ และสําเนาคูฉบับ ใหตรงกับเลขทะเบียนสงและวันเดือนปในทะเบียนหนังสือสงตามขอ 43.1.2 และขอ 43.1.4 ขอ 44 กอนบรรจุซอง ใหเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลางตรวจความเรียบรอย ของหนังสือ ตลอดจนสิ่งที่สงไปดวยอีกครั้งหนึง่ แลวปดผนึก หนังสือที่ไมมค ี วามสําคัญมากนัก อาจสงไปโดยวิธพ ี ับยึดติดดวยแถบกาว กาว เย็บดวยลวด หรือวิธีอื่นแทนการบรรจุซอง ขอ 45 การจาหนาซองใหปฏิบัติตามแบบที่ 15 ทายระเบียบ สําหรับหนังสือที่ตอ  งปฏิบัติใหเร็วกวาปกติ ใหปฏิบต ั ิตามขอ 28 ในกรณีไมใชสมุดสงหนังสือ ใหมใี บรับหนังสือตามขอ 49 แนบติดซองไปดวย

ขอ 46 การสงหนังสือโดยทางไปรษณีย ใหถือปฏิบต ั ิตามระเบียบหรือวิธีการที่การสื่อสาร แหงประเทศไทยกําหนด การสงหนังสือซึง่ มิใชเปนการสงโดยทางไปรษณีย เมื่อสงหนังสือใหผูรับแลว ผูสงตองให ผูรบ ั ลงชื่อรับในสมุดสงหนังสือหรือใบรับ แลวแตกรณี ถาเปนใบรับใหนําใบรับนัน ้ มาผนึกติดไวที่สําเนา คูฉบับ ขอ 47 หนังสือที่ไดลงทะเบียนสง ในกรณีที่เปนการตอบหนังสือซึ่งรับเขามาใหลง ทะเบียนวาหนังสือนั้นไดตอบตามหนังสือรับที่เทาใด วันเดือนปใด ขอ 48 สมุดสงหนังสือใหจัดทําตามแบบที่ 16 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 48.1 เลขทะเบียน ใหลงเลขทะเบียนหนังสือสง 48.2 จาก ใหลงตําแหนงหรือชื่อสวนราชการหรือชื่อบุคคลที่เปนเจาของหนังสือ 48.3 ถึง ใหลงตําแหนงของผูที่หนังสือนัน ้ มีถึง หรือชื่อสวนราชการหรือชื่อบุคคล ในกรณีทไี่ มมีตําแหนง 48.4 หนวยรับ ใหลงชื่อสวนราชการทีร่ ับหนังสือ 48.5 ผูรบ ั ใหผูรบ ั หนังสือลงชื่อที่สามารถอานออกได 48.6 วันและเวลา ใหผูรบ ั หนังสือลงวันเดือนปและเวลาที่รบ ั หนังสือ 48.7 หมายเหตุ ใหบันทึกขอความอืน ่ ใด (ถามี) ขอ 49 ใบรับหนังสือ ใหจัดทําตามแบบที่ 17 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 49.1 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือฉบับนั้น 49.2 ถึง ใหลงตําแหนงของผูที่หนังสือนัน ้ มีถึง หรือชื่อสวนราชการหรือชื่อบุคคล ในกรณีทไี่ มมีตําแหนง 49.3 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือฉบับนัน ้ ในกรณีที่ไมมีชื่อเรื่องใหลงสรุป เรื่องยอ 49.4 รับวันที่ ใหผูรบ ั หนังสือลงวันเดือนปที่รับหนังสือ 49.5 เวลา ใหผูรับหนังสือลงเวลาที่รบ ั หนังสือ 49.6 ผูรบ ั ใหผูรบ ั หนังสือลงชื่อที่สามารถอานออกได สวนที่ 3 บทเบ็ดเตล็ด ขอ 50 เพื่อใหการรับและสงหนังสือดําเนินไปโดยสะดวกเรียบรอยและรวดเร็ว สวนราช การ จะกําหนดหนาที่ของผูป  ฏิบัตต ิ ลอดจนแนวทางปฏิบต ั ินน ั้ ไวดวยก็ได ทั้งนี้ ใหมีการสํารวจทะเบียน หนังสือรับเปนประจําวาหนังสือตามทะเบียนรับนัน ้ ไดมีการปฏิบัติไปแลวเพียงใด และใหมีการติดตามเรื่อง ดวย ในการนี้ สวนราชการใดเห็นสมควรจะจัดใหมบ ี ัตรตรวจคนสําหรับหนังสือรับ และหนังสือสงเพือ ่ ความ สะดวกในการคนหาก็ไดตามความเหมาะสม ขอ 51 บัตรตรวจคน ใหจัดทําตามแบบที่ 18 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 51.1 เรื่อง รหัส ใหลงเรื่องและรหัสตามหมวดหมูของหนังสือ 51.2 เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขทะเบียนตามที่ปรากฏในทะเบียนหนังสือรับ 51.3 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือ 51.4 ลงวันที่ ใหลงวันเดือนปของหนังสือ 51.5 รายการ ใหลงเรื่องยอของหนังสือเพื่อใหทราบวา หนังสือนัน ้ มาจากที่ใด เรือ ่ งอะไร 51.6 การปฏิบัติ ใหบันทึกการปฏิบัติเกีย่ วกับหนังสือนั้นเพื่อใหทราบวาสิง่ ไปที่ใด เมือ ่ ใด หมวด 3 การเก็บรักษา ยืม และทําลายหนังสือ สวนที่ 1 การเก็บรักษา ขอ 52 การเก็บหนังสือแบงออกเปน การเก็บระหวางปฏิบต ั ิ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลว และ การเก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ ขอ 53 การเก็บระหวางปฏิบัติ คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัตยิ ังไมเสร็จใหอยูในความรับผิด ชอบของเจาของเรื่องโดยใหกําหนดวิธีการเก็บใหเหมาะสมตามขัน ้ ตอนของการปฏิบต ั ิงาน ขอ 54 การเก็บเมือ ่ ปฏิบัตเิ สร็จแลว คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว และไมมี อะไรที่จะตองปฏิบต ั ิตอไปอีก ใหเจาหนาที่ของเจาของเรื่องปฏิบัตด ิ ังนี้ 54.1 จัดทําบัญชีหนังสือสงเก็บตามแบบที่ 19 ทายระเบียบ อยางนอยใหมีตน  ฉบับ และสําเนาคูฉบับสําหรับเจาของเรื่องและหนวยเก็บเก็บไวอยางละฉบับ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 54.1.1 ลําดับที่ ใหลงเลขลําดับเรื่องของหนังสือที่เก็บ 54.1.2 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือแตละฉบับ 54.1.3 ลงวันที่ ใหลงวันเดือนปของหนังสือแตละฉบับ

54.1.4 เรื่อง ใหลงชือ ่ เรื่องของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีทไ่ี มมีช่อ ื เรือ ่ ง ใหลง สรุปเรื่องยอ

54.1.5 อายุการเก็บหนังสือ ใหลงวันเดือนปที่จะเก็บถึง ในกรณีใหเก็บไวตลอด

ไปใหลงคําวา หามทําลาย 54.1.6 หมายเหตุ ใหบันทึกขอความอื่นใด (ถามี) 54.2 สงหนังสือและเรื่องปฏิบัติทงั้ ปวงทีเ่ กี่ยวของกับหนังสือนั้น พรอมทั้งบัญชี หนังสือสงเก็บไปใหหนวยเก็บที่สวนราชการนั้น ๆ กําหนด ขอ 55 เมื่อไดรับเรื่องจากเจาของเรื่องตามขอ 54 แลว ใหเจาหนาที่ผูรบ ั ผิดชอบในการเก็บ หนังสือปฏิบัติ ดังนี้ 55.1 ประทับตรากําหนดเก็บหนังสือตามขอ 73 ไวที่มม ุ ลางดานขวาของกระดาษ แผนแรกของหนังสือฉบับนั้น และลงลายมือชื่อยอกํากับตรา 55.1.1 หนังสือที่ตองเก็บไวตลอดไป ใหประทับตราคําวา หามทําลายดวย หมึกสีแดง 55.1.2 หนังสือที่เก็บโดยมีกําหนดเวลา ใหประทับตราคําวา เก็บถึงพ.ศ. ………. ดวยหมึกสีน้ําเงิน และลงเลขของปพท ุ ธศักราชที่ใหเก็บถึง 55.2 ลงทะเบียนหนังสือเก็บไวเปนหลักฐานตามแบบที่ 20 ทายระเบียบ โดยกรอก รายละเอียด ดังนี้ 55.2.1 ลําดับที่ ใหลงเลขลําดับเรื่องของหนังสือที่เก็บ 55.2.2 วันเก็บ ใหลงวันเดือนปทน ี่ ําหนังสือนัน ้ เขาทะเบียนเก็บ 55.2.3 เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขทะเบียนรับของหนังสือแตละฉบับ 55.2.4 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือแตละฉบับ 55.2.5 เรื่อง ใหลงชือ ่ เรื่องของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีทไี่ มมีชื่อเรือ ่ งใหลง สรุปเรื่องยอ 55.2.6 รหัสแฟม ใหลงหมายเลขลําดับหมูของการจัดแฟมเก็บหนังสือ 55.2.7 กําหนดเวลาเก็บ ใหลงระยะเวลาการเก็บตามที่กําหนดในตรา กําหนดเก็บหนังสือตามขอ 55.1 55.2.8 หมายเหตุ ใหบันทึกขอความอื่นใด (ถามี) ขอ 56 การเก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ คือ การเก็บหนังสือทีป ่ ฏิบัตเิ สร็จเรียบรอย แต จําเปนจะตองใชในการตรวจสอบเปนประจํา ไมสะดวกในการสงไปเก็บยังหนวยเก็บของสวนราชการตาม ขอ 54 ใหเจาของเรือ ่ งเก็บเปนเอกเทศ โดยแตงตัง้ เจาหนาที่ขน ึ้ รับผิดชอบก็ได เมื่อหมดความจําเปนที่จะตอง ใชในการตรวจสอบแลว ใหจัดสงหนังสือนั้นไปยังหนวยเก็บของสวนราชการโดยใหถือปฏิบัตต ิ ามขอ 54 และ ขอ 55 โดยอนุโลม ขอ 57 อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติใหเก็บไวไมนอยกวา 10 ป เวนแตหนังสือดังตอไปนี้ 57.1 หนังสือที่ตองสงวนเปนความลับ ใหปฏิบัตต ิ ามกฎหมายหรือระเบียบวาดวย การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ 57.2 หนังสือที่เปนหลักฐานทางอรรถคดี สํานวนของศาลหรือของพนักงานสอบสวน หรือหนังสืออื่นใดทีไ่ ดมีกฎหมายหรือระเบียบแบบแผนกําหนดไวเปนพิเศษแลว การเก็บใหเปนไปตาม กฎหมายและระเบียบแบบแผนวาดวยการนัน ้ 57.3 หนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี สถิติหลักฐาน หรือเรื่องที่ตองใชสาํ หรับศึกษาคนควา หรือหนังสืออื่นในลักษณะเดียวกัน ใหเก็บไวเปนหลักฐานทางราชการ ตลอดไปหรือตามทีก ่ องจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร กําหนด 57.4 หนังสือที่ไดปฏิบต ั ิงานเสร็จสิ้นแลว และเปนคูสําเนาที่มีตน  เรื่องจะคนไดจากที่ อื่น ใหเก็บไวไมนอ  ยกวา 5 ป 57.5 หนังสือที่เปนเรื่องธรรมดาสามัญซึง่ ไมมค ี วามสําคัญ และเปนเรื่องทีเ่ กิดขึ้นเปน ประจําเมื่อดําเนินการแลวเสร็จใหเก็บไวไมนอยกวา 1 ป ในกรณีหนังสือที่เกี่ยวกับการเงิน ซึ่งมิใชเปนเอกสารสิทธิ หากเห็นวาไมมีความจําเปนตอง เก็บไวถงึ 10 ป ใหทําความตกลงกับกระทรวงการคลังเพื่อขอทําลายได ขอ 58 ทุกปปฏิทน ิ ใหสวนราชการจัดสงหนังสือที่มีอายุครบ 25 ป นับจากวันทีไ่ ดจัดทําขึน ้ ที่เก็บไว ณ สวนราชการใด พรอมทัง้ บัญชีสงมอบหนังสือครบ 25 ป ใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรม ศิลปากร ภายในวันที่ 31 มกราคม ของปถัดไป เวนแตหนังสือดังตอไปนี้ 58.1 หนังสือที่ตองสงวนเปนความลับใหปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบวาดวยการ รักษาความปลอดภัยแหงชาติ 58.2 หนังสือที่มีกฎหมาย ขอบังคับ หรือระเบียบที่ออกใชเปนการทั่วไปกําหนดไว เปนอยางอืน ่ 58.3 หนังสือที่สวนราชการมีความจําเปนตองเก็บไวที่สวนราชการนัน ้ ใหจัดทําบัญชี หนังสือครบ 25 ป ที่ขอเก็บเองสงมอบใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ขอ 59 บัญชีสงมอบหนังสือครบ 25 ป และบัญชีหนังสือครบ 25 ป ที่ขอเก็บเอง อยางนอย ใหมีตน  ฉบับและสําเนาคูฉ  บับ เพื่อใหสวนราชการผูม  อบและกองจดหมายเหตุแหงชาติกรมศิลปากร ผูรับมอบ ยึดถือไวเปนหลักฐานฝายละฉบับ 59.1 บัญชีสงมอบหนังสือครบ 25 ป ใหจด ั ทําตามแบบที่ 21 ทายระเบียบ โดย กรอกรายละเอียด ดังนี้

59.1.1 ชื่อบัญชีสงมอบหนังสือครบ 25 ป ประจําป ศักราชที่จด ั ทําบัญชี

ใหลงตัวเลขของปพุทธ

59.1.2 กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงชื่อสวนราชการที่จัดทําบัญชี 59.1.3 วันที่ ใหลงวันเดือนปที่จัดทําบัญชี 59.1.4 แผนที่ ใหลงเลขลําดับของแผนบัญชี 59.1.5 ลําดับที่ ใหลงเลขลําดับเรื่องของหนังสือที่สงมอบ 59.1.6 รหัสแฟม ใหลงหมายเลขลําดับหมูของการจัดแฟมเก็บหนังสือ 59.1.7 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือแตละฉบับ 59.1.8 ลงวันที่ ใหลงวันเดือนปของหนังสือแตละฉบับ 59.1.9 เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขทะเบียนรับของหนังสือแตละฉบับ 59.1.10 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีที่ไมมีชื่อเรื่อง ให

ลงสรุปเรื่องยอ 59.1.11 หมายเหตุ ใหบันทึกขอความอื่นใด (ถามี) 59.1.12 ลงชื่อผูม  อบ ใหผูมอบลงลายมือชื่อและวงเล็บชื่อและนามสกุล ดวย ตัวบรรจง พรอมทั้งลงตําแหนงของผูมอบ 59.1.13 ลงชื่อผูร ับมอบ ใหผูรัรบมอบลงลายมือชื่อและวงเล็บชื่อและนามสกุล ดวยตัวบรรจงพรอมทั้งลงตําแหนงของผูรบ ั มอบ 59.2 บัญชีหนังสือครบ 25 ป ที่ขอเก็บเอง ใหจัดทําตามแบบที่ 22 ทายระเบียบโดย กรอกรายละเอียดดังนี้ 59.2.1 ชื่อบัญชีหนังสือครบ 25 ป ที่ขอเก็บเองประจําป ใหลงตัวเลขของป พุทธศักราชที่จัดทําบัญชี 59.2.2 กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงชื่อสวนราชการที่จัดทําบัญชี 59.2.3 วันที่ ใหลงวันเดือนปที่จัดทําบัญชี 59.2.4 แผนที่ ใหลงเลขลําดับของแผนบัญชี 59.2.5 ลําดับที่ ใหลงเลขลําดับเรื่องของหนังสือที่ขอเก็บเอง 59.2.6 รหัสแฟม ใหลงหมายเลขลําดับหมูของการจัดแฟมเก็บหนังสือ 59.2.7 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือแตละฉบับ 59.2.8 ลงวันที่ ใหลงวันเดือนปของหนังสือแตละฉบับ 59.2.9 เรื่อง ใหลงชือ ่ เรื่องของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีทไี่ มมีชื่อเรือ ่ งใหลง สรุปเรื่องยอ 59.2.10 หมายเหตุ ใหบันทึกขอความอื่นใด (ถามี) ขอ 60 หนังสือที่ยงั ไมถงึ กําหนดทําลาย ซึ่งสวนราชการเห็นวาเปนหนังสือที่มีความสําคัญ และประสงคจะฝากใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร เก็บไว ใหปฏิบัตด ิ ังนี้ 60.1 จัดทําบัญชีฝากหนังสือตามแบบที่ 23 ทายระเบียบ อยางนอยใหมีตน  ฉบับและ สําเนาคูฉ  บับ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 60.1.1 ชื่อบัญชีฝากหนังสือ ประจําป ใหลงตัวเลขของปพุทธศักราชที่จัดทํา บัญชี 60.1.2 กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงชื่อสวนราชการที่จัดทําบัญชี 60.1.3 วันที่ ใหลงวันเดือนปที่จัดทําบัญชี 60.1.4 แผนที่ ใหลงเลขลําดับของแผนบัญชี 60.1.5 ลําดับที่ ใหลงเลขลําดับเรื่องของหนังสือ 60.1.6 รหัสแฟม ใหลงหมายเลขลําดับหมูของการจัดแฟมเก็บหนังสือ 60.1.7 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือแตละฉบับ 60.1.8 ลงวันที่ ใหลงวันเดือนปของหนังสือแตละฉบับ 60.1.9 เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขทะเบียนรับของหนังสือแตละฉบับ 60.1.10 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีที่ไมมีชื่อเรื่องให ลงสรุปเรื่องยอ 60.1.11 หมายเหตุ ใหบันทึกขอความอื่นใด (ถามี) 60.1.12 ลงชื่อผูฝ  าก ใหผูฝากลงลายมือชื่อและวงเล็บชื่อและนามสกุลดวยตัว บรรจงพรอมทัง้ ลงตําแหนงของผูฝาก 60.1.13 ลงชื่อผูร ับฝาก ใหผูรบ ั ฝากลงลายมือชื่อและวงเล็บชื่อและนามสกุล ดวยตัวบรรจงพรอมทั้งลงตําแหนงของผูฝาก 60.2 สงตนฉบับและสําเนาคูฉบับบัญชีฝากหนังสือพรอมกับหนังสือที่จะฝากใหกอง จดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร 60.3 เมื่อกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ตรวจหนังสือและรับฝากหนังสือ แลว ใหลงนามในบัญชีฝากหนังสือ แลวคืนตนฉบับใหสวนราชการผูฝ  ากเก็บไวเปนหลักฐาน หนังสือที่ฝากเก็บไวที่กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ใหถือวาเปนหนังสือของ สวนราชการผูฝาก หากสวนราชการผูฝากตองการใชหนังสือหรือขอคืน ใหทําไดโดยจัดทําหลักฐานตอกัน ไวใหชัดแจง เมื่อถึงกําหนดการทําลายแลว ใหสวนราชการผูฝากดําเนินการตามขอ 66 ขอ 61 การรักษาหนังสือ ใหเจาหนาที่ระมัดระวังรักษาหนังสือใหอยูในสภาพใหราชการได

ทุกโอกาส หากชํารุดเสียหายตองรีบซอมใหใชราชการไดเหมือนเดิม หากสูญหายตองหาสําเนามาแทน ถา ชํารุดเสียหายจนไมสามารถซอมแซมใหคงสภาพเดิมได ใหรายงานผูบ  ังคับบัญชาทราบและใหหมายเหตุไว ในทะเบียนเก็บดวย ถาหนังสือที่สูญหายเปนเอกสารสิทธิตามกฎหมาย หรือหนังสือสําคัญที่เปนการแสดง เอกสารสิทธิก็ใหดําเนินการแจงความตอพนักงานสอบสวน สวนที่ 2 การยืม ขอ 62 การยืมหนังสือที่สงเก็บแลว ใหปฏิบัตด ิ ังนี้ 62.1 ผูยม ื จะตองแจงใหทราบวาเรื่องทีย่ ม ื นั้นจะนําไปใชในราชการใด 62.2 ผูยม ื จะตองมอบหลักฐานการยืมใหเจาหนาทีเ่ ก็บ แลวลงชื่อรับเรื่องทีย่ ืมไวใน บัตรยืมหนังสือ และใหเจาหนาทีเ่ ก็บรวบรวมหลักฐานการยืม เรื่องลําดับวันเดือนปไวเพื่อติดตามทวงถาม สวนบัตรยืมหนังสือนั้นใหเก็บไวแทนที่หนังสือที่ถูกยืมไป 62.3 การยืมหนังสือระหวางสวนราชการ ผูยืมและผูอนุญาตใหยม ื ตองเปนหัวหนา สวนราชการระดับกองขึ้นไป หรือผูที่ไดรับมอบหมาย 62.4 การยืมหนังสือภายในสวนราชการเดียวกัน ผูยม ื และผูอนุญาตใหยม ื ตองเปน หัวหนาสวนราชการระดับแผนกขึน ้ ไป หรือผูที่ไดรบ ั มอบหมาย ขอ 63 บัตรยืมหนังสือ ใหจัดทําตามแบบที่ 24 ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 63.1 รายการ ใหลงชื่อเรือ ่ งหนังสือที่ขอยืมไปพรอมดวยรหัสของหนังสือนัน ้ 63.2 ผูยม ื ใหลงชื่อบุคคล ตําแหนง หรือสวนราชการทีย่ ม ื หนังสือนัน ้ 63.3 ผูรับ ใหผูรบ ั หนังสือนั้นลงลายมือชือ ่ และวงเล็บชือ ่ กํากับพรอมดวยตําแหนง ในบรรทัดถัดไป 63.4 วันยืม ใหลงวันเดือนปทยี่ ม ื หนังสือนั้น 63.5 กําหนดสงคืน ใหลงวันเดือนปที่จะสงหนังสือนัน ้ คืน 63.6 ผูสงคืน ใหผูสงคืนลงลายมือชื่อ 63.7 วันสงคืน ใหลงวันเดือนปที่สง หนังสือคืน ขอ 64 การยืมหนังสือที่ปฏิบัตยิ ังไมเสร็จหรือหนังสือที่เก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบใหถือ ปฏิบต ั ิตามขอ 62 โดยอนุโลม ขอ 65 การใหบค ุ คลภายนอกยืมหนังสือจะกระทํามิได เวนแตจะใหดูหรือคัดลอกหนังสือ ทั้งนี้ จะตองไดรบ ั อนุญาตจากหัวหนาสวนราชการระดับกองขึน ้ ไป หรือผูที่ไดรับมอบหมายกอน สวนที่ 3 การทําลาย ขอ 66 ภายใน 60 วันหลังจากวันสิ้นปปฏิทน ิ ใหเจาหนาทีผ ่ ูรบ ั ผิดชอบในการเก็บหนังสือ ที่ครบกําหนดอายุการเก็บในปนั้น ไมวาจะเปนหนังสือที่เก็บไวเองหรือที่ฝากเก็บไวที่กองจดหมายเหตุแหง ชาติ กรมศิลปากร แลวจัดทําบัญชีหนังสือขอทําลายเสนอหัวหนาสวนราชการระดับกรมเพื่อพิจารณาแตงตั้ง คณะกรรมการทําลายหนังสือ บัญชีหนังสือขอทําลายใหจด ั ทําตามแบบที่ 25 ทายระเบียบ อยางนอยใหมีตน  ฉบับ และ สําเนาคูฉ  บับ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 66.1 ชื่อบัญชีหนังสือขอทําลาย ประจําป ใหลงตัวเลขของปพท ุ ธศักราชที่จัดทํา บัญชี 66.2 กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงชื่อสวนราชการที่จด ั ทําบัญชี 66.3 วันที่ ใหลงวันเดือนปที่จด ั ทําบัญชี 66.4 แผนที่ ใหลงเลขลําดับของแผนบัญชี 66.5 ลําดับที่ ใหลงเลขลําดับเรื่องของหนังสือ 66.6 รหัสแฟม ใหลงหมายเลขลําดับหมูของการจัดแฟมเก็บหนังสือ 66.7 ที่ ใหลงเลขที่ของหนังสือแตละฉบับ 66.8 ลงวันที่ ใหลงวันเดือนปของหนังสือแตละฉบับ 66.9 เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขทะเบียนรับของหนังสือแตละฉบับ 66.10 เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีที่ไมมีชื่อเรื่องใหลงสรุป เรือ ่ งยอ 66.11 การพิจารณา ใหคณะกรรมการทําลายหนังสือเปนผูกรอก 66.12 หมายเหตุ ใหบน ั ทึกขอความอืน ่ ใด (ถามี) ขอ 67 ใหหัวหนาสวนราชการระดับกรมแตงตั้งคณะกรรมการทําลายหนังสือประกอบดวย ประธานกรรมการและกรรมการอีกอยางนอยสองคน โดยปกติใหแตงตั้งจากขาราชการตั้งแตระดับ 3 หรือ เทียบเทาขึน ้ ไป ถาประธานกรรมการไมสามารถปฏิบต ั ิหนาทีไ่ ด ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคน หนึ่งทําหนาที่ประธาน

มติของคณะกรรมการใหถือเสียงขางมาก

ถากรรมการผูใดไมเห็นดวยใหทําบันทึกความ

เห็นแยงไว

ขอ 68 คณะกรรมการทําลายหนังสือ มีหนาทีด ่ ังนี้ 68.1 พิจารณาหนังสือที่จะขอทําลายตามบัญชีหนังสือขอทําลาย 68.2 ในกรณีทค ี่ ณะกรรมการมีความเห็นวาหนังสือฉบับใดไมควรทําลาย และควร จะขยายเวลาการเก็บไว ใหลงความเห็นวาจะขยายเวลาการเก็บไวถึงเมื่อใด ในชองการพิจารณาตามขอ 66.11 ของบัญชีหนังสือขอทําลาย แลวใหแกไขอายุการเก็บหนังสือในตรากําหนดเก็บหนังสือ โดยใหประธาน กรรมการทําลายหนังสือลงลายมือชือ ่ กํากับการแกไข 68.3 ในกรณีทค ี่ ณะกรรมการมีความเห็นวาหนังสือเรื่องใดควรใหทําลาย ใหกรอก เครื่องหมายกากบาท (x) ลงในชอง การพิจารณา ตามขอ 66.11 ของบัญชีหนังสือขอทําลาย 68.4 เสนอรายงานผลการพิจารณาพรอมทั้งบันทึกความเห็นแยงของคณะกรรมการ (ถามี) ตอหัวหนาสวนราชการระดับกรมเพื่อพิจารณาสั่งการตามขอ 69 68.5 ควบคุมการทําลายหนังสือซึ่งผูมีอํานาจอนุมัติใหทําลายไดแลว โดยการเผา หรือวิธีอื่นใดทีจ่ ะไมใหหนังสือนัน ้ อานเปนเรื่องได และเมื่อทําลายเรียบรอยแลวใหทําบันทึกลงนามรวมกัน เสนอผูมีอํานาจอนุมัติทราบ ขอ 69 เมื่อหัวหนาสวนราชการระดับกรมไดรบ ั รายงานตามขอ 68.4 แลว ใหพิจารณา สั่งการดังนี้ 69.1 ถาเห็นวาหนังสือเรื่องใดยังไมควรทําลาย ใหสั่งการใหเก็บหนังสือนัน ้ ไวจนถึง เวลาการทําลายงวดตอไป 69.2 ถาเห็นวาหนังสือเรื่องใดควรทําลาย ใหสงบัญชีหนังสือขอทําลายใหกอง จดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร พิจารณากอน เวนแตหนังสือประเภทที่สวนราชการนั้นไดขอทําความ ตกลงกับกรมศิลปากรแลว ไมตองสงไปใหพจิ ารณา ขอ 70 ใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร พิจารณารายการในบัญชีหนังสือขอ ทําลายแลวแจงใหสวนราชการที่สงบัญชีหนังสือขอทําลายทราบดังนี้ 70.1 ถากองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร เห็นชอบดวย ใหแจงใหสวนราช การนัน ้ ดําเนินการทําลายหนังสือตอไปได หากกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ไมแจงใหทราบอยาง ใดภายในกําหนดเวลา 60 วัน นับแตวน ั ที่สวนราชการนัน ้ ไดสงเรื่องใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรม ศิลปากร ใหถือวากองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ไดใหความเห็นชอบแลว และใหสวนราชการทําลาย หนังสือได 70.2 ถากองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร เห็นวาหนังสือฉบับใดควรจะขยาย เวลาการเก็บไวอยางใดหรือใหเก็บไวตลอดไป ใหแจงใหสวนราชการนัน ้ ทราบ และใหสวนราชการนั้น ๆ ทํา การแกไขตามที่กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร แจงมา หากหนังสือใด กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร เห็นควรใหสงไปเก็บไวที่กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ก็ใหสว นราชการนั้น ๆ ปฏิบต ั ิ ตาม เพื่อประโยชนในการนี้ กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร จะสงเจาหนาที่มารวมตรวจ สอบหนังสือของสวนราชการนัน ้ ก็ได หมวด 4 มาตรฐานตรา แบบพิมพ และซอง ขอ 71 ตราครุฑสําหรับแบบพิมพ ใหใชตามแบบที่ 26 ทายระเบียบ มี 2 ขนาด คือ 71.1 ขนาดตัวครุฑสูง 3 เซนติเมตร 71.2 ขนาดตัวครุฑสูง 1.5 เซนติเมตร ขอ 72 ตราชื่อสวนราชการใหใชตามแบบที่ 27 ทายระเบียบ มีลก ั ษณะเปนรูปวงกลมสอง วงซอนกัน เสนผาศูนยกลางวงนอก 4.5 เซนติเมตร วงใน 3.5 เซนติเมตร ลอมครุฑตามขอ 71.1 ระหวางวง นอกและวงในมีอก ั ษรไทยชื่อกระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่น ที่มฐี านะเปนกรมหรือ จังหวัดอยูขอบลางของตรา สวนราชการใดทีม ่ ีการติดตอกับตางประเทศ จะใหมีชื่อภาษาตางประเทศเพิ่มขึ้นดวยก็ได โดยใหอักษรไทยอยูขอบบนและอักษรโรมันอยูขอบลางของตรา ขอ 73 ตรากําหนดเก็บหนังสือ คือ ตราที่ใชประทับบนหนังสือเก็บ เพื่อใหทราบกําหนด ระยะเวลาการเก็บหนังสือนัน ้ มีคําวา เก็บถึง พ.ศ..........หรือคําวา หามทําลาย ขนาดไมเล็กกวาตัวพิมพ 24 พอยท ขอ 74 มาตรฐานกระดาษและซอง 74.1 มาตรฐานกระดาษ โดยปกติใหใชกระดาษปอนดขาว น้ําหนัก 60 กรัมตอ ตารางเมตร มี 3 ขนาด คือ 74.1.1 ขนาดเอ 4 หมายความวา ขนาด 210 มิลลิเมตร x 297 มิลลิเมตร 74.1.2 ขนาดเอ 5 หมายความวา ขนาด 148 มิลลิเมตร x 210 มิลลิเมตร 74.1.3 ขนาดเอ 8 หมายความวา ขนาด 52 มิลลิเมตร x 74 มิลลิเมตร 74.2 มาตรฐานซอง โดยปกติใหใชกระดาษสีขาวหรือสีนา้ํ ตาล น้ําหนัก80 กรัมตอ ตารางเมตร เวนแตซองขนาดซี 4 ใหใชกระดาษน้ําหนัก 120 กรัมตอตารางเมตร มี 4 ขนาด คือ 74.2.1 ขนาดซี 4 หมายความวา ขนาด 229 มิลลิเมตร x 324 มิลลิเมตร

74.2.2 ขนาดซี 5 หมายความวา ขนาด 162 มิลลิเมตร x 229 มิลลิเมตร 74.2.3 ขนาดซี 6 หมายความวา ขนาด 114 มิลลิเมตร x 162 มิลลิเมตร 74.2.4 ขนาดดีแอล หมายความวา ขนาด 110 มิลลิเมตร x 220 มิลลิเมตร ขอ 75 กระดาษตราครุฑ ใหใชกระดาษขนาดเอ 4 พิมพครุฑตามขอ 71.1 ดวยหมึกสีดํา หรือทําเปนครุฑดุน ที่กึ่งกลางสวนบนของกระดาษ ตามแบบที่ 28 ทายระเบียบ ขอ 76 กระดาษบันทึกขอความ ใหใชกระดาษขนาดเอ 4 หรือขนาดเอ 5 พิมพครุฑ ตามขอ 71.2 ดวยหมึกสีดาํ ที่มุมบนดานซาย ตามแบบที่ 29 ทายระเบียบ ขอ 77 ซองหนังสือ ใหพิมพครุฑตามขอ 71.2 ดวยหมึกสีดําที่มม ุ บนดานซายของซอง 77.1 ขนาดซี 4 ใชสําหรับบรรจุหนังสือกระดาษตราครุฑ โดยไมตองพับ มีชนิด ธรรมดาและขยายขาง 77.2 ขนาดซี 5 ใชสําหรับบรรจุหนังสือกระดาษตราครุฑพับ 2 77.3 ขนาดซี 6 ใชสําหรับบรรจุหนังสือกระดาษตราครุฑพับ 4 77.4 ขนาดดีแอล ใชสําหรับบรรจุหนังสือกระดาษตราครุฑพับ 3 สวนราชการใดมีความจําเปนตองใชซองสําหรับสงทางไปรษณียอากาศโดยเฉพาะ อาจใช ซองพิเศษสําหรับสงทางไปรษณียอ  ากาศและพิมพตราครุฑตามที่กลาวขางตนไดโดยอนุโลม ขอ 78 ตรารับหนังสือ คือ ตราที่ใชประทับบนหนังสือ เพื่อลงเลขทะเบียนรับหนังสือ ตาม แบบที่ 12 ทายระเบียบ มีลักษณะเปนรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผา ขนาด 2.5 เซนติเมตร x 5 เซนติเมตร มีชอ ื่ สวนราช การอยูตอนบน ขอ 79 ทะเบียนหนังสือรับ ใชสําหรับลงรายการหนังสือที่ไดรับเขาเปนประจําวัน โดยเรียง ลําดับลงมาตามเวลาที่ไดรบ ั หนังสือ มีขนาดเอ 4 พิมพสองหนา มีสองชนิด คือ ชนิดเปนเลมและชนิดเปนแผน ตามแบบที่ 13 ทายระเบียบ ขอ 80 ทะเบียนหนังสือสง ใชสําหรับลงรายการหนังสือที่ไดสงออกเปนประจําวันโดยเรียง ลําดับลงมาตามเวลาที่ไดสงหนังสือ มีขนาดเอ 4 พิมพสองหนา มีสองชนิด คือ ชนิดเปนเลมและชนิดเปนแผน ตามแบบที่ 14 ทายระเบียบ ขอ 81 สมุดสงหนังสือและใบรับหนังสือ ใชสําหรับลงรายการละเอียดเกีย่ วกับการสง หนังสือ โดยใหผน ู ําสงถือกํากับไปกับหนังสือเพื่อใหผูรับเซ็นรับแลวรับกลับคืนมา 81.1 สมุดสงหนังสือ เปนสมุดสําหรับใชลงรายการสงหนังสือ มีขนาดเอ 4 พิมพ สองหนา ตามแบบที่ 16 ทายระเบียบ 81.2 ใบรับหนังสือ ใชสําหรับกํากับไปกับหนังสือที่นําสงโดยใหผรู ับเซ็นชือ ่ รับแลว รับกลับคืนมา มีขนาดเอ 8 พิมพหนาเดียว ตามแบบที่ 17 ทายระเบียบ ขอ 82 บัตรตรวจคน เปนบัตรกํากับหนังสือแตละรายการเพื่อใหทราบวาหนังสือนัน ้ ๆ ไดมี การดําเนินการตามลําดับขั้นตอนอยางใด จนกระทัง่ เสร็จสิน ้ บัตรนี้เก็บเรียงลําดับกันเปนชุดในที่เก็บโดยมี กระดาษติดเปนบัตรดรรชนี ซึ่งแบงออกเปนตอน ๆ เพื่อสะดวกแกการตรวจคน มีขนาดเอ 5 พิมพสองหนา ตามแบบที่ 18 ทายระเบียบ ขอ 83 บัญชีหนังสือสงเก็บ ใชสําหรับลงรายการหนังสือที่จะสงเก็บ มีขนาดเอ 4 พิมพหนาเดียว ตามแบบที่ 19 ทายระเบียบ ขอ 84 ทะเบียนหนังสือเก็บ เปนทะเบียนที่ใชลงรายการหนังสือเก็บ มีขนาดเอ 4 พิมพสอง หนา มีสองชนิด คือ ชนิดเปนเลม และชนิดเปนแผน ตามแบบที่ 20 ทายระเบียบ ขอ 85 บัญชีสงมอบหนังสือครบ 25 ป เปนบัญชีที่ใชลงรายการหนังสือที่มีอายุครบ 25 ป สงมอบเก็บไวที่กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร มีลักษณะเปนแผนขนาดเอ 4 พิมพสองหนา ตามแบบ ที่ 21 ทายระเบียบ ขอ 86 บัญชีหนังสือครบ 25 ป ที่ขอเก็บเอง เปนบัญชีที่ใชลงรายการหนังสือที่มีอายุครบ 25 ป ซึ่งสวนราชการนัน ้ มีความประสงคจะเก็บไวเอง มีลักษณะเปนแผนขนาดเอ 4 พิมพสองหนา ตามแบบที่ 22 ทายระเบียบ ขอ 87 บัญชีฝากหนังสือ เปนบัญชีที่ใชลงรายการหนังสือที่สวนราชการนําฝากไวกับกอง จดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร มีลักษณะเปนแผนขนาดเอ 4 พิมพสองหนา ตามแบบที่ 23 ทายระเบียบ ขอ 88 บัตรยืมหนังสือ ใชสําหรับเปนหลักฐานแทนหนังสือที่ใหยืมไป มีขนาดเอ 4 พิมพ หนาเดียว ตามแบบที่ 24 ทายระเบียบ ขอ 89 บัญชีหนังสือขอทําลาย เปนบัญชีที่ใชลงรายการหนังสือที่ครบกําหนดเวลาการเก็บ มีลก ั ษณะเปนแผนขนาดเอ 4 พิมพสองหนา ตามแบบที่ 25 ทายระเบียบ บทเฉพาะกาล ขอ 90 แบบพิมพ และซอง

ซึ่งมีอยูกอนวันที่ระเบียบนี้ใชบงั คับ

จะหมด ประกาศ ณ วันที่ 11 เมษายน 2526 เปรม ติณสูลานนท พลเอกเปรม ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรี

ใหใชไดตอ  ไปจนกวา

More Documents from "Tambon Sanmahapon"

April 2020 9
April 2020 16
April 2020 10
Yutthasard-binder2
April 2020 17
003khamnam-2
April 2020 15
April 2020 16