การวิจัยประเภทต่างๆ กำาหนดตามวิธีการวิจัย ■กำาหนดตามจุดมุ่งหมายการวิ จัย ■กำาหนดตามวิธีการเก็บข้อมูล ■
■
กำาหนดตามประโยชน์การนำาไ ปใช้
กำาหนดตามวิธีการวิ จัย
■ ■
■ ■ ■
■
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) การวิจัยเชิงประวัตศ ิ าสตร์ (Historical research) การวิจัยเชิงย้อนรอย (Ex Post Facto research) การวิจัยเชิงสำารวจ (Survey research) การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณา (Ethnographic research)
กำาหนดตามจุดมุ่งหมายกา รวิจัย
■ ■ ■
■ ■
การวิจัยขัน ้ สำารวจ (Exploratory research) การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive research) การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย (Explanatory research) การวิจัยเชิงคาดคะเน (Predictive research) การวิจัยเชิงวินิจฉัย (Diagnostic research)
กำาหนดตามวิธีการเก็บข้อมูล/ลักษ ณะข้อมูล การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ■ การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ■
กำาหนดตามประโยชน์การ นำาไปใช้
การวิจัยพ้ืนฐาน (Basic research) ■ การวิจัยประยุกต์ (Applied research) ■ การวิจัยเชิงปฏิบต ั ก ิ าร (Action research) ■
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) ผูว้ ิจย ั สร้างเง่ ือนไขหรือสถานการณ์ขึ้ น ■ มีการควบคุมตัวแปรในการทดลอง ■
การวิจัยเชิงประวัติศา สตร์ (Historical research)
หาข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ■ หาความสัมพันธ์ ระหว่างอดีต ปั จจุบัน เพ่ ือทำานายอนาคต ■
การวิจัยเชิงย้อนรอย (Ex Post Facto research)
■
เป็ นการศึกษาจาก ผล ไปหา เหตุ โดยเร่ิมจากการกำาหนดตัวแปรตา มก่อน แล้วจึงค่อยหาตัวแปรอิสระ
การวิจัยเชิงสำารวจ (Survey research) ■
ศึกษาข้อเท็จจริงทีปรากฏอยู่
■
หรืออาจจะเปรียบเทียบกับสถานการ ณ์อ่ืนท่ีมีเง่ ือนไขต่างกัน หรือสถานการณ์ท่ีเป็ นมาตรฐาน โดยไม่สนใจถึงเหตุผลว่าทำาไมจึงเกิดส
การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรร ณา (Ethnographic research) ■
ศึกษาความเป็ นมาและพัฒนาการของป รากฏการณ์ โดยเน้นข้อมูลในเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงประเมินผล (Evaluative research) ■
มุ่งศึกษาคุณค่า หรือความสำาเร็จของกิจกรรม/โครง การ เพ่ ือเสนอแนะ ปรับปรุง และพัฒนา
การวิจัยขัน ้ สำารวจ (Exploratory research) มุ่งรวบรวมข้อมูลพ้น ื ฐานเพ่ ือหาข้ อเท็จจริง ■ ไม่มีการตัง ้ สมมุติฐานไว้ก่อน ■
■
ไม่มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมู ล
การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive research)
■
เน้นการหาคำาตอบ อะไร? อย่างไร? มากกว่า คำาตอบว่า ทำาไม?
■
มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแต กต่างระหว่างตัวแปร แต่ไม่เน้นการคาดคะเนปรากฏการ ณ์ในอนาคต
การวิจัยเชิงอรรถาธิ บาย (Explanatory research) ■
การศึกษามุ่งอธิบายถึงความสัมพั นธ์ระหว่างตัวแปรว่ามีลก ั ษณะอย่ างไรบ้าง?
การวิจัยเชิงคาดคะเ น (Predictive research) ■
การวิจัยมุ่งศึกษาถึงความสัมพันธ์ระห ว่างตัวแปร เพ่ ือคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต
การวิจัยเชิงวินิจฉัย (Diagnostic research) ■
การวิจัยมุ่งค้นหาสาเหตุท่ีเกิดขึน ้ เพ่ ือประโยชน์ในการป้ องกัน หรือแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึน ้
การวิจัยเชิงปริมา ณ (Quantitative research) ■
การวิจัยมุ่งเน้นข้อมูลเชิงปริมาณท่ีเป็ นตัวเ ลข และค่าสถิติ ■ ส่ิงท่ีต้องการวัด หรือพฤติกรรมต่างๆต้องแปลงเป็ นตัวเลข ท่ีสามารถนำามาคำานวณ วิเคราะห์ในเชิงสถิติได้
■
■ ■ ■
การวิจัยเชิงคุณภา พ (Qualitative research)
การวิจัยมุ่งเน้นท่ข ี ้อมูลท่เี ป็ นเชิงคุณภาพ ซ่งึ ได้จากการรวบรวมจากสภาพแวดล้อมท่ี เป็ นจริง ไม่มีโครงสร้างท่ีแน่นอน นำาเสนอผลการศึกษาเป็ นภาพรวม ผลการศึกษา การวิเคราะห์วจิ ารณ์ และข้อสรุปต่างๆใช้ภาษาเป็ นหลัก (ไม่เน้นการใช้สถิติ)
การวิจัยพ้ืนฐาน (Basic research) ■
การวิจัยเน้นการขยายขอบเขตความรู้ให้ กว้างขวางออกไป ■ มุ่งสร้างแนวคิด และทฤษฎีใหม่ๆ เพ่ ือให้เกิดความก้าวหน้าในทางวิชาการ
การวิจัยประยุกต์ (Applied research) ■
การวิจัยมุ่งเน้นท่ีการนำาผลของการวิ จัยไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงสภ าพสังคม ส่ิงแวดล้อม และคุณภาพชีวิตของมนุษย์ให้ดข ี น ้ึ
การวิจัยเชิงปฏิบัติ การ (Action research) ■
การวิจัยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ เพ่ ือแก้ไข ปรับปรุงการทำางาน ■ มีลก ั ษณะคล้ายกับการวิจัยประยุกต์ แต่มีความเฉพาะเจาะจงในขอบเขตแ ละวัตถุประสงค์ในการศึกษามากกว่า ดังนัน ้