การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research)
การวิจัยเชิงคุณ ภาพ ลักษณะการวิจัยเชิง คุณภาพ วิธีวิจัยเชิงคุณ ภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ปรัชญาเชิงธรรมชาติ Multiple realities Value-bound
ความจริง Subjective idealism ?
Context-bound Generalization
ลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพ
Naturalistic research Multi-dimensional relationship Manipulativeness Longitudinal study Case study, small sample size Inductive analysis/ Holistic view
วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ มีประเด็นในการศึกษา แทนสมมุติฐาน ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง ใช้การสังเกต หรือการสัมภาษณ์ในการศึกษา ใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วมในการศึกษา ใช้ Focus group ในการสัมภาษณ์ การรายงานใช้การบรรยายเชิงพรรณา
ปรัชญาเชิงธรรมชาติ
จิตของมนุษย์เป็นผู้กำาหนดโครงสร้าง และรูปร่างของความจริง ความจริงทั้งหลายจึงขึ้นอยู่กบั ค่านิยม และบริบททีเ่ กี่ยวข้องด้วย
Multiple realities เนื่องจากจิตของมนุษย์เป็นตัวกำาหนด ความจริง เมื่อมนุษย์มีความแตกต่างกัน ความจริงที่ปรากฏจึงมีความแตกต่าง กันไปด้วย ความจริงในความหมายของการวิจัยเ
Value-bound เนื่องจากความจริงขึ้นอยูก่ ับจิตของมนุษย์ ดังนั้นความจริงจึงมีความเชื่อมโยงกับค่านิย มของมนุษย์ อันได้แก่ เรื่องของความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ ที่มนุษย์มีต่อความจริงในเรื่องนั้นๆ
Context-bound ความจริงในการวิจัยเชิงคุณภาพนั้น ยังเชื่อมโยงกับ contextbound หรือ สภาพแวดล้อมที่อยู่รอบๆตัวมนุษย์อีกด้วย อาจจะเป็นสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ หรือสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
Subjective idealism เนื่องจากความจริงที่ถูกกำาหนดโดยจิตของ มนุษย์มีความแตกต่างและหลากหลาย ความจริงจีงจะมีเพียงหนึ่งเดียวไม่ได้ ความจริงจึงมีความอิสระที่ขึ้นอยู่กับผู้ทรี่ ั บรู้ในความจริงนั้นๆเป็นสำาคัญ
Generalization เนื่องจากความจริงในการวิจัยเชิงคุณภาพไม่ได้ มีหนึ่งเดียว ปรากฏการณ์ทางสังคมที่ได้จากการศึกษาจึงส ามารถใช้อ้างสรุปได้ภายใต้เงือ่ นไขของเวลา และกรอบการศึกษาที่มีการเชื่อมโยงกับสภาพแ
Naturalistic research การวิจัยเชิงธรรมชาติ ซึง่ จะเป็นการวิจัยที่ปล่อยให้สภาพการณ์ ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติที่ไม่มีการ จัดกระทำา หรือควบคุมใดๆทั้งสิ้น
Multi-dimensional relationship เนื่องจากการวิจัยเชิงธรรมชาติ ไม่มกี ารจัดกระทำาและควบคุม ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจึงเป็นไปตามธรรมชา ติ และอาจมีมากกว่าหนึ่งปรากฏการณ์ ดังนั้นในการวิเคราะห์จึงอาจจะต้องพิจารณ าความสัมพันธ์ในหลายๆมิติ
Manipulativeness การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็ นการวิจัยเชิงธรรมชาติ ดังนัน ้ จึงไม่มีการควบคุม หรือการจัดกระทำาต่อสภาพ การณ์ทก ุ อย่างท่ีจะศึกษา
Longitudinal study เน่ ืองจากปรากฏการณ์ต่างๆท่ศ ี ึก ษา ผู้ศก ึ ษาจะต้องปล่อยให้เป็ นไปตาม ธรรมชาติ เน้ือหาท่ีศึกษาอาจมีหลายประเด็น และหลายมิติ ดังนัน ้ การศึกษาจึงมักจะต้องใช้เวลายาว นาน
Case study, small sample size เน่ ืองจากการศึกษาในเชิงคุณภาพนั ้ น จะศึกษาในรายละเอียดของเหตุการ ณ์หน่ึงๆ รวมทัง้สภาพแวดล้อมของเหตุการ ณ์นัน ้ ทัง้หมด ทำาให้ตัวแปรในการศึกษาท่ีเก่ียวข้อ งมีจำานวนมาก ดังนัน ้
Inductive analysis/ Holistic view
เน่ ืองจากการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็ นการศึกษาข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวมข้ อเท็จจริงจากการสังเกตในภาคสนาม ซ่ึงได้กระทำาอย่างต่อเน่ ือง การวิเคราะห์จึงมักจะใช้ตรรกวิทยาแบบ อนุมาน (induction) นอกจากนัน ้ เน่ ืองจากผลการศึกษาได้มาจากการรวบรว มปรากฏการณ์และข้อเท็จจริงในหลายๆมิ
มีประเด็นในการศึกษา แทนสมมุติฐาน เน่ ืองจากการศึกษาท่ีใช้วิธีธรรมชา ติ มีการสังเกต ศึกษาติดตามอย่างต่อเน่ ืองโดยไม่มี การควบคุม หรือการจัดกระทำาใด ๆ การศึกษาจึงมีเพียงประเด็นท่ีผู้ศึก ษามีความสนใจท่ีจะศึกษาเท่านัน ้ การศึกษาจึงไม่มีการคาดคะเนไว้ล่
ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยเชิงคุณภาพมั กจะใช้กลุ่มขนาดเล็ก หรือเป็ นการศึกษาเฉพา ะกรณี ดังนัน ้ จึงมักจะใช้กลุ่มประชากร หรือบุคคลท่เี ก่ียวข้องทัง้
ใช้การสังเกต หรือการสัมภาษณ์ในการศึกษา การสังเกต หรือการสัมภาษณ์ ถือเป็ นเคร่ ืองมือท่ีสำาคัญในการศึกษาเชิง คุณภาพ โดยนักวิจัยจะต้องออกภาคสนามไปสัมผั สกับกลุม ่ ท่ีจะใช้ในการศึกษาโดยตรง เน่ ืองจากการสังเกต และการพูดคุยแบบธรรมชาติ เป็ นวิธีการท่ีจะทำาให้ปรากฏการณ์ต่างๆ
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม
เพ่ ือให้ได้ข้อมูลท่ีครอบคลุม ลึกซึง้ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม จึงเป็ นวิธีการท่ีสำาคัญในการศึกษา เชิงคุณภาพ ส่ิงท่ีสำาคัญในการสังเกตประการห น่ึงได้แก่การทำาความเข้าใจกับกลุ่ม ผู้ถูกศึกษาอย่างชัดเจนถึงสถานภา
การสัมภาษณ์แบบFocus group Focus group เป็ นวิธีการสัมภาษณ์แบบหยั่ งลึก เพ่ ือให้ได้ข้อมูลท่ีลึกซึง้ โดยปกติ Focus group มักจะใช้กบ ั กลุ่มท่ีมีลักษณะ homogeneity
การรายงาน ใช้การบรรยายเชิงพรรณา
เน่ อ ื งจากข้อมูลท่ไี ด้จากการสั งเกต พฤติกรรม และการสัมภาษณ์ในเชิงลึก ในการวิจัยเชิงคุณภาพนัน ้ อาจจะใช้การวิเคราะห์หรืออธิ บายในเชิงสถิตไิ ม่ได้ ดังนัน ้ การรายงานจึงมักจะใช้การบร