The Cause Of Crack

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View The Cause Of Crack as PDF for free.

More details

  • Words: 534
  • Pages: 21
สาเหตุของรอยร้าวในโลหะ บุณยวัฒน์ ธีรประเวศน์กุล 4 June 2008

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

Crack / Fracture • ทั้งสองคำตางหมายถึงการราวเหมือนกัน สิ่งที่แตกตางกัน คือ Crack

รอยราวโดยทั่วไป อาจจะเปนรอยราวที่เกิดจาก กระบวนการผลิต ความรอน หรือแรงที่มา กระทำ โดยรอยราวไมทำใหวัสดุแยกออกจากกัน

Fracture

การแตกราวที่เกิดจากการที่มีแรงมากระทำ ไมวา จะเปนแรงสถิตย หรือ แรงเปนคาบ (Static Load and Cyclic Load)

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

The Causes of Crack สาเหตุของการเกิดรอยราวเกิดขึ้นไดจากเหตุตางๆดังนี้ เหตุทางกล

แรงสถิตย์ แรงเป็นคาบ หรือ แรงดึง แรงกด แรงดัด แรงกระแทก

เหตุทาง ความร้อน

เหตุทาง เทคโนโลยี

เหตุทาง เคมี

การขยายตัว โดยความร้อน

ความผิดพลาด ของวัสดุ / การ ผลิต ความผิดพลาด จากงานเชื่อม

การเกิด Oxidation การผุกร่อน

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

The Causes of Crack สาเหตุของการเกิดรอยราวเกิดขึ้นไดจากเหตุตางๆดังนี้ เหตุทางกล

เหตุทาง เทคโนโลยี

แรงสถิตย์ แรงเป็นคาบ หรือ แรงดึง แรงกด แรงดัด แรงกระแทก

ความผิดพลาด ของวัสดุ / การ ผลิต ความผิดพลาด จากงานเชื่อม

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

เหตุทางกล

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

เหตุทางกล • ปฏิกิริยาของวัสดุตอแรงกระทำภายนอก • ความสามารถในการเปลี่ยนรูปของโลหะจะมีผลกับรอยราว วัสดุ เปราะ

วัสดุ เหนียว

•ความสามารถในการเปลี่ยนรูปต่ํา • ไม่มีการยืดตัวแบบพลาสติก (Plastic Deformation) ทําให้ ความเค้นไม่สามารถลดลงได้ • รอยแยกเมื่อมองจากภายนอกจะสามารถประกบกัน เหมือนเดิมได้

• ความสามารถในการเปลี่ยนรูปสูง • จะยืดตัวแบบพลาสติกก่อนที่จะเกิดรอยแยก • ไม่สามารถประกบชิ้นงานที่แยกจากกันได้

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

Stress-Strain Diagram

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

Brittle vs Ductile วัสดุแตกเปราะ

วัสดุแตกเหนียว

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

Comparative Stress/Strain

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

เหตุทาง เทคโนโลยี

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

เหตุทางเทคโนโลยี

จากการ หล่อ

จากงาน เชื่อม

จากการชุบ แข็ง

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

จากการ สึกหรอ

เหตุทางเทคโนโลยี

จากการ หล่อ

จากงาน เชื่อม

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

รอยร้าวจากการหล่อ

รอยร้าวจากการหดตัว (Shrinkage Cracks)

การฉีกขาดขณะร้อน (Hot Tears)

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

Shrinkage Crack and Cavities ลักษณะ เปนรอยแตกที่เห็นที่ภายนอกหรือภายในชิ้นงาน สวนมาก คลายผลึกมีกิ่งกานสาขา พบมากบริเวณที่ความหนาของชิ้น งานมีการเปลี่ยนแปลง สาเหตุ 1. อุณหภูมิเทสูงเกินไป ทำใหเกิดการหดตัวของของเหลว 2. เกิดความผิดพลาดในการปอนน้ำโลหะ 3. เกิดการแข็งตัวเร็วเกินไปที่ทางเขาของน้ำโลหะและรูลน 4. โลหะไมแข็งตัวในทิศทางเดียว การแกไข 1. ใชอุณหภูมิเทใหถูกตองและเพิ่มขนาดของทางวิ่งน้ำ โลหะ 2. ใชหัวปอนที่ออกแบบมาอยางถูกตอง 3. ใชทุนเย็นติดตามจุดตางๆ เพื่อใหการแข็งตัวเปนแบบ ทิศทางเดียว

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

Hot Tear ลักษณะ รอยแตกมีรูปรางที่ไมสม่ำเสมอ เกิดขึ้นขณะที่น้ำโลหะเขา แบบแลวอยูในชวงสุดทายกอนการแข็งตัว สาเหตุ 1. เกิดจากการหดตัว ทำใหความเคนภายในเพิ่มขึ้น 2. ชิ้นงานมีรูปรางสลับซับซอน ซึ่งทำใหเย็นตัวในแตละ ตำแหนงไมเทากัน การแกไข 1. พยายามออกแบบงานหลอใหมีการเปลี่ยนแปลงหนาตัด อยางชาๆ 2. ใชทุนเย็นติดตามจุดตางๆ เพื่อใหการแข็งตัวเปนแบบ ทิศทางเดียว 3. ถาเปนงานหลอที่มีความซับซอน ใหแยกหลอเปนสวน ยอยๆ แลวนำมาเชื่อมตอเขาดวยกัน

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

รอยร้าวจากงานเชื่อม การแตกร้าวร้อน (Solidification Cracks / Hot Cracking)

การแตกร้าวขณะเย็น (Hydrogen Crack / Cold Cracking)

การแตกร้าวขณะให้ ความร้อนหลังเชื่อม (Reheating Crack)

การแตกร้าวแบบฉีกขาด (Lamellar Tearing)

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

การแตกร้าวร้อน ตำแหนงที่เกิด ในเนื้อเชื่อม และมักจะเกิดตามยาวกลางแนวเชื่อม สาเหตุ 1. เกิดความเคนขณะเชื่อม 2. ธาตุผสมจำพวกฟอสฟอรัส (P) และกำมะถัน (S) จุด หลอมละลายต่ำ แข็งตัวชากวาธาตุอื่นๆ ทำใหเกิดรอย แยกขึ้นตามขอบเกรนของเนื้อเชื่อม 3. สวนผสมคารบอนมากกวา 0.3% ทำใหแตกราวงาย การแกไข 1. เลือกกระบวนการเชื่อมที่ใหอัตราการหลอมละลายต่ำ เชน MIG/MAG เปนตน 2. เลือกลวดเชื่อมที่มีสวนผสมของคารบอนต่ำและ แมงกานีสสูง 3. ทำความสะอาดงานใหไมมีคราบน้ำมันและความชื้น 4. เติมแองปลายสุด (Crater) แนวเชื่อมใหเต็ม

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

การแตกร้าวขณะเย็น ตำแหนงที่เกิด • เกิดที่เนื้องานบริเวณ HAZ ตามแนวเกรนหยาบขนาน ไปกับแนวเชื่อม • แตกตามขอบเกรนในการเชื่อมเหล็กคารบอน และ แตกผาเกรนในการเชื่อมเหล็กแมงกานีส • แตกทันที หรือภายใน 48 ชั่วโมง สาเหตุ 1. การแพรซึมของไฮโดรเจนรวมตัวกับแนวเชื่อมขณะ หลอมละลาย และเกิดความเคนตกคาง 2. ความรอนเขาสูงเกินไป การแกไข 1. เลือกลวดไฮโดรเจนต่ำ 2. ใหความรอนกอนเชื่อม 3. ควบคุมอุณหภูมิระหวางชั้นเชื่อม 4. ใหความรอนหลังเชื่อม เพื่อลดความคนตกคาง

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

การแตกร้าวขณะ Reheat ตำแหนงที่เกิด • อาจเกิดกับ low alloy steel ที่มีสวนประกอบของโคร เมี่ยม วานาเดี่ยม และโมลิบดีนั่ม • ลักษณะแตกเปราะตามขอบเกรน สาเหตุ 1. เกิด Hydrogen Cracks 2. การตกผลึกของคารบอน 3. เกิดการคืบตัวที่ขอบเกรน 4. เกิดจุดรวมความเคนตกคางสูง 5. แนวเชื่อมใหญปริมาณความรอนตกคางสูง การแกไข 1. ออกแบบงานใหกระจายความเคนไดแบบอิสระ 2. เชื่อมรองพื้นแนวเล็ก 3. ใชลวดเชื่อมที่เกิดความเคนตกคางนอย

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

การแตกร้าวแบบฉีกร้าว ตำแหนงที่เกิด • มักเกิดขึ้นใตแนวเชื่อมโดยเฉพาะกับเหล็กรีด สาเหตุ 1. มีสารฝงในเปนแนวยาวในเนื้อโลหะงาน 2. งานหนาเกิดการหดตัวในแนวขวางกับพื้นที่ 3. แผนเหล็กโลหะงานที่เชื่อมมีความเหนียวต่ำ การแกไข 1. เชื่อมรองพื้นดวยลวดเชื่อมความแข็งแรงต่ำกวาโลหะ งาน 2. ออกแบบรอยตอบากรองแผนงานที่หนาให หลอมละลายขณะเชื่อม 3. เลือกใชลวดเชื่อมไฮโดรเจนต่ำและอบแหง

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

Thank You

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

Related Documents

The Cause Of Crack
June 2020 12
Crack
May 2020 26
Crack
April 2020 36
Crack
June 2020 21