Thai Diabetes Article 1

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Thai Diabetes Article 1 as PDF for free.

More details

  • Words: 320
  • Pages: 3
บทความพิเศษเนื่องในวันเบาหวานโลก ตอนที่ 1

บทความตอนที่ 1: โรคเบาหวาน อาจทําใหเราตองเสียมากกวาเงิน จิตติมา จันทนะมาฬะกะ นักเขียนภาคประชาสังคม ประเทศไทย “มันไมใชเรื่องเงินเพียงอยางเดียว เงินจํานวนมากมายแคไหนก็ไมสามารถที่จะคืนขา มาใหฉนั ได” หญิงชราวัย 65 ปผูไมประสงคออกนามกลาว เธอปวยดวยโรคเบาหวาน และเขารับการตัดขา ณ โรงพยาบาลคานธี เมมโมเรียล แอนด เอสโซซิเอท ประเทศ อินเดีย เพียงไมกี่สัปดาหกอนหนา วันเบาหวานโลกที่ใกลจะถึงในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2551 นี้ หญิงชราผูนี้ถูกคราชีวติ ลง คงเหลือไวเพียงขอความ เพือ่ เตือนใหเราหันมาใหความสนใจ และปองกันอันตรายจากโรคแทรกซอนซึ่งเกี่ยวของกับ โรคเบาหวาน “โรคเบาหวานนั้นเพิ่มความเสี่ยงในโรคหัวใจและอัมพาตใหเพิ่มสูงขึ้น” ดร.ริชิ เซทติ ซึ่งทํางานรวมกับ ภาควิชาหัวใจ วิทยา ณ มหาวิทยาลัย CSM ประเทศอินเดีย กลาว “ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นสูงในการเปนโรคอัมพาตและโรคหัวใจนี้ อาจทําใหลดลงไดหากไดรับการควบคุมระดับน้ําตาลใน เลือด รวมทัง้ ความดันโลหิต และ ไขมันในเลือด ใหใกลเคียงกับคําแนะนําจากแพทย การดูแลควบคุมสิ่งตางๆ เหลานี้ยงั ชวยปองกันการอุดตันของหลอดเลือดในขาอีกดวย” ดร. เซทติกลาวย้าํ “ผูปวยดวยโรคเบาหวานนัน้ อาจจะตองเผชิญกับอาการกลามเนื้อถูกทําลาย บางรายก็ไมแสดงอาการใหเห็นชัดเจนนัก รายอื่นๆ อาจจะมีอาการบางเชน ปวด เหน็บ หรือ ชา ปราศจากความรูสึกในบริเวณ มือ แขน ขา หรือวาเทา” ศาสตราจารย ดร. รามากัน ซึ่งเปนหัวหนาศูนยเบาหวาน ในมหาวิทยาลัย CSM เมืองลักนาว ประเทศอินเดีย ไดให ขอมูล ดร. รามากัน ยังไดกลาวอีกดวยวา “โรคแทรกซอนสําคัญอีกอยางหนึง่ เกี่ยวกับโรคเบาหวาน คือ โรคไต เนื่องจากไตไม สามารถขับของเสียออกจากรางกายได ซึง่ เปนระยะสุดทาย และเปนสาเหตุสาํ คัญทีจ่ ะนําไปสูโรคไตวายเรื้อรัง (chronic kidney disease, CKD) และโรคไตลมเหลวได” โดย จิตติมา จันทนะมาฬะกะ นักเขียนภาคประชาสังคม ประเทศไทย โทร. 087-3018680

หนา 1

10/10/2008

บทความพิเศษเนื่องในวันเบาหวานโลก ตอนที่ 1

“คุณจะประหลาดใจที่พบวาโรคเบาหวานเปนสาเหตุสาํ คัญที่ทาํ ใหเกิดโรคไตเรื้อรัง อาจกลาวไดวาเกือบรอยละ 44 ของ ผูปวยรายใหมๆ ถึงแมวาจะไดรับการรักษา และดูแลควบคุมโรคเบาหวานเปนอยางดีแลวก็ตาม แตโรคเบาหวานนั้นก็ ยังทําใหเกิดโรคไตวายเรื้อรัง และไตลมเหลวได” ดร.รามากันเพิม่ เติม โรคเทาเบาหวานซึง่ ไดคราชีวิตของหญิงชราวัย 65 ป ซึง่ เราไดเกริ่นถึงในตอนตนนั้น ดร.รามากัน ยังบอกตอไปอีกวา “เทาของผูปว ยซึ่งเปนโรคเทาเบาหวานในระยะยาว มักจะพบอาการขางเคียงของปลายเสนประสาทเสื่อม (Peripheral neuropathy) และ หลอดเลือดสวนปลายตีบตัน (Peripheral vascular disease) ตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ ไมเพียงเพื่อ รักษาขาดานลาง เทานัน้ แตรวมไปถึงชีวติ ของผูปวยเชนกัน” อาจกลาวไดวา โรคเทาเบาหวานนั้น เปนสาเหตุสาํ คัญอยางหนึ่งที่ทาํ ใหผูปวยตองพักรักษาตัวอยูที่โรงพยาบาลเปน ระยะเวลานาน ซึง่ ตองการการดูแลเอาใจใสอยางมากทั้งจากตัวผูปว ยเองและบุคลากรทางการแพทย สาเหตุสาํ คัญสอง ประการทีท่ ําใหผูปวยโรคเบาหวานมีแนวโนมวาอาจตองเขารับการตัดขา คือการที่ปลายเสนประสาทเสื่อมและประกอบ กับไมไดรับการควบคุมดูแลโรคเบาหวานเปนระยะเวลาติดตอกันหลายป ในขณะทีผ่ ลจากการทีก่ ลามเนื้อบริเวณเทาถูก ทําลาย ทําใหสูญเสียความสามารถในการับความรูสึกบริเวณเทา และการทีเ่ ทาไดรับแรงกดดัน หรือรับน้าํ หนักมาก เกินไปในบางจุดทําใหเกิดแผลไดในเวลาตอมา นอกจากนัน้ อาจจะสงผลใหเกิดแผลในที่สุด และการที่ผูปว ยสูบบุหรี่ก็มี ผลใหกลามเนือ้ ถูกทําลายและลดการไหลเวียนของเลือดในเทาอีกดวย ดวยอายุที่เพิ่มมากขึ้น ผูปวยโรคเบาหวานอาจยิ่งลดความสามารถในการรับความรูสกึ และการหมุนเวียนโลหิต บริเวณ เทา และเสี่ยงอันตรายในการติดเชื้อมากขึ้นดวยเชนกัน ศาสตราจารย ดร.รามากัน ไดใหขอมูลเกี่ยวกับการดูแลรักษาเทาสําหรับผูปวยดวยโรคเบาหวาน ดังนี้ 1. รักษาเทาใหสะอาด – ลางเทาเปนประจํา 2. ใชน้ําอุน เทานัน้ – ไมใชน้ํารอน, ไอโอดีน หรือวา แอลกอฮอล 3. รักษาเทาใหแหง – โดยเฉพาะอยางยิง่ บริเวณหัวแมเทา และอาจจะทาโลชั่นเพื่อใหผิวบริเวณเทามีสุขภาพดี 4. ควรใชยาที่ไดรับคําแนะนําจากแพทยเทานัน้ 5. ตัดเล็บเทาใหเสมอกับขอบ ไมเลยเขาไปจนลึกเกินไป 6. ไมใชมีดโกน หรือมีด ในการตัดตาปลา โดย จิตติมา จันทนะมาฬะกะ นักเขียนภาคประชาสังคม ประเทศไทย โทร. 087-3018680

หนา 2

10/10/2008

บทความพิเศษเนื่องในวันเบาหวานโลก ตอนที่ 1

7. ใสรองเทา หรือรองเทาแตะตลอดเวลา และไมเดินเทาเปลา 8. สวมรองเทาทีพ่ อเหมาะพอดีกับเทา ไมคบั จนเกินไป รองเทาบูทควรสวมเพียงแคชว งระยะเวลาสัน้ ๆ เทานั้น 9. ไมนิ่งนอนใจ ดูแลและปรึกษาแพทยเมื่อมีปญหาเกี่ยวกับเทา “หากนิง่ นอนใจแลว โรคเบาหวานอาจทําใหเราตองเสียมากกวาเงิน” ศาสตราจารย ดร.รามากัน กลาวปดทาย สถิติของโรคเบาหวานจาก สมาพันธเบาหวานนานาชาติ (The International Diabetes Federation - IDF) ป 2550 มี ประชากรที่ปว ยดวยโรคเบาหวาน 246 ลานคนที่ปว ยเปนโรคเบาหวาน คิดเปนสัดสวน 6% ของประชากร ทั้งหมดในโลก ประเทศที่มีประชากรปวยดวยโรคเบาหวานมากที่สุดคือประเทศอินเดีย สูงถึง 40 ลานคน, รองลงมา คือจีน และสหรัฐอเมริกา คนไทยปวยดวยโรคเบาหวานสูงถึง 3 ลานคน ในโอกาสทีว่ ันเบาหวานโลก จะมาถึงในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2551 สมาพันธเบาหวานนานาชาติ ไดเรียกรองให ประชาชนทัว่ โลกไดตระหนักถึงความสําคัญของโรคเบาหวาน และรณรงคเพื่อการดูแลรักษาเบื้องตนอยางทัว่ ถึง

หมายเหตุ: บทความลาสุดของจิตติมา • แดเธอ ... ผูมหี ัวใจทองคํา

โดย จิตติมา จันทนะมาฬะกะ นักเขียนภาคประชาสังคม ประเทศไทย โทร. 087-3018680

หนา 3

10/10/2008

Related Documents

Thai Diabetes Article 1
November 2019 1
Diabetes Article Iv
November 2019 2
Thai Fruit Wine Article Fsb
December 2019 2
Thai
December 2019 47
Thai
December 2019 45
Thai
December 2019 40