เพลงชาติไทย ไทย การสร้างความจริงเรื่องชาติ
เพลงชาติ เพลงที่แสดงความเป็นชาติ • เพลงชาติ (National Anthem) เป็นเพลงประจำาชาติ หมายถึงเพลงที่แสดงถึงความเป็นชาติ และฐานะทางการเมืองว่าเป็นประเทศที่มีเอกราช เป็นสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายประจำาชาติ และเพลงชาติเป็นกลิ่นอายทางศิลปวัฒนธรรมของประชาชนในกลุ่ม ชนชาตินั้น ๆ (สุกรี เจริญสุข)
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ก่อนยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ – เพลงพระสุบิน (บุหลันลอยเลือ่ น ในรัชกาลที่ ๒) พระองค์ทรงโปรดเพลงนี้มาก และดำาริให้บรรเลงทุกครั้งที่ทรงพระราชดำาเนิน หรือเมื่อเสด็จลงท้องพระโรง จึงกลายเป็นเพลงประจำาองค์พระมหากษัตริย์ไปโดยปริยาย
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ก่อนยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ – การใช้เพลงถวายความเคารพพระมหากษัตริย์ในรัชกาลที่ ๔ ยังคงใช้เพลงพระสุบินเมื่อพระองค์เสด็จลงท้องพระโรง แต่ที่เพิม่ เติมขึ้นมาคือ เมื่อพระองค์เสด็จตรวจแถวทหาร หรือเสด็จผ่านบริเวณที่ฝกึ ทหารจะมีการบรรเลงเพลง God Save The Queen ซึ่งถือเป็นเพลงที่ใช้ในการทำาความเคารพสมเด็จพระมหาราชินแี ห่งสหรา ชอาณาจักร (เริ่มต้นประมาณ พ.ศ. ๒๓๕๗
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคสมบูรณาญาสิทธิ์ราชย์
– การใช้เพลง God Save The Queen ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ในช่วงรัชกาลที่ ๕ เพลงดังกล่าวยังคงใช้ในฐานะเพลงเกียรติยศถวายความเคารพต่อพระมหาก ษัตริย์ – การเกิดขึ้นของเพลงสรรเสริญพระบารมีในรัชกาลที่ ๕ ในปี พ.ศ. ๒๔๑๔ รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสสิงคโปร์ซึ่งในขณะนั้นเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร กองทหารดุริยางค์สิงคโปร์ได้ใช้เพลง God Save The Queen ถวายความเคารพ ทั้งต่อพระองค์และผูแ้ ทนอาณานิคม
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคสมบูรณาญาสิทธิ์ราชย์
– การเกิดขึ้นของเพลงสรรเสริญพระบารมีในรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๕ ทรงตระหนักถึงความสำาคัญที่ชาติเอกราชควรจะมีเพลงประจำาชาติเป็นของต นเอง จึงทรงเรียกครูดนตรีทั้งหลายมาปรึกษา เพือ่ ประพันธ์เพลงถวายความเคารพต่อองค์พระมหากษัตริย์เสียใหม่ ในขั้นแรก ได้นำาเพลงพระสุบนิ มาปรับปรุง ต่อมาจึงได้นำาเพลง God Save The Queen มาปรับปรุงและเรียบเรียงใหม่ เรียกว่าเพลงจอมราชจงเจริญ และได้มีการปรับปรุงอีกครั้ง จนเป็นเพลงสรรเสริญพระบารมี
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคสมบูรณาญาสิทธิ์ราชย์ เพลงสรรเสริญพระบารมี ถูกใช้ในฐานะของเพลงของพระมหากษัตริย์และเพลงของชาติไปพร้อม ๆ กัน
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคเปลีย่ นแปลงการปกครอง – การใช้เพลงมหาชัยในช่วงแรกของการปฏิวตั ิเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ – เพลงวันชาติ เพลงชาติสยาม – เพลงชาติไทย ๒๔๘๒ – เพลงชาติไทย ของแกรมมี่ ๒๕๔๖
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคเปลีย่ นแปลงการปกครอง – การใช้เพลงมหาชัยในช่วงแรกของการปฏิวตั ิเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ ช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองได้มกี ารติดต่อให้พระเจนดุริยางค์แต่งเ พลงชาติขึ้นใหม่ โดยให้เหตุผลว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีเป็นของพระมหากษัตริย์ แต่เพลงสำาหรับประชาชนนัน้ หามีไม่ พระเจนดุริยางค์ขอเวลา ๗ วัน เพือ่ แต่งเพลงดังกล่าว
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคเปลีย่ นแปลงการปกครอง – การใช้เพลงมหาชัยในช่วงแรกของการปฏิวตั ิเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ ระหว่างที่รอเพลงชาติไทย ฉบับประชาชนอยู่นนั้ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี(สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ได้แต่งเพลงชาติมหาชัย โดยอาศัยทำานองมหาชัย มีเนื้อเพลง ดังนี้
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคเปลีย่ นแปลงการปกครอง – การใช้เพลงมหาชัยในช่วงแรกของการปฏิวตั ิเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ สยามอยู่คู่ฟ้าอย่าสงสัย เพราะชาติไทยเป็นไทยไปทุกเมื่อ ชาวสยามนำาสยามเหมือนนำาเรือ ผ่านแก่เกาะเพราะเพือ่ ชาติพ้นภัย เราร่วมใจร่วมรักสนับสนุน วางธรรมนูญสถาปนาพาราใหม่ ยกสยามยิ่งยงธำารงไทย ให้คงไทยตราบสิ้นด้นฟ้า
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคเปลีย่ นแปลงการปกครอง – เพลงวันชาติ เพลงชาติสยาม พระเจนดุริยางค์ ได้ประพันธ์ทำานองโดยอาศัยเพลง La Marseillaise เป็นพื้น และขุนวิจิตรมาตรา(สง่า กาญจนาคพันธ์) ประพันธ์เนื้อร้อง และยพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ได้แก้ไขบางวรรค จนได้เป็นเนื้อร้อง ดังนี้
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย
• ยุคเปลี่ยนแปลงการปกครอง – เพลงวันชาติ เพลงชาติสยาม
แผ่นดินสยามนามประเทืองว่าเมืองทอง ไทยเข้าครองตั้งประเทศเขตต์แดนสง่า สืบชาติไทยดึกดำาบรรพ์โบราณลงมา ร่วมรักษาสามัคคีทวีไทย บางสมัยศัตรูจู่โจมตี ไทยพลีชีวิตร่วมรวมรุกไล่ เข้าลุยเลือดหมายมุง่ ผดุงไผท สยามสมัยโบราณรอดตลอดมา อันดินสยามคือว่าเนื้อของเชื้อไทย นำ้ารินไหลคือว่าเลือดของเชื้อข้า เอกราชคือเจดีย์ที่เราบูชา เราจะสามัคคีร่วมมีใจ รักษาชาติประเทศเอกราชจงดี ใครยำ่ายีเราจะไม่ละให้ เอาเลือดล้างให้สิ้นแผ่นดินไทย สถาปนาสยามให้เทอดไทยไชโย
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคเปลีย่ นแปลงการปกครอง
– เพลงชาติไทย ๒๔๘๒ ยุค “เชือ่ ผูน้ ำา ชาติพน้ ภัย” จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” มาเป็น “ไทย” ปัญหาคือ เพลงชาติมีคำาว่า “สยาม” อยูใ่ นเพลง ดังนัน้ จึงเกิดการประกวดประพันธ์เนือ้ ร้องเพลงชาติไทยขึ้นมาใหม่ โดยอาศัยทำานองเพลงชาติสยามอย่างเดิม โดยเนื้อเพลงชาติไทยที่ประกวดชนะเลิศนั้นเป็นของ พ.อ.หลวงสารานุประพันธ์(นวล ปาจิณพยัคฆ์) ซึ่งส่งประกวดในนามของกองทัพบก และเป็นเนื้อร้องแบบที่ใช้มาจนทุกวันนี้
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคเปลีย่ นแปลงการปกครอง – เพลงชาติไทย ของแกรมมี่ ๒๕๔๖ สำานักปลัดกระทรวงกลาโหม ได้มีความคิดริเริ่มที่จะทำาเพลงชาติไทยให้มคี วามหลากหลายและใช้ได้ใน หลายโอกาสมากขึ้น จึงได้ติดต่อไปยัง บมจ.แกรมมี เพือ่ ประพันธ์ทำานองเพลงชาติไทยให้มคี วามหลากหลายขึ้น แนวคิดดังกล่าวได้ถกู ตำาหนิจากประชาชนในวงกว้าง มีการผูกโยงว่า ผูน้ ำารัฐบาลคิดจะเปลีย่ นแปลงประเทศ โดยเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงเนือ้ เพลงชาติ
วิวัฒนาการเพลงประจำาชาติของสยามและไทย • ยุคเปลีย่ นแปลงการปกครอง – เพลงชาติไทย ของแกรมมี่ ๒๕๔๖ ต่อมาทาง บมจ.แกรมมี่ได้ส่งเพลงชาติแบบใหม่จำานวน ๖ ฉบับ ไปยังสำานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โดยทั้งหมดใช้เนือ้ ร้องเพลงชาติไทยฉบับปี พ.ศ. ๒๔๘๒ เช่นเดิมทั้งหมด เพียงแต่มีทำานองทีแ่ ตกต่างออกไป ๖ รูปแบบเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ไม่มีการเผยแพร่ผลงานดังกล่าวสู่สาธารณชนอย่างเป็นทางการ
บริบททางสังคมการเมืองระหว่างการสร้างเพลงชาติไทย พ.ศ. ๒๔๘๒ • “ประวัติศาสตร์ที่บันทึกไว้ไม่ได้ลอยมาจากฟากฟ้า แต่เกิดขึ้นด้วยกระแสของสังคมและวัฒนธรรมในห้วงเวลานั้น ๆ ผู้บันทึกประวัติศาสตร์เพียงแต่หยิบแง่มุมบางอย่างที่เขาคิดว่าเหมาะ สมมาเรียบเรียงให้เราได้อ่านกัน เท่านั้น”
ความเสื่อมถอยทางเศรษฐกิจ กับ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ • ดุลราชการในสมัยรัชกาลที่ ๗ เหตุการณ์ข้าวยากหมากแพง อันเป็นผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ ๑ ทำาให้ประเทศขาดดุลการคลัง ดุลงบประมาณ อย่างหนัก จึงมีการลดค่าใช้จ่ายด้วยวิธกี ารต่าง ๆ หนึ่งในนั้นคือ การให้ข้าราชการส่วนหนึ่งออกจากตำาแหน่ง สร้างความไม่พอใจแก่ข้าราชการเป็นอย่างมาก จนพระองค์ทรงต้องตรัสออกมาในลักษณะว่า “แต่กษัตริย์ มิใช่เทวดา ที่จะบันดาลอะไรมากได้ง่าย ๆ”
การเติบโตของ "กลุ่มความคิดใหม่" กับการเข้มแข็งของ "ทหารหัวก้าวหน้า" • เริ่มมีการส่งบุตรขุนนางเข้าเรียนโรงเรียนฝึกหัดราชการตั้งแต่ ร.๕ โดยมี โรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก เป็นที่แรก • การเกิดขึ้นของ “ปัญญาชนสามัญ” เช่น เทียนวรรณ นรินทร์กลึง ที่นำาเสนอการแก้ไขปัญหาสังคมในด้านต่าง ๆ • หน่วยงานด้านทหาร ถือเป็นหน่วยงานที่มีการจัดระบบราชการ (Bureaucracy) ก่อนหน่วยงานอื่น ทำาให้เกิดความเป็นสถาบัน มีวัฒนธรรมองค์กร มีสายบังคับบัญชาที่เป็นระบบก่อนหน่วยงานใด ๆ
ปืน-ทุน-เจ้า : แรงเหวี่ยงแห่งอำานาจ • ในยุคเทวสิทธิ์ (ก่อนรัชกาลที่ ๕) ราชสำานักมีอำานาจในการควบคุมพานิชยกรรมและการทหารอย่างเต็ มที่ • ยุคสมบูรณาญาสิทธิ์ราช พระมหากษัตริย์และเชื้อพระวงศ์มีอำานาจในการควบคุมพานิชกรรม และการทหาร • อำานาจของกษัตริย์เริ่มสั่นคลอน ด้วยการสะสมทุนที่มีประสิทธิภาพของคนเชือ้ สายจีนในรัชกาลที่ ๖ • ในขณะเดียวกัน กลุ่มทหารเริ่มตระหนักถึงความเป็นเจ้าของประเทศมากขึ้น
ปืน-ทุน-เจ้า : แรงเหวี่ยงแห่งอำานาจ • ในยุคช่วงรัชกาลที่ ๗ การขึ้นครองราชย์ โดยการข้ามสันติวงศ์ ทำาให้พระองค์ไม่มีฐานอำานาจทั้งในด้านกำาลังและทุนทรัพย์อยู่ในมื อ • การแก้ปัญหาเศรษฐกิจ โดยให้ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ออกหลายคน ทำาให้เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการเป็นอย่างมาก • การตัดลดงบประมาณกลาโหม ก่อให้เกิดการต่อต้านในหมู่ทหารอย่างหนัก • เริ่มมีการพูดว่า สถาบันกษัตริย์ เป็นเครื่องหน่วงความเจริญของชาติ
ปืน-ทุน-เจ้า : แรงเหวี่ยงแห่งอำานาจ • การก่อการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ นำาโดยกลุ่มบุคคลสองกลุ่ม คือ กลุม่ ทหาร และ กลุ่มปัญญาชนสามัญ • มีการลดทอนอำานาจพระมหากษัตริย์ลงในหลาย ๆ ด้าน ที่เห็นชัดคือ การยกเลิกพระคลังข้างที่ แล้วเปลี่ยนเป็นสำานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยให้โอนมาสังกัดสำานักนายกรัฐมนตรี รวมถึงการอนุญาตให้กษัตริย์เสด็จโดยพระราชอัธยาศัยได้เพียงวังไ กลกังวล นอกเหนือจากนั้น ต้องขออนุญาตต่อคณะรัฐมนตรีก่อน
การสร้างรัฐพิธี และการเมืองเรื่องเพลงชาติ • ในปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ได้มีการเปลี่ยนชื่อประเทศ จาก “สยาม” มาเป็น “ไทย” • รัฐบาลได้จัดประกวดเนื้อร้องเพลงชาติเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ ยนชือ่ ประเทศ โดยมีเงื่อนไขว่า ให้ใช้ทำานองของพระเจนดุริยางค์ มีความยาวเนื้อร้อง ๘ วรรค และมีคำาว่า “ไทย” ปรากฏในเนื้อเพลงด้วย ผลคือผลงานของหลวงสารานุประพันธ์ ซึง่ ส่งประกวดในนามกองทัพบกได้รับรางวัลชนะเลิศ
การสร้างรัฐพิธี และการเมืองเรื่องเพลงชาติ • มีการประชาสัมพันธ์ผ่านรายการวิทยุ “นายมั่น-นายคง” ให้เห็นความสำาคัญและศักดิ์สทิ ธิ์ของธงชาติ-เพลงชาติ ตลอดจนวิธีเคารพธงชาติ-เพลงชาติ อย่างถูกต้อง • มีการออกระเบียบ “รัฐนิยม” จำานวน ๑๒ ฉบับ เพื่อนิยามคำาว่า “ชาติไทย” “คนไทย” “พฤติกรรม-หน้าที่ไทย” • ในจำานวนนั้น มี ๒ ฉบับที่เกี่ยวข้องกับ “เพลงชาติ”
รัฐนิยม ฉบับที่ ๔ เรือ่ งการเคารพธงชาติ เพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมี “เพื่อให้คนไทยยึดถือและเป็นหลักปฏิบัติ คือเมื่อได้เห็นธงชาติขึ้นลงจากเสาประจำาสถานที่ราชการตามเวลาปกติ หรือได้ยินเสียงแตรเดี่ยว ฯลฯ หรือได้ยินเพลงชาติ เพลงสรรเสริญพระบารมี ซึง่ ทางราชการบรรเลงในราชการ... ฯลฯ ให้แสดงความเคารพโดยปฏิบัติตามระเบียบเครื่องแบบหรือตามประ เพณีนิยม”
รัฐนิยม ฉบับที่ ๖ เรื่องทำานอง และเนือ้ ร้องเพลงชาติ “ด้วยรัฐบาลพิจารณาเห็นว่า ทำานองและเนื้อร้องเพลงชาติซึ่งได้ประกาศไว้ ณ วันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ นั้น ทำานองเป็นที่นิยมแพร่หลายแต่เนื้อร้องจะต้องมีใหม่ เพราะชื่อประเทศได้เรียนว่าประเทศไทยแล้ว.... ฯลฯ .... จึงได้ประกาศเป็นรัฐนิยมไว้ดังต่อไปนี้ ๑. ทำานองเพลงชาติ ให้ใช้ทำานองเพลงของพระเจนดุริยางค์ ตามแบบที่มีอยู่ ณ กรมศิลปากร ๒. เนื้อร้องเพลงชาติ ให้ใช้บทเพลงของกองทัพบก”
บทสรุปของบริบททางสังคม-การเมือง ระหว่างการสร้างเพลงชาติไทย • การสร้างความเป็นชาติ มีอิทธิพลอย่างมากต่อการสร้างเพลงชาติไทย • เพลงชาติ สะท้อนถึงการสร้างความเป็นชาติ ที่ผู้มีอำานาจ (อธิปัตย์) ในช่วงเวลานั้น ๆ ต้องการ • เพลงชาติไทยที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๘๒ จนถึงปัจจุบัน เกิดขึ้นมาด้วยเหตุแห่งลัทธิชาตินิยม ที่สร้างโดยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
คำาถามที่พบจากการศึกษา • แท้จริงแล้ว การตั้งให้ประเทศไทยมีที่มาจากการรวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย ซึง่ หมายถึง การมีสายพันธ์เดียวกันนั้น เหมาะสมกับสภาพปัจจุบันหรือไม่อย่างไร • สิง่ ที่ซ่อนอยู่ในเนื้อเพลงชาติไทย เช่น คำาว่า “ประชารัฐ” “ไผทของไทยทุกส่วน” คืออะไร เชือ้ ชาตินิยมใช่หรือไม่ • ด้วยคติคิดเช่นนี้ ได้ส่งผลต่อพฤติกรรมในการปกครอง (Governance behavior) ของรัฐไทยอย่างไร ?
บทวิเคราะห์เพลงชาติไทย ในฐานะเครื่องมือหนึ่งในการสร้างรัฐชาติไทย ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย เป็นประชารัฐไผทของไทยทุกส่วน อยู่ดำารงคงไว้ได้ทั้งมวล ด้วยไทยล้วนหมายรักสามัคคี ไทยนี้รักสงบแต่ถึงรบไม่ขลาด เอกราชจะไม่ให้ใครข่มขี่ สละเลือดทุกหยาดเป็นชาติพลี เถลิงประเทศชาติไทยทวีมีชยั ชโย