สัมมนาการคิดแบบมีเหตุผล แนวคิดทางธุรกิจ สัมมนาเพื่อการพัฒนาและยกระดับ กุมภาพันธ์ 2005 จัดทำาโดย Sugiyama Management Development Ltd (SME)
สารบัญ บทนำา วัตถุประสงค์ ความสำาคัญของการคิดอย่างมีเหตุผล ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบ ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 1 การแบ่งแยกประเด็น ตอนที่ 2 ระบุปัญหา ตอนที่ 3 การแก้ไขปัญหา ระบุปัญหา การสือ่ สารอย่างเป็นเหตุเป็นผล สรุป
บทนำา ทำาไมคุณจึงมองไม่เห็น คุณเคยตกอยู่ในสถานการณ์แบบนี้หรือเปล่า - ฉันอธิบายอย่างละเอียดแต่ยังคงไม่เข้าใจ - หัวหน้าไม่เคยเห็นด้วยกับความคิดเห็นของฉัน - ผูค้ วบคุมดูแลไม่เข้าใจถึงความจำาเป็นในการสร้างวิธีการแก้ไขปัญหา - ฉันคิดว่าฉันเข้าใจประเด็นสำาคัญได้เป็นอย่างดี แต่เมื่อมีปัญหาฉันกลับสับสน - ไม่มีใครเข้าใจว่าประเด็นสำาคัญนั้นซับซ้อนมากเกินกว่าจะแก้ไข
การคิดแบบเป็นเหตุเป็นผล คือวิถีทางหนึ่งที่คน้ หาหนทางอื่นในการแก้ไขสถานการณ์อันยากลำาบากเหล่านี้
วัตถุประสงค์ของสัมมนา เพื่อทำาให้ทุกคนเกิดความสามารถดังต่อไปนี้ •
เข้าใจสถานการณ์ในแนวทางที่เป็นเหตุเป็นผล
• • • •
จัดประเภทของความคิดเห็น (ทัศนะ) ในแนวทางที่เป็นเหตุเป็นผล ระบุปัญหาในแนวทางที่เป็นเหตุเป็นผล คิดค้นวิธีการแก้ปัญหาในแนวทางที่เป็นเหตุเป็นผล สือ่ สารความคิดออกมาในแนวทางที่เป็นเหตุเป็นผล การคิดแบบเป็นเหตุเป็นผล คือ วิธีการและการฝึกอบรมเพื่อทำาให้เกิดความสามารถในการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล
ความสำาคัญของการคิดอย่างมีเหตุมีผล
ความสำาคัญของการคิดอย่างมีเหตุมีผล โดยผิวเผินแล้วดูเหมือนทุกคนเห็นด้วยกับสิ่งที่กำาลังอธิบายแต่แท้จริงแล้วพวกท่านกำาลังคิดอะไรที่แตกต่ างกันออกไป เราไม่ได้ดำาเนินการตามสิ่งที่มีความสำาคัญอย่างแท้จริง แต่กลับเอาชนะบางสิ่งโดยไม่รู้ตัวด้วยความเคยชินหรือสิ่งที่ตนเองชอบ ดูเหมือนว่าเราทำางานในแบบเดียวกันแต่วัตถุประสงค์กลับแตกต่างกัน เราไม่สามารถบรรลุถึงวัตถุประสงค์หรือเข้าใจในการอภิปรายอย่างลึกซึ้ง ดังเหตุการณ์ข้างต้น โดยเฉพาะเหตุการณ์ทางธุรกิจซึง่ เป็นวิกฤตการณ์ที่เราต้องพูดถึงรายละเอียดให้ได้รับการยินยอมจากบุค คลที่สามเพื่อรักษาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และแรงจูงใจ ในการสร้างการตัดสินใจก็เช่นกัน เราควรมุ่งประเด็นไปที่แผนการและความเป็นไปได้มากกว่าการเชื่อมั่นในโอกาสที่บรรลุถึงวัตถุประสงค์
ความสำาคัญของการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล ในทางธุรกิจ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลนั้น นับเป็นพื้นฐานในการตัดสินความก้าวหน้าและความสำาเร็จของสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้ การสือ่ สาร การจูงใจ ความเข้าใจ การคิด
ความสำาคัญของการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล แบบฝึกหัดที่ 1: หวนรำาลึกถึงสถานการณ์ของการทำางานในแต่ละวัน เช่น - การสือ่ สารเป็นเรือ่ งที่ยุ่งยาก - การจูงใจเป็นเรือ่ งที่ยุ่งยาก - คุณไม่ได้ความเข้าใจอย่างเหมาะสม และพยายามที่จะแบ่งปันประสบการณ์ระหว่างกลุ่ม โปรดเลือกตัวอย่างมา 1 ข้อพร้อมทั้งอภิปรายและตัดสินถึงสาเหตุว่าทำาไมจึงไม่สามารถหาคำาตอบให้กับสิ่งต่างๆ เหล่านี้ได้
ความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลกระทบ
ความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลกระทบ อะไรคือความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลกระทบ ความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลกระทบ โดยสัญชาติญาณคือแนวคิดขั้นพื้นฐาน แต่ยังมีบางสิ่งที่เรารับรูใ้ นฐานะสาเหตุและผลกระทบ โดยปราศจากเหตุผลใดๆ ที่นำามาสนับสนุน ยกตัวอย่างเช่น: รายได้ไม่เพิ่มขึ้นเพราะเศรษฐกิจตกตำ่า นี่คือเหตุผลที่น่าพอใจแบบการมองอย่างผิวเผิน แต่ก็มีบริษัทเป็นจำานวนมากที่ประสบความสำาเร็จในยุคเศรษฐกิจตกตำ่า ดังคำากล่าว “ เพราะเศรษฐกิจตกตำ่า...” อาจจะช่วยให้รอดชีวิตไปวันๆ แต่อาจจะไม่ใช่ความจริงต่อคำาดังกล่าวนี้ อาจจะเป็นได้ว่า ความจริงของวิถีทางดำาเนินธุรกิจ คือ สิ่งที่ผิดพลาด
อะไรจะเกิดขึ้นถ้าเราเข้าใจความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลกระทบอย่างถูกต้อง การเรียนรูค้ วามสัมพันธ์ของสาเหตุและผลกระทบ หมายถึง การเรียนรูค้ วามจริงและนั่นคือจุดเริม่ ต้นของการอภิปรายและแก้ไขปัญหา
ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบ
รูปแบบของความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบ
ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบประกอบด้วยรูปแบบต่างๆ ดังต่อไปนี้ ความสัมพันธ์ขั้นพื้นฐานของสาเหตุและผลกระทบ สาเหตุ A ผลลัพธ์ B เมือ่ สาเหตุหนึง่ ประการทำาให้ผลลัพธ์เพียงข้อเดียว และเมือ่ ผลลัพธ์ B คือ หลักฐานฉะนั้นสาเหตุ A ทำาให้เกิดผลลัพธ์ B เท่านั้น ความสัมพันธ์แบบเป็นวงจรระหว่างสาเหตุและผลกระทบ สาเหตุ A ผลลัพธ์ B สาเหตุ A เมื่อสาเหตุ A นำาไปสู่ผลลัพธ์ B แต่ในทางกลับกันผลลัพธ์ B ก็เป็นต้นตอทำาให้เกิดสาเหตุ A A และB ก่อให้เกิดวงจรซึ่งก่อให้เกิดความยุ่งยากที่ระบุวา่ อะไรคือสาเหตุและอะไรคือผลลัพธ์ และความสัมพันธ์ไม่เพียงแต่จะเกิดระหว่าง A และ B แต่สามารถเกิดได้ในหลายสถานการณ์ เช่น A B C D A
ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบ ความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่างสาเหตุและผลกระทบ สาเหตุ A
ผลลัพธ์ B ผลลัพธ์ B
ผลลัพธ์B
ผลลัพธ์ D ผลลัพธ์ E ผลลัพธ์ F ผลลัพธ์ G
ความสัมพันธ์ที่สลับซับซ้อนเกิดจากการนำาสาเหตุและผลกระทบมาผสมรวมกันในสถานการณ์เช่น นี้ การหาสาเหตุจากผลลัพธ์อันใดอันหนึ่งจึงเป็นไปได้ยากมาก
ความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลกระทบ
การระบุความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบ
โดยการตรวจสอบจุดประสงค์ ดังนี้ เมื่อลำาดับเหตุการณ์ถกู ต้อง โดยธรรมชาติแล้ว สาเหตุควรที่จะอยู่เหนือผลลัพธ์ ฉะนั้น เหตุการณ์ต่างๆ ควรได้รับการทดสอบด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์ เมื่อเกิดการแก้ไข
การแก้ไขจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของบางสิ่งและสิ่งนั้นจะกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอี กแบบหนึ่ง ที่ใดมีความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบ ก็ต้องมีการแก้ไขเช่นกัน เมื่อมีสาเหตุอื่น ถ้าหากมี 2 เหตุการณ์เกิดขึ้นตามลำาดับเหตุการณ์ และได้รบั การแก้ไขก็จะไม่มีการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบโดยอัตโนมั ติ ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าระหว่างเหตุการณ์ A และ B คือสาเหตุที่แท้จริงของ C ซึ่งทำาให้เกิด A ก่อน และ B ตามหลัง และถ้าไม่มีการระบุถึง C ก็จะปรากฏความสัมพันธ์ของสาเหตุกับผลกระทบระหว่าง A และ B
ความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลกระทบ เมื่อมีการตรวจสอบอย่างรอบครอบ ดังนี้ การตั้งสมมุติฐาน , การสังเกต , การมองและเข้าใจอย่างลึกซึ้ง : ไม่เพียงแต่ใช้ประโยชน์ของข้อมูลที่มีอยู่ แต่การใช้ประโยชน์จากความคิดที่มีเหตุผล การสังเกตการณ์และการเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ถ้าทำาให้เห็นปัจจัยหรือเหตุการณ์ที่ได้รับการมองข้าม ความยืดหยุ่น : อย่าปล่อยให้ตัวคุณยึดติดกับความรูค้ วามสามารถในการแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าและค้นหาควา มเป็นไปได้จากมุมมองด้านอืน่ ที่แตกต่างออกไป เพราะบางครั้งสมมติฐานของคุณก็อาจผิดพลาดได้ ความรู,้ ประสบการณ์, กรอบแนวคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล : พยายามสร้างเหตุผลบนพื้นฐานความรู้หรือประสบการณ์ของแต่ละบุคคล หรือความเชื่อที่มีอยู่เดิม หรือที่ได้รับการยอมรับในฐานะกรอบแนวคิดที่น่าเชื่อถือและยึดถือได้เพื่อรักษาความน่าเชื่อถือ
ความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลกระทบ ความผิดพลาดที่เกิดจากความบังเอิญ
ความคิดที่มีอยู่ก่อนแล้วของความผิดพลาดในฐานะความจริงที่ปราศจากอคติ ยกตัวอย่างเช่น “ความอยากจนทำาให้เกิดอาชญากรรม” ฉะนั้นควรจะบ่งบอกให้เห็นว่าอะไรคือ “ความอยากจน” และอะไรคือ “อาชญากรรม” อย่างชัดเจน อธิบายถึงลักษณะทั่วไปของการสร้างคุณค่าของแต่ละบุคคล ยกตัวอย่างเช่น “ฉันได้รบั การกระตุ้นเมื่อได้ทำางานที่ท้าทาย ดังนั้น ยิ่งวัตถุประสงค์ยากมาเท่าใดบุคคลนั้นก็จะทำางานหนักมากขึ้น” แต่ในบางครั้งการกระตุ้นบุคคลหนึ่งให้ทำางานอาจจะไม่จำาเป็นและใช้ไม่ได้กับบางคน กล่าวถึง ความจริงที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไปอีกครั้ง ยกตัวอย่างเช่น “ระบบอาวุโสทำาให้ผลผลิตของประเทศญี่ปุ่นลดลง” และเคยมีคำากล่าวว่า”ระบบอาวุโสคือหนึ่งในความลับที่สนับสนุนให้บริษัทของญี่ปุ่นแข็งแกร่ง เร่งสรุปผลจากความจริงที่ผิวเผิน ยกตัวอย่างเช่น “การกระทำาผิดจะเข้ามาแทนที่เนื่องมาจากการขาดความเคารพกฎระเบียบมีหลายบริษัทที่ละเมิดกฎ หมายถึงแม้ว่าจะมีกฎระเบียบ
ความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลกระทบ แบบฝึกหัดที่ 2 : อภิปรายเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ “ถ้าจำานวนพนักงานเอกสารลดลงเนื่องมาจาก ค่าเดินทางเพิ่มขึ้น” คือ ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบ จงอธิบายคำาตอบ C โดยใช้คำาตอบ “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ในแนวทางที่เป็นเหตุเป็นผล
ความคิดด้านโครงสร้าง ส่วนที่ 1
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 1 การแบ่งแยกประเด็น
1. อะไรคือ ความคิดด้านโครงสร้าง 1) ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ทั้งหมด เมื่อนำาเหตุการณ์ต่างๆ (ปัจจัย) มาเชื่อมโยงกัน ควรมีการจัดกลุ่มเหตุการณ์เหล่านี้เพื่อทำาให้เกิดภาพที่ใหญ่ขึ้น ยกตัวอย่างเช่น : ปริมาณอุบัติเหตุทางรถยนต์เพิ่มขึ้น แต่ถึงอย่างไรก็ควรจะมีการจัดประเภทของอุบัติเหตุให้เป็น อุบัติเหตุที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ , อุบัติเหตุของรถยนต์เพียงหนึ่งคันและอุบัติเหตุของรถยนต์หลายคัน เป็นต้น 2) ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบ ตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ที่อยู่ในความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบ 3) ชั่งนำ้าหนักความสำาคัญของปัจจัยส่วนบุคคล อย่างแรกคือ ยืนยันวัตถุประสงค์ของการคัดแยกอีกครั้ง ต่อจากนั้นระบุและจัดลำาดับก่อนหลังของปัจจัยต่างๆ
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 1 การแบ่งแยกประเด็น
2. การวางโครงสร้างของเหตุการณ์ตา่ งๆ 1) การค้นหาความจริง นี้คือกระบวนในการค้นหา รวบรวมและแบ่งแยกความจริงที่น่านำาไปสู่ปัญหาหรือส่งผลกระทบต่อปัญหา ยกตัวอย่างเช่น ประเด็นด้านแรงงาน อะไรคือประเด็นทางด้านแรงงานที่เรามีอยู่ เรามีประเด็นทางด้านแรงงานในที่ทำางานหรือไม่ เมื่อเกิดอุบัติเหตุ อุบัติเหตุประเภทใดที่เกิดขึ้น เกิดมากี่ครั้งและเกิดขึ้นที่ใด ประเด็นทางด้านแรงงานมักมาพร้อม “การขาดงานเป็นประจำา” “สิ่งแวดล้อมในการทำางานด้อยลง” “การทำางานเกินเวลามากเกินควร” ซึ่งสิ่งเหล่านี้อยู่ในที่ทำางานปัจจุบันของคุณหรือไม่
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 1 การแบ่งแยกประเด็น (ต่อ) 2) การวิเคราะห์ขั้นพื้นฐาน ควรมีการตรวจสอบความจริงและข้อมูลที่จัดเก็บไว้อีกครั้ง ต่อจากนั้นก็แยกประเภทของความจริงและข้อมูลเพื่อทำาให้เห็นสาเหตุของปัญหา ยกตัวอย่างเช่น : สมมติฐานเบื้องต้น คือ การเกิดอุบัติเหตุในที่ทำางาน เมื่อมีการทำางานนอเวลาเกินสมควร แต่จาการสำารวจที่แท้จริงแล้วปรากฏว่าอุบัติเหตุจะเกิดขึน้ บ่อยครั้งในสิ่งแวดล้อมที่มีความมืด ซึง่ สถานที่เช่นนี้มีแนวโน้มที่ทำาให้เกิดอัตราการขาดงานที่สูงขึ้น 3) การวางโครงสร้างเหตุการณ์ตา่ งๆ ในฐานะสมมติฐาน พยายามคิดหาเหตุผลเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบของปัญหาที่มีไว้เพื่อพิจ ารณาผลลัพธ์ของการวิเคราะห์ขั้นพื้นฐาน ยกตัวอย่างเช่น : สถานที่ทำางานที่มืด อุบัติเหตุในการทำางาน การขาดคนงาน การจ้างพนักงาน คนงานที่ไม่มีทักษะด้านการทำางานที่เพียงพอ ทำาให้เกิดอุบัติเหตุ ทำางานเกินเวลา แรงจูงใจตำ่า การขาดงาน
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 1 การแบ่งแยกประเด็น (ต่อ) 4) การวิจัย การวิเคราะห์และการปรับปรุงโครงสร้างใหม่เพื่อทดสอบความถูกต้องของสมมติฐาน ทดสอบความถูกต้องของสมมติฐาน และถ้าความจริงไม่ได้รับการอธิบายด้วยสมมติฐานก็ต้องมีการค้นพบสมมติฐานที่แตกต่างกันออกไ ป
3. ความสำาคัญและสิทธิพเิ ศษ บ่อยครั้ง การจะแก้ไขทุกปัญหาแทบจะเป็นไปไม่ได้หรือเป็นไปอย่างไม่เหมาะสม ดังนั้นการประเมินถึงความสำาคัญและสิทธิพิเศษจึงเป็นสิง่ จำาเป็น
ความคิดด้านโครงสร้าง 1) ความสำาคัญ และลำาดับความสำาคัญของปัญหา ตัวอย่าง ปัจจัยที่ควรคำานึง
ผลต่อรายได้
ความเร่งด่วน
ผลต่อการปฏิบัติงานประจำาปี
ความถี่
ปัญหาที่ 1
สูง
ตำ่า
ตำ่า
สูง
ปัญหาที่ 2
ตำ่า
สูง
ตำ่า
ปานกลาง
ปัญหาที่ 3
ตำ่า
สูง
ตำ่า
ตำ่า
ความคิดด้านโครงสร้าง 2) ความสำาคัญและลำาดับความสำาคัญของผลลัพธ์ ตัวอย่าง
ปัจจัยที่ควรคำานึง
ผลต่อรายได้
ความเร่งด่วน
ผลต่อการปฏิบัติงานประจำาปี
ความถี่
ผลลัพธ์ที่ 1
สูง
ตำ่า
ตำ่า
สูง
ผลลัพธ์ที่ 2
ตำ่า
สูง
ตำ่า
ปานกลาง
ผลลัพธ์ที่ 3
ตำ่า
สูง
สูง
ปานกลาง
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 1 การแบ่งแยกประเด็น (ต่อ)
4. จะเป็นอย่างไรหากเราสามารถวางโครงสร้างของเหตุการณ์ต่างๆได้ เราจะเริม่ มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ตา่ งๆ ที่ได้รับการระบุในช่วงแรก ในฐานะตัวแปรอิสระ ความสามารถในการเชื่อมความสัมพันธ์ที่บอกถึงการเอาชนะปัญหาด้วยสมองของเรา เมื่อสมองของเราสามารถแยกปัจจัยต่างๆ เราจะสามารถอธิบายถึงสิ่งที่เราพูดได้ดีขึ้น เราสามารถมองเห็นวิธีของการเชื่อมโยงปัญหาและการแก้ไข ด้วยการจัดโครงสร้างปัญหาที่ผา่ นการพิจารณาแล้วในช่วงแรกว่ามีความสลับซับซ้อน สามารถทำาให้ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมมากขึ้น
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 1 การแบ่งแยกประเด็น (ต่อ)
แบบฝึกหัดที่ 3 :
จงคิดเกี่ยวกับสถานที่ทำางานและชั่งนำ้าหนักความสำาคัญและสิทธิพิเศษของหลักการส่งเสริมของ BMK ด้วย 4s “Smile” “style” “Speed” และ “Smart” และกล่าวถึงเหตุผลของประเมิน
การบ้าน ระบุตัวปัญหาโดยเรียงลำาดับความสำาคัญจากมากไปหาน้อย ตามหลัก 4s ของแบบฝึกหัดที่ 3
สรุปวันแรก 1. การคิดอย่างมีเหตุมีผล เป็นพื้นฐานที่นำาไปสู่ - การแบ่งแยกความคิด - มองเห็นเหตุการณ์นั้นๆตามวัตถุประสงค์ - การสื่อสารความคิดของบุคคลหนึ่งไปสู่บุคคลอื่น 2. พื้นฐานของการวิเคราะห์และการแก้ไขปัญหาเริม่ ต้นด้วยความคิดเกี่ยวกับ - สาเหตุและผลกระทบ - ความสัมพันธ์ซงึ่ กันและกัน - ความไม่สัมพันธ์ของเหตุการณ์รอบๆตัวเรา 3. การจัดโครงสร้าง คือการนิยามความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ โดยที่การจัดโครงสร้างเริ่มต้นจากการยืนยันข้อเท็จจริง 4. ในการยืนยันข้อเท็จจริงนั้น ควรรักษาข้อเท็จจริงในวัตถุประสงค์ของการค้นหาความจริง เพื่อหลีกเลี่ยงการวิจัยหรือการวิเคราะห์ที่ไม่จำาเป็น
การสรุปของวันแรก (ต่อ) 5. ในกระบวนการของการยืนยันข้อเท็จจริงและการระบุความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุกับผลกระทบอย่างชัดเ จน อาจมีการเลือกหัวข้อที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการตั้งสมมติฐานส่วนบุคคล “นั้นคือสมมติฐานและการพิสจู น์ว่าใช่ ซึ่งเป็นวิธีการที่มปี ระสิทธิภาพ อันสามารถนำาไปใช้เมือ่ มีเวลาหรือแหล่งข้อมูลที่ไม่เพียงพอ” 6. เมื่อความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงและเหตุการณ์ต่างๆนั้น ได้รับการแยกประเภท ดังนั้น การกำาหนดความสำาคัญและสิทธิพิเศษของข้อเท็จจริงและเหตุการณ์ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของวัตถุประสงค์จะ ทำาให้ลำาดับเหตุการณ์ได้ชัดเจนเพื่อดำาเนินการแก้ไข
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 2 ระบุปัญหา
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 2 ระบุปัญหา 1. การจัดโครงสร้างของบุคคล การจัดโครงสร้างของเหตุผล คือ การส่งข้อความที่ชัดเจน เมือ่ เปรียบเทียบกับการจัดโครงสร้างของเหตุการณ์ ซึ่งอธิบายถึงความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ นั้น การจัดโครงสร้างของเหตุผลก็สามารถอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบและวัตถุประ สงค์ เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น : ถ้าเราอยู่ในขั้นตอนของการรวบรวมแผนโครงการ เพื่อระบุถึงปัญหาก็จะทำาให้เห็นถึงบทสรุปที่ชัดเจนและแสดงถึงเหตุผลที่ตั้งอยู่หลังบทสรุปในลำาดับเหตุ การณ์ที่เหมาะสม และนั้นคือความสัมพันธ์ของ ทำาไม อะไร และ อะไรที่ต้องทำา 2. จะเกิดอะไรขึ้นหากเราสามารถวางโครงการอย่างมีเหตุผล ในกรณีของการจัดโครงสร้างของเหตุผลได้กลายเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้นในการสือ่ สารกับบุคคลอื่นด้วยแนวทา งที่เป็นเหตุเป็นผล ทัศนคติต่างๆก่อรูปจากความปรารถนา และสิง่ ที่คิดขึ้นมาภายหลังต่อทัศนคติได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานและเหตุผล ฉะนั้น จึงมีความชัดเจนมากขึ้นว่าทำาไมการโต้แย้งของผู้คัดค้านจึงไม่ได้รับการยอมรับ ส่วนการอภิปรายกลับมีอำานาจการผลิตที่สูงขึ้น
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 2 ระบุปญ ั หา โครงสร้างแบบพีระมิด เรื่องราวของปัญหา อะไร ทำาไมถึงเกิดขึ้น
ทำาไม เรือ่ งราวของปัญหา ทำาไม ทำาไมถึงเกิดขึ้น เรือ่ งราวของปัญหา เรือ่ งราวของปัญหา ทำาไม ทำาไมถึงเกิดขึ้น เรือ่ งราวของปัญหา เรือ่ งราวของปัญหา
ปัญหาที่แท้จริงได้รับการแก้ไข ทำาไมถึงเกิดขึ้น เรือ่ งราวของบริษัท ทำาไมถึงเกิดขึ้น เรือ่ งราวของบริษัท เรือ่ งราวของปัญหา
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 2 ระบุปัญหา
4. MECE : Mutually Exclusire, Colloctire Exhaustire ปราศจากการยกเว้น ปราศจากการกล่าวซำ้า MECE คือการแบ่งประเภทของข้อมูลภายใต้รูปสีเ่ หลี่ยมผืนผ้าเป็น A,B,CและD ซึ่งข้อมูลเหล่านั้น ไม่มีการซ้อนทับกัน
A B
C
D
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 2 ระบุปัญหา แบบฝึกหัดที่ 4 คิดหาตัวอย่างบางเหตุการณ์ที่สามารถแบ่งเป็น MECE
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 2 ระบุปัญหา 5. แผนภูมิก้างปลา (แผนภูมิสาเหตุและผลกระทบ) แผนภูมดิ ้านล่างสามารถใช้ในรูปแบบโครงสร้างพีระมิดด้วยเช่นกัน โดยที่รูปร่างของแผนภูมมิ ีลักษณะคล้ายคลึงกับก้างปลา ดังนั้นเราจึงเรียกว่า แผนภูมิกา้ งปลา เหตุที่ 1 A1
เหตุที่ 2 A3
A2
เหตุที่ 3
B1
B3
C1
C2
B2
ปัญหาใหญ่ที่ ต้องแก้ไข
E1 D1
D2
E2 E1
เหตุที่ 4
เหตุที่ 5
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 2 ระบุปัญหา
ตัวอย่างของโครงสร้างพีระมิด ค้นหาและแบ่งประเภทของปัญหาใน ธุรกิจร้านอาหาร (สาขา) การฝึกอบรมที่ร้านอาหาร การฝึกอบรมในครัว
การฝึกอบรมการให้บริการในร้านอาหาร
ทักษะการปรุง การอ่านรายการอาหาร ทักษะในการดูแลตำ่า ทักษะการบริการลูกค้าตำ่า อาหารตำ่า ทีส่ ั่งไว้ในห้องครัว รสชาติอาหารยังไม่ดีพอ เสียเวลาในการรออาหาร คำาสั่งผิด มีทัศนะคติไม่ดี ระดับการปรุงอาหารไม่คงที่ เสิร์ฟอาหารลูกค้าที่มาทีหลัง ไม่ระมัดระวังลูกค้า ไม่ได้เสิรฟ์ นำ้า
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 2 ระบุปัญหา
แบบฝึกหัดที่ 5 จัดโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบของปัญหาซึง่ คุณสามารถดำาเนินตามแนวทางข องสไลด์หน้า 27
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 3 การแก้ไขปัญหา
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 3 การแก้ไขปัญหา 1. จัดโครงสร้างการแก้ไขปัญหา ที่นี้เราดำาเนินการจากการจัดโครงการปัญหาจนถึงการจัดโครงสร้างการแก้ไขปัญหา เพื่อที่จะแก้ปัญหาที่ระบุในขั้นตอนแรก 2. อะไร(ปัญหา) => ทำาไม(การแก้ไข) ปัญหา จัดการอย่างไร
การแก้ไข
จัดการอย่างไร
การแก้ไข
การพิสูจน์
จัดการอย่างไร การแก้ไข
การแก้ไข
จัดการอย่างไร การแก้ไข
การแก้ไข
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 3 การแก้ไขปัญหา แบบฝึกหัดที่ 6 1. เพิ่มการยอมรับของกลุ่ม xxx คือ สิ่งที่สำาคัญในการเพิ่มรายได้ และจงคิดถึงวิธีการเพิ่มการยอมรับ 2. ถ้ากลุ่มทางธุรกิจของกลุ่ม xxx สามารถให้ความร่วมมือซึ่งกันและกัน เพื่อสร้าง synergy effect , รายได้และการแข่งขันที่สามารถได้รับการปรับปรุง ฉะนั้น จงสร้างแผนโครงการของกรรมวิธีที่ทำาให้บรรลุวัตถุประสงค์นี้ * ใช้ประโยชน์ของ 4s ของ BMK ในกระบวนการนี้
ความคิดด้านโครงสร้าง ตอนที่ 3 การแก้ไขปัญหา
แบบฝึกหัดที่ 7 จงเลือกปัญหาในที่ทำางานของคุณมา 1 ข้อ โดยจัดโครงสร้างของสาเหตุและคิดวิธีการแก้ปัญหา
ระบุปัญหา
ระบุปัญหา 1. อะไรคือปัญหา
1) ปัญหาไม่สามารถอยู่รอดด้วยตนเอง แต่ปัญหาจะอยู่ในจิตสำานึกของคนเท่านั้น 2) ประเด็นในเชิงวิพากษ์วิจารณ์ คือ สิ่งที่ต้องทำาเมือ่ มีการแก้ไขปัญหา 3) ปัญหาที่ไม่มีปฏิกิริยาในการแก้ไข สิ่งนั้นไม่ใช่ปัญหา 2. เราสามารถระบุถึงปัญหาได้อย่างไร 1) เก็บการตั้งคำาถาม “ทำาไมถึงเป็นเช่นนี้” ต่อจากนั้นอีกไม่นาน คุณก็สามารถคิดได้ว่า “นี่เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง” 2) จงอย่าคิดว่า “นี่เพียงพอแล้ว” เราควรคิดเสมอว่า “สามารถทำาได้ดีกว่านี้” 3) จงอย่าพูดว่า “ทำาไม่ได้” แต่ควรพูดว่า “ควรจะทำาให้สำาเร็จ” 4) จดบันทึกทุกอย่าง และคิดถึงจุดที่ทำาเกิดคำาถาม 5) มีการเรียนรูต้ ่อไป เพราะเหตุการณ์ต่างๆ สามารถตรวจสอบ ด้วยมุมมองที่แตกต่างกัน
ระบุปัญหา ทำาไมคุณจึงมองไม่เห็น คุณเคยตกอยู่ในสถานการณ์แบบนี้หรือเปล่า - ฉันอธิบายอย่างละเอียด แต่ยังคงไม่เข้าใจ - หัวหน้าไม่เคยเห็นด้วยกับความคิดเห็นของฉัน - ผูค้ วบคุมดูแลไม่เข้าใจถึงความจำาเป็นในการสร้างวิธีการแก้ไขปัญหา - ฉันคิดว่าฉันเข้าใจประเด็นสำาคัญได้เป็นอย่างดี แต่เมื่อมีปัญหา ฉันสับสน - ไม่มีใครเข้าใจว่าประเด็นนั้นซับซ้อนมากเกินกว่าจะหาทางแก้ไขได้
การสื่อสารอย่างเป็นเหตุเป็นผล
การสื่อสารอย่างเป็นเหตุเป็นผล แบบฝึกหัดที่ 8 การวัดค่าแบบได้ที่สามารถใช้ในการแก้ปัญหาภายในที่ทำางาน 1. ฉันไม่สามารถส่งข้อความของฉันตอบโต้กับผูอ้ ื่นได้ 2. ทำาไม 3. ฉันจะสามารถแก้ปัญหาได้อย่างไร
สรุป 1. มาร่วมกันยืนยันวัตถุประสงค์ของฉันกันเถอะ 2. มาให้ความเห็นชอบกับข้อเท็จจริงกันเถอะ 3. มาแบ่งประเภทของข้อเท็จจริงกันเถอะ 4. มาทำาให้ปัญหาชัดเจนกันเถอะ 5. มาตั้งสมมติฐานที่เป็นเหตุเป็นผลในด้านปัญหาและสาเหตุกันเถอะ 6. มาตรวจสอบลำาดับความสำาคัญและวิธีการการแก้ปัญหากันเถอะ 7. มาเลือกหัวข้อและวิธีการการแก้ไขปัญหากันเถอะ 8. มาร่วมกันตรวจสอบให้แน่ใจว่าคนอื่นๆเข้าใจ (ลองอีกครั้งหากไม่สำาเร็จ) 9. มาจัดตั้งแผนปฏิบัตกิ ารกันเถอะ 10. ลงมือทำาด้วยกันเถอะ 11. หลังจากการปฏิบัติ (PDCA) มาค้นหาวิธีการปฏิบัติที่ดีกว่า (หากมี) กันเถอะ