มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 53 ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สิน ทีอ ่ าจจะเกิดขึ้น และ สินทรัพย์ทีอ ่ าจจะเกิดขึ้น วิภาดา ตันติประภา
ขอบเขตของมาตรฐาน ใช้กับทุกกิจการในการพิจารณาบันทึกบัญชีและเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่อาจจะเกิดขึ้น และ สินทรัพย์ที่อาจจะเกิดขึ้น ยกเว้น เครื่องมือทางการเงินที่แสดงด้วยราคายุติธรรม ่ ังไม่ถือปฏิบัติและไม่สร้างภาระแก่กิจการ สัญญาทีย ่ ิจการประกันภัยทำากับผู้ถือกรมธรรม์ สัญญาทีก กำาหนดไว้ในมาตรฐานบัญชีฉบับอื่น
เงื่อนไขของการรับร้ห ู นี้ สิ1.นมีภาระผูกพัน (ตามกฎหมาย หรือภาระ
ผูกพันจากการอนุมาน) ในปั จจุบันด้วยผลของ เหตุการณ์ในอดีตแล้ว 2. มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ทีก ่ ิจการจะสูญ เสียทรัพยากร เชิงเศรษฐกิจเพื่อจ่ายชำาระภาระ ผูกพันดังกล่าว 3. สามารถประมาณมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ
ภาระผูกพันในปั จจุบัน
ลักษณะของเหตุการณ์ทีก ่ ่อให้
เกิดภาระผูกพันทีไ ่ ม่อาจหลีก เลีย ่ งได้ 1. ภาระผูกพันตามกฎหมาย (Legal Obligation) 2 .ภาระผูกพันจากการอนุมาน (Constructive Obligation)
คำานิ ยาม - ประมาณการ หนี ้ ส น ิ ประมาณการหนี้ สิน (Provision)
หนี้ สินทีม ่ ค ี วามไม่แน่นอน
เกีย ่ วกับจังหวะเวลา หรือจำานวนเงินทีต ่ ้องจ่ายชำาระ บันทึกเป็นหนี้ สน ิ เช่นเดียวกับ หนี้ สินทัว ่ ไป
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ ความเสีย ่ งและความไม่แน่นอน อาจจะเกิ ด ขึ ้ น * ความผันผวนของรายจ่ายทีค ่ าดว่าจะเกิดขึ้น ท่ามกลางความไม่แน่นอน
- ใช้ดล ุ ยพินิจอย่างระมัดระวังในการประมาณการ เพื่อไม่ให้สินทรัพย์หรือรายได้แสดงสูงไป และไม่ทำาให้ หนี้ สินและค่าใช้จ่ายแสดงตำ่าไป หลักความระมัดระวังใช้ป้องกันการนำาความเสีย ่ งและ ความไม่แน่นอน มาปรับปรุงประมาณการหนี้ สินซำ้าซ้อน แต่ไม่ได้นำา มาใช้เพื่อ ประมาณการรายจ่ายให้สูงกว่าความจริงอย่าง
จงใจ
ประมาณการหนี้ สน ิ หนี้ สน ิ ทีอ ่ าจ จะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ทีอ ่ าจจะ มูลค่ด าปัขึ จจุ้น บน ั เกิ * เงินจำานวนเดียวกันจ่ายทันที ณ วันนี้ แตกต่างจากการ ทยอยจ่ายหรือจ่ายครัง ้ เดียวในอีก 10 ปีข้างหน้า เพราะ มูลค่าของเงินแตกต่างกัน - คำานวณมูลค่าปั จจุบันเมื่อค่าของเงินตามเวลามีผลกระ ทบต่อจำานวนประมาณการอย่างมีนัยสำาคัญ - อัตราคิดลดทีใ ่ ช้คำานวณมูลค่าปั จจุบน ั ต้องสะท้อน สถานการณ์ตลาดปั จจุบัน แต่ต้องไม่สะท้อนความ เสีย ่ ง ทีไ ่ ด้ปรับประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตไว้ แล้ว
ประมาณการหนี้ สน ิ หนี้ สน ิ ทีอ ่ าจ จะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ทีอ ่ าจจะ การประมาณการตามหลักสถิติ เกิ ดขึ้น Value ผลรวมของรายจ่ายทีอ่ าจจะเกิด -Expected ขึ้นแต่ละระดับความน่าจะเป็ นคูณกับอัตราความน่าจะเป็น ทีเกีย ่ วข้อง ตัวอย่างการคำานวณประมาณการหนี้ สินจากการรับประกัน สินค้า สินค้าทีข ่ าย จำานวน อัตราความน่าจะเป็ น ผลรวม ไม่เสียหาย 0 ลบ. 70% 0 ลบ. เสียหายน้อย 2 ลบ. 20% 0.4 ลบ.เสียหายมาก 1 ลบ. 10% 0.1 ลบ. ประมาณการหนี้ สิน 0.5 ลบ.
การวัดมูลค่า ประมาณการจากจำานวนเงินทีต ่ อ ้ งจ่าย
ชำาระภาระผูกพันในอนาคต Large population
Expected Value
Single
Event
จำำนวนเงินที่กิจกำรคำดว่ำต้องจ่ำยชำำระ
ประมาณการหนี้ สน ิ หนี้ สิ น ที อ ่ าจจะเกิ ด ขึ ้ น และ เหตุการณ์ในอนาคต สิ พย์ทีอ ่ ้สาจจะเกิ ดเ่ ทีย่ ง รับน รู้เป็ทรั นประมาณการหนี ิน หากมีหลักฐานที ธรรมและเพียงพอทีท ่ ำาให้เชื่อถือได้วา ่ เหตุการณ์ใน ขึอนาคตจะเกิ ้น ดขึ้น
-ต้นทุนในการกำาจัดมลพิษเมื่อสถานประกอบการ หมดอายุการใช้งานจะลดลง เนื่ องจากวิทยาการที่ เปลีย ่ นไป - ผลกระทบของร่างกฎหมายใหม่ ซึง ่ ข้อกำาหนดและ ความแน่นอน ในการบังคับใช้มผ ี ลทำาให้เกิดภาระผูกพันต่อกิจการ อย่างหลีกเลีย ่ งไม่ได้
ประมาณการหนี้ สน ิ หนี้ สินทีอ ่ าจจะเกิดขึ้น และ การจำ าหน่า ยที ่คท าดว่ าาจจะเกิ จะเกิดขึ้น สิ น ทรั พ ย์ ี อ ่ ด ไม่นำากำาไรที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการจำาหน่าย สิน้ น ทรัพย์มาปรับปรุงกับประมาณการหนี้ สินที่อาจจะ ขึ เกิดขึ้นจากการจำาหน่ ายสินทรัพย์นัน ้
แม้ว่าจะมีความเกีย ่ วโยงกัน *กำาไรที่คาดว่าจะเกิดขึ้นให้รับรู้ตามมาตรฐานการ บัญชีทีเ่ กีย ่ วข้องระบุไว้ เช่น รับรู้เป็นรายได้เมื่อโอน ความเสีย ่ งและผลตอบแทนแล้ว รับรู้รายได้ตามวิธี อัตราส่วนของงานทีท ่ ำาเสร็จ
ประมาณการหนี้ สน ิ หนี้ สินทีอ ่ าจจะเกิดขึ้น และ รายจ่ายทีจ ่ ะได้รับคืน (จากบุ คคลทีพ ส ่ ามที เ่ ท ข้าทำีอ าสัาจจะเกิ ญญาประกันภัยหรื อชดเชย สิ น ทรั ย์ ่ ด ความเสียหาย) รู้รายจ่ายทีจ ่ ะได้รับคืนเป็ นสินทรัพย์ ได้เมื่อ ขึรั1.บ้น หลังการจ่ายชำาระประมาณการหนี้ สินแล้ว กิจการ คาดว่าจะได้รับ รายจ่ายนัน ้ คืนอย่างแน่นอน (probable) 2. แสดงเป็ นสินทรัพย์แยกต่างหากในงบดุล ด้วย จำานวนไม่เกิน ประมาณการหนี้ สิน *งบกำาไรขาดทุนอาจแสดงค่าใช้จ่ายประมาณการหนี้ สินด้วยยอดสุทธิจากรายจ่ายทีจ ่ ะได้รับคืน
ประมาณการหนี้ สน ิ หนี้ สน ิ ทีอ ่ าจ จะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ทีอ ่ าจจะ เกิ ดขึ้น ย การเปลี ่ นแปลงประมาณการ - ทบทวนประมาณการหนี้ สิน ณ วันที่ ในงบดุล และปรับปรุงให้เป็น ประมาณการทีด ่ ีทีส ่ ด ุ สำาหรับวันนัน ้ - กลับบัญชีประมาณการหนี้ สิน เมื่อ ความน่าจะเป็นทีจ ่ ะสูญเสีย ทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไม่อยู่ในระดับ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่อก ี ต่อไป
ประมาณการหนี้ สน ิ หนี้ สิ นทีอ ่ าจจะเกิ ดขึ้น และ การนำาประมาณการหนี้ สน ิ มาใช้ - นำารายจ่ายมาตัดประมาณการหนี้สินได้เฉพาะ สิ น ทรั พ ย์ ท ี อ ่ าจจะเกิ ด รายจ่ายทีก ่ ิจการรับรู้เป็นประมาณการหนี้ สน ิ ไว้ เดิมเท่านัน ้ ขึ ้- การนำ น ารายจ่ายทีร่ ับร้เู พื่อวัตถุประสงค์อ่ืนมาตัด
ประมาณการหนี้ สน ิ จะทำาให้ไม่เห็นผลกระทบของ เหตุการณ์สองเหตุการณ์ที่ แตกต่างกันเช่น รายจ่ายการรับประกันและ ซ่อมแซมสินค้าทีเ่ กิดขึ้นต้องไม่นำามาตัดกับ ประมาณการหนี้ สน ิ จากการผิดสัญญาซื้อวัตถุดบ ิ
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ ขาดทุนจากการดำาเนิ นงานในอนาคต อาจจะเกิ ด ขึ ้ น -ไม่ใช้หนี้สินตามนิ ยามของมาตรฐานการบัญชี
-ไม่เข้าเงื่อนไขรับรู้เป็นประมาณการหนี้ สิน
ไม่บันทึกเป็นรายการหนี้ สินในงบการเงิน บ่งชี้ว่าสินทรัพย์ที่ใช้ในการดำาเนิ นงานอาจเกิดการด้อยค่า
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สิน ทีอ ่ าจจะเกิดขึ้น และ สิ สัน ญญาที ส ่ ร้ งภาระ ทรัพ ย์าท ีอ ่ าจจะเกิดขึ้น - สัญญาทีก ่ ำาหนดสิทธิและภาระผูกพันต่อคู่ สัญญาเมื่อมีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้น ซึง ่ ทำาให้ กิจการเกิดต้นทุนทีไ ่ ม่สามารถหลีกเลีย ่ งได้
ต้นทุนทีไ ่ ม่สามารถหลีกเลีย ่ งได้ ต้นทุนสุทธิทีต ่ ่ ำาทีส ่ ุดทีก ่ ิจการต้องจ่ายเพื่อ ปฏิบัติตามสัญญา หรือ ต้นทุนค่าปรับ ค่าชดเชย แล้วแต่ต้นทุนใดจะ ตำ่ากว่า
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ การปรับโครงสร้าง อาจจะเกิดขึ้น - การขายหรือยกเลิกสายงานธุรกิจ - การปิดหรือย้ายสถานประกอบธุรกิจจาก ประเทศหนึ่งไปอีกประเทศ - การเปลีย ่ นโครงสร้างบริหาร - การปรับโครงสร้างพื้นฐานทีม ่ ีผลกระทบ อย่างมีนัยสำาคัญต่อลักษณะและจุดมุ่งหมาย ในการปฏิบัติงาน
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ การปรับโครงสร้าง (ต่อ) อาจจะเกิดขึ้น - การปรับโครงสร้างจะก่อให้เกิดภาระผูกพันจากการ
อนุมาน เมื่อ เข้าเงื่อนไขทุกข้อ 1. แผนปรับโครงสร้างทีเ่ ป็นทางการอย่างละเอียด อย่างน้อยระบุถึง ธุรกิจทีป ่ รับ ส่วนงานหลักทีถ ่ ูก กระทบ สถานที่ /หน้าทีง ่ าน/ จำานวนคนทีจ ่ ะได้รบ ั ค่า ตอบแทนการเลิกจ้าง รายจ่ายทีต ่ ้องรับภาระ กำาหนดการปฏิบต ั ิตามแผน 2. ผ้ถ ู ูกกระทบเกิดความคาดหมายว่ากิจการจะ ดำาเนิ นการปรับโครงสร้าง โดยเริม ่ ปฏิบัติหรือประกาศ แผนหลักให้ทราบ
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ อาจจะเกิ การปรับโครงสร้ ดขึ้น าง (ต่อ) * ภาระผูกพันจากการขายส่วนงานเกิด
ขึ้นเมื่อกิจการได้ผูกมัดทีจ ่ ะขาย - ทำาสัญญาขายทีม ่ ีผลตามกฎหมาย - การตัดสินใจและประกาศต่อ สาธารณชน โดยไม่สามารถระบุผู้ซ้ อ ื และตกลงทำาสัญญา ทำาให้เกิดความไม่ แน่นอนในการเปลีย ่ นใจหรือดำาเนิ นการ เป็นอย่างอื่น
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ การปรับโครงสร้าง (ต่อ) อาจจะเกิดขึ้น รายจ่ายทีส ่ ามารถนำาไปรวมกับประมาณการ หนี้ สินจากการปรับโครงสร้างได้เมื่อเข้า เงื่อนไขทุกข้อ ดังนี้ 1. เป็นรายจ่ายโดยตรงทีเ่ กิดขึ้นจากการปรับ โครงสร้าง 2. จำาเป็นต้องเกิดค่าใช้จา ่ ยในการปรับ โครงสร้าง 3. ไม่เกีย ่ วข้องกับกิจการทีม ่ ีอยู่อย่างต่อเนื่ อง ของกิจการ
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ คำานิ ยาม (ต่อ) อาจจะเกิดขึ้น หนี้ สน ิ ทีอ ่ าจเกิดขึ้น
ได้แก่รายการใดรายหนึ่ง ดังนี้ 1. ภาระผูกพันทีอ ่ าจมีอย่เู นื่ องจากเหตุการณ์ใน อดีต แต่ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าเป็นภาระผูกพันใน ปั จจุบน ั จริงหรือไม่ โดยยังต้องได้รับการยืนยันอีก อย่างน้อยหนึ่งเหตุการณ์ในอนาคต ว่าจะเกิดขึ้น หรือไม่ 2. ภาระผูกพันในปั จจุบน ั เนื่ องจากเหตุการณ์ใน อดีต แต่ไม่เข้าเงื่อนไขให้รบ ั ร้เู ป็นหนี้สินได้
ประมาณการหนี้ สน ิ หนี้ สิ น ที อ ่ าจจะเกิ ด ขึ ้ น และ คำานิ ยาม (ต่อ) สิหนี นทรั พ ย์ ท ี อ ่ าจจะเกิ ด ้ สินทีอ ่ าจเกิดขึ้น ขึผลกระทบต่ ้น องบการเงิน - ไม่บันทึกหนี้ สิน แต่อาจ ต้องเปิดเผยข้อมูล
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ คำานิ ยาม (ต่อ) อาจจะเกิดขึ้น สินทรัพย์ทอ ี่ าจเกิดขึ้น สินทรัพย์ทอ ี่ าจมีอย่เู นื่ องจากเหตุการณ์ใน อดีต แต่ยง ั ไม่ทราบแน่ชด ั ว่าเป็นสินทรัพย์ใน ปั จจุบันจริงหรือไม่ โดยยังต้องได้รับการ ยืนยันอีกอย่างน้อยหนึ่งเหตุการณ์ในอนาคต ว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่
ผลต่อการแสดงรายการในงบการเงิน
ไม่บันทึกสินทรัพย์ทีอ ่ าจเกิดขึ้นในงบการเงิน แต่อาจเปิดเผย
เริม ่ มีภาระผูกพันใน ปั จจุบน ั เกิดจาก เหตุการณ์ในอดีต?
ไม่ แน่
มีความเป็ นไปได้ค่อน ข้างแน่?
ไม่ แน่
มี
แน่
สามารถประมาณ มูลค่าได้? ได้
ต้องรับรู้เป็ นหนี้ สิน (ประมาณการ หนี้ สิน)
อาจมีภาระผูกพัน?
ไม่ได้
อาจ มี
เป็ นไปได้?
ไม่มีภาระ ผูกพัน ไม่มี โอกาส
มี โอกาส
เปิ ดเผยหนี้ สินที่ อาจเกิดขึ้น (หนี้ สินทีอ ่ าจ เกิดขึ้น)
ไม่ต้องทำาอะไร เลย
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ การเปิดเผยข้อมูล อาจจะเกิดขึ้น
จำานวนประมาณการหนี้ สินต้นงวด จำานวนทีร ่ ับรู้ ระหว่างงวด จำานวนทีเ่ พิม ่ ขึ้น จำานวนทีล ่ ดลง (ตัด เป็ นค่าใช้จา ่ ย) และจำานวน สิ้นงวด - จำานวนประมาณการหนี้ สินทีก ่ ลับรายการ ระหว่างงวด - จำานวนคิดลดทีเ่ พิม ่ ขึ้นระหว่างงวดเนื่ องจากเวลา ทีผ ่ า ่ นไป และ ผลจากอัตราคิดลดทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป
-
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ อาจจะเกิ ดขึอ้นมูล (ต่อ) การเปิดเผยข้ - ลักษณะภาระผูกพัน จังหวะเวลาทีค ่ าดว่า
จะจ่ายชำาระโดยสังเขป - ความไม่แน่นอนเกีย ่ วกับจำานวน จังหวะ เวลาทีจ ่ ะจ่ายชำาระ โดยเปิดเผยข้อสมมติ สำาคัญเกีย ่ วกับเหตุการณ์ในอนาคต - จำานวนรายจ่ายทีค ่ าดว่าจะได้รับคืน โดย ระบุจำานวนสินทรัพย์ทีก ่ ิจการรับรู้สำาหรับ รายจ่ายที่คาดว่าจะได้รับคืน
ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่ การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) อาจจะเกิดขึ้น
เปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้ เว้นแต่ความน่า จะเป็นอยู่ในระดับไม่น่าเป็นไปได้ - ประมาณการผลกระทบต่องบการเงิน ซึง่ คำานวณจากประมาณการทีด ่ ีทีส ่ ุด - ความไม่แน่นอนเกีย ่ วกับจำานวน จังหวะ เวลาทีจ ่ ะต้องจ่ายชำาระ - ความน่าจะเป็นทีจ ่ ะได้รบ ั รายจ่ายคืน
ตัวอย่างที่ 1
การรับประกันสินค้า
ผู้ผลิตไดูใหูการรับประกันสินคูาเมื่อขายสินคูาใหูกับผู้ซื้อ ภายใตู เงื่อนไขของสัญญาขายผู้ผลิตจะรับผิดชอบสินคูาใหูอยู้ในสภาพดี โดย การซูอมหรือเปลี่ยนแทนสินคูาที่มีตำาหนิ ภายในเวลา 3 ปี นั บจากวันที่ ซื้ อ จากประสบการณ์ในอดีตของผู้ผลิตพบวูามีความเป็ นไปไดูคูอน ขูางแนู(นูาจะเกิดขึ้นมากกวูาไมูนูาเกิดขึ้น) ที่จะมีการเรียกรูองการรับ ประกันสินคูา ภาระผูกพัน เหตุการณ์ท่ีกูอใหูเกิดภาระผ้กพันคือ การขายสินคูาซึ่งมีการรับ ประกัน ภาระผ้กพันในปั จจุบันคือภาระผ้กพันตามกฎหมายที่เกิดจาก การขายสินคูา การสูญเสียทรัพยากร มีความเป็ นไปไดูคูอนขูางแนูสำาหรับการรับประกันสินคูาโดยรวม (ด้ ยูอหนูาที่ 24) ข้อสรุป
ตัวอย่างที่ 2
นโยบายการคืนเงิน
รูานคูาปลีกมีนโยบายที่จะคืนเงินและรับคืนสินคูาหากล้กคูาไมู พอใจในสินคูา แมูวูากิจการไมูมีภาระผ้กพันตามกฎหมายที่จะ ปฏิบัติดังกลูาว แตูนโยบายนั้ นเป็ นที่รู้กันโดยทัว่ ไป ภาระผูกพัน เหตุการณ์ท่ีกูอใหูเกิดภาระผ้กพันคือ การขายสินคูา ภาระผ้กพัน ในปั จจุบันคือ ภาระผ้กพัน จากการอนุ มาน เนื่ องจากการปฏิบัติของรูานคูาสรูางความคาด หมายอยูางมีม้ลความจริงใหูกับล้กคูาวูารูานคูาจะจูายเงินคืนเมื่อ ไดูรบ ั คืนสินคูาจากล้กคูา การสูญเสียทรัพยากร มีความเป็ นไปไดูคูอนขูางแนู สูวนหนึ่ งของสินคูาจะตูองมีการสูง คืนเพื่อที่จะรับคืนเงิน (ด้ยูอหนูาที่ 24) ข้อสรุป กิจการตูองรับรู้ประมาณการหนี้ สินดูวยจำานวนประมาณการที่ดี
ตัวอย่างที่ 3
การปิ ดแผนก
ก. กิจการตัดสินใจปิ ดแผนกโดยก่อนวันที่ในงบดุลกิจการยัง ไม่ได้ปฏิบต ั ิการใด ๆ เกีย ่ ว กับเรื่องดังกล่าว ณ วันที่ 12 ธันวาคม 25X1 คณะกรรมการของกิจการตัดสิน ใจที่จะปิ ดแผนกหนึ่ งของกิจการกูอนวันที่ในงบดุล (31 ธันวาคม 25X1) กิจการยังไมูไดูแจูงการตัดสินใจใหูกบ ั ผูถ ้ ก ้ กระทบทราบและยังไมูไดูปฏิบต ั ต ิ ามการตัดสินใจนั้ นภาระ ผ้กพันในปั จจุบน ั ซึ่งเกิดจากเหตุการณ์ในอดีตที่กอ ู ใหูเกิด ภาระผ้กพัน ขูอเท็จจริงดังกลูาวถือวูายังไมูมีเหตุการณ์ท่ีกอ ู ใหูเกิดภาระผ้กพัน ดังนั้ น กิจการจึงยังไมูมีภาระผ้กพัน ข้อสรุป
ตัวอย่างที่ 3
การปิ ดแผนก (ต่อ)
b. กิจการตัดสินใจปิ ดแผนกโดยก่อนวันที่ในงบดุลกิจการได้แจ้งและ เริม ่ ปฏิบัตก ิ ารในเรื่องดังกล่าวแล้ว ณ วันที่ 12 ธันวาคม 25X1 คณะกรรมการของกิจการตัดสินใจที่จะปิ ด แผนกผลิตสินคูาประเภทหนึ่ ง ณ วันที่ 20 ธันวาคม 25X1 คณะกรรมการไดูตกลงกันถึงแผนการปิ ด แผนกในรายละเอียด คณะกรรมการไดูสูงจดหมายถึงล้กคูาเพื่อเตือนล้กคูาใหูจัดหาสินคูาจาก แหลูงอื่น และกิจการไดูแจูง ใหูพนั กงานทราบถึงแรงงานสูวนเกินของกิจการหลังจากที่ไดูปิดแผนก แลูว ภาระผูกพัน เหตุการณ์ท่ีสรูางภาระผ้กพันคือ การแจูงใหูล้กคูาและพนั กงานทราบถึง การตัดสินใจปิ ดแผนก ภาระผ้กพันในปั จจุบันคือ ภาระผ้กพันจากการอนุ มานนั บจากวันที่แจูง ซึ่งทำาใหูผู้ถ้กกระทบ เกิดความคาดหมายอยูางมีม้ลความจริงวูาแผนกนั้ นจะถ้กปิ ด
ตัวอย่างที่
4
การคำ้าประกัน
•ระหวูางปี 25X4 บริษท ั ก คำ้าประกัน เงินกูใ้ หูบริษัท ข ซึ่งในขณะนั้ นมีฐานะ การเงินดี •ในระหวูางปี 25X5 บริษท ั ข ประสบ ปั ญหาทางการเงิน • ณ วันที่ 30 มิถน ุ ายน 25X5 บริษท ั ข ไดูย่ น ื คำารูองตูอศาลเพื่อขอพิทก ั ษ์ ทรัพย์จากเจูาหนี้ ภายใตูกฎหมายลูม
ตัวอย่างที่ 4 (ต่อ)
การคำ้าประกัน
ก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X4 ภาระผูกพัน เหตุการณ์ทีก ่ อ ่ ให้เกิดภาระผูกพันคือ การให้การ คำ้าประกัน ภาระผูกพันในปั จจุบันคือ ภาระผูกพัน ตามสัญญา การสูญเสียทรัพยากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X4 การจ่ายชำาระ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจยังไม่ถึงระดับความเป็น ไปได้ค่อนข้างแน่ ข้อสรุป
ตัวอย่างที่ 4 (ต่อ)
การคำ้าประกัน
ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X5 ภาระผูกพัน เหตุการณ์ทีก ่ ่อให้เกิดภาระผูกพันคือ การ ให้การคำ้าประกัน ภาระผูกพันในปั จจุบันคือ ภาระผูกพันตามสัญญา การสูญเสียทรัพยากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X5 มีความเป็ นไป ได้ค่อนข้างแน่ ทีก ่ ิจการจะสูญเสีย ทรัพยากรทีม ่ ป ี ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพื่อ
ตัวอย่างที่ 5 คดีอยู่ในระหว่าง การพิจารณาของศาล ในปี 25X5 มีผู้เสียชีวิต 10 ราย เนื่ องจาก อาหารทีก ่ ิจการขายเป็ นพิษ กระบวนการ ฟ้ องร้องตามกฎหมายได้เริม ่ ขึ้นเพื่อเรียก ร้องความเสียหายจากกิจการ แต่กิจการยังมี ข้อโต้แย้งเกีย ่ วกับความเสียหายดังกล่าวอยู่ จนกระทัง่ งบการเงินสำาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X5 ได้รับการอนุมัติ ทนายความของกิจการให้ความเห็นว่ามี ความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ทีก ่ ิจการจะไม่
a. ณ วันที่ 31 ธันวำคม 25X5
ภาระผูกพัน จากหลักฐานทีม ่ ีอยู่ ณ วันทีง ่ บการเงิน ได้รับการอนุมัติพบว่า กิจการไม่มี ภาระผูกพันทีเ่ ป็ นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดีต ข้อสรุป กิจการต้องไม่รับรู้ประมาณการหนี้ สิน (ดูย่อหน้าที่ 15 ถึง 16) แต่ต้องเปิด เผยข้อมูลเกีย ่ วกับหนี้ สินทีอ ่ าจเกิดขึ้น
ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6 ภาระผูกพัน กิจการเกิดภาระผูกพันในปั จจุบันขึ้น การสูญเสียทรัพยากรทีม ่ ีประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในการจ่ายชำาระ มีความ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ทีก ่ ิจการจะสูญ เสียทรัพยากรทีม ่ ีประโยชน์เชิง เศรษฐกิจ ข้อสรุป กิจการต้องรับรู้ประมาณการหนี้ สน ิ
ตัวอย่ำงที่ 6กำรปรับ โครงสร้ำง ในเดือนธันวาคม 2545 บริษท ั ก ประกาศปรับโครงสร้างส่วนงาน ดำาเนิ นการผลิต โดยจะปิด โรงงานเก่า 2 โรง ในเดือน มีนาคม 2546 และโอนการผลิต ไปให้โรงงานอื่นซึง ่ เป็นโรงงานที่ มีความทันสมัยกว่า คนงานของ โรงงานเก่าครึง ่ หนึ่งถูกย้ายไป
ค่าฝึกอบรมคนงานทีจ ่ ะย้ายไปโรงงาน ใหม่ 500 ค่าโอนย้ายพนักงานไปโรงงานใหม่ 300 ค่าปรับโครงสร้างสายการผลิตในโรงงาน ใหม่ 600 ค่าเสียหายจากการผลิตทีไ ่ ม่มี ประสิทธิภาพทีค ่ าดไว้ สำาหรับมกราคมถึงมีนาคม 400 กำาไรทีค ่ าดว่าจะได้รับจากการขาย โรงงานเก่า (1,000) ค่าตัดจำาหน่ายค่าซากของเครื่องจักรใน
แนวคิ ด ค่าฝึกอบกรมพนักงาน ค่าโอนย้ายพนักงาน และค่าปรับโครงสร้าง
สายการผลิตในโรงงานใหม่นัน ้ เกีย ่ วข้องกับการดำาเนิ นการปั จจุบัน จึงไม่สามารถบันทึกเป็นประมาณการหนี้ สิน ค่าเสียหายจากการผลิตที่ไม่มป ี ระสิทธิภาพทีค ่ าดไว้ก็ไม่ถือว่าเป็น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการปรับโครงสร้างโดยตรง กำาไรทีค ่ าดว่าจะได้รบ ั จากการขายโรงงานเก่า ตามมาตรฐาน กิจการต้องไม่นำารายการกำาไรจากการจำาหน่ายทีค ่ าดว่าจะเกิดขึ้น มารวมพิจารณาในการวัดมูลค่าประมาณการหนี้ สิน ดังนัน ้ บริษท ั จึง ไม่สามารถนำ ากำาไรทีค ่ าดว่าจะได้รบ ั จากการขายโรงงานมาหักออก จากประมาณการหนี้ สิน แต่จะสามารถนำาไปรวมพิจารณาได้เมื่อมี การขายเกิดขึ้น ค่าตัดจำาหน่ ายค่าซากของเครื่องจักร ควรปฏิบัติตามมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 36 เรื่องการด้อยค่าของสินทรัพย์ แต่ไม่ควรนำามาตัง ้ ประมาณการหนี้ สินตารมมาตรฐานฉบับนี้ ค่าตอบแทนจากการเลิกจ้างคนงานสามารถบันทึกเป็นประมาณ การหนี้ สินได้เพราะบริษท ั ได้ประกาศปรับโครงสร้างให้ผู้ถูกกระทบ ทราบแล้ว จึงถือเป็นภาระผูกพันจากการอนุมาน
ตัวอย่างที่ 7 สัญญาทีส ่ ร้าง ภาระ
บริษท ั ค เช่าทีด ่ ินและสิง ่ ปลูกสร้าง เป็นทีท ่ ำาการ ซึง ่ บริษท ั ได้จ่ายค่า เช่าจำานวนหนึ่ง เนื่ องจากในธุรกิจที่ บริษท ั ดำาเนิ นการอยู่มีการแข่งขัน สูง ส่งผลให้บริษท ั มีอัตรากำาไรขัน ้ ต้นลดลงเรื่อยๆและมีผลขาดทุน แต่ยังคงดำาเนิ นธุรกิจต่อไปโดยหวัง ว่ากิจการจะคุ้มทุน บริษท ั ถือว่า สัญญาเช่าทีด ่ น ิ และสิง ่ ปลูกสร้าง
แนวคิด
สัญญาทีส ่ ร้างภาระตามคำานิ ยามในมาตรฐานหมายถึงสัญญาทีก ่ อ ่ ให้เกิด ต้นทุนทีไ ่ ม่อาจหลีกเลีย ่ งได้จากการปฏิบัติตามภาระผูกพันทีร ่ ะบุไว้ ซึ่ง ต้นทุนดังกล่าวมีจำานวนสูงกว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจทีค ่ าดว่าจะได้รับ จากสัญญานัน ้ ดังนัน ้ ปั ญหาจึงอย่ท ู ีว ่ ่า ค่าเช่าทีบ ่ ริษท ั มีภาระผูกพันต้อง จ่ายภายใต้สัญญาเช่าสูงกว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจทีจ ่ ะได้รบ ั จากการ ครอบครองพื้นทีห ่ รือไม่ จากข้อมูลทีท ่ ราบในขณะนี้ คาดว่าจะเกิดปั ญหา ดังกล่าวใน 2 ปีหน้า แต่บริษท ั มีความจำาเป็ นต้องพิจารณาระยะเวลา มากกว่า 2 ปี เพื่อดูวา ่ ธุรกิจจะมีผลขาดทุนตลอดระยะเวลาตามสัญญาเช่า หรือไม่ ก่อนจะสรุปว่าสัญญาเช่าเป็ นสัญญาทีส ่ ร้างภาระ การปฏิบัติเช่นนี้ คล้ายกับการปฏิบัติเกีย ่ วกับการด้อยค่าของสินทรัพย์ซึ่งมีการทดสอบ มูลค่าทีค ่ าดว่าจะได้รับคืนตลอดอายุของสินทรัพย์ บริษท ั ต้องรับรู้รายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าทีเ่ กิดขึ้นจากสินทรัพย์ทีร ่ ะบุไว้ในสัญญาก่อนที่ กิจการจะรับรู้และวัดมูลค่าประมาณการหนี้ สินสำาหรับสัญญาทีส ่ ร้างภาระ
แนวคิด (ต่อ)
ถึงแม้ว่าบริษท ั จะไม่สามารถรับร้ป ู ระมาณการหนี้ สินสำาหรับขาดทุนจากการ ดำาเนินงานทีจ ่ ะเกิดขึ้นในอนาคตได้ แต่บริษท ั สามารถตัง ้ ประมาณการหนี้ สินสำาหรับสัญญาทีส ่ ร้างภาระทีท ่ ำาให้ บริษท ั เกิดการขาดทุนดังกล่าวได้
ตัวอย่างที่ 8 การยกเครื่อง เรืตามกฎหมายพาณิ อ ชย์นาวี บริษท ั ขนส่งสินค้าทาง
เรือต้องนำาเรือไปเทียบท่าทุกๆ 7 ปี เพื่อทำาการ ตรวจสอบเรือและยกเครื่อง ซึง ่ จะเริม ่ ตรวจสอบ และยกเครื่องครัง ้ แรกในปี 2552 บริษท ั ได้ตง ั ้ ประมาณการหนี้ สินสำาหรับการยก เครื่องดังกล่าวและรับรู้เป็ นค่าใช้จา ่ ยประจำาปีเป็น เวลา 7 ปีต่อการยกเครื่องหนึ่งครัง ้ ค่าใช้จ่ายดังกล่าวแสดงอยู่ในงบกำาไรขาดทุน