Report 20

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Report 20 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,472
  • Pages: 12
รายงานการประชุมคณะกรรมการสาธารณสุข

20-3/2542 วันจันทร์ที่ 27 ธันวาคม 2542 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม 6 ชั้น 3 อาคาร 1 สำานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี ----------------------------------ครั้งที่

ผู้เข้าประชุม

1. น.พ.วัลลภ ไทยเหนือ 2. น.พ.พิพัฒน์ ยิ่งเสรี 3. ดร.นวลตา ม่วงน้อยเจริญ 4. น.พ.นรา นาควัฒนานุกูล 5. น.พ.ณรงค์ ฉายากุล 6. นายศิริชัย ไตรสารศรี 7. พล.ต.ต.ภาสกร รักษ์กุล 8. นายทินกร ไผ่แก้ว 9. นางจิราพร ศรีพลากิจ 10.นงอุษณีย์ ศิวาวุธ 11. น.พ.วันชาติ ศุภจัตุรัส 12. ศ.พิชิต สกุลพราหมณ์ 13. นายประภรณ์ จารุจันทร 14. รศ.ดร.สุนีย์ มัลลิกะมาลย์ 15.น.พ.สมยศ เจริญศักดิ์

อธิบดีกรมอนามัย

ประธานการประชุม

ผูแ้ ทนอธิบดีกรมการแพทย์

กรรมการ

ผูแ้ ทนอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรรมการ ผูแ้ ทนอธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ

กรรมการ

เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา กรรมการ ผูแ้ ทนอธิบดีกรมการปกครอง

กรรมการ

ผูแ้ ทนผู้บัญชาการตำารวจแห่งชาติ

กรรมการ

ผูแ้ ทนอธิบดีกรมโรงงนอุตสาหกรรม

กรรมการ

ผูแ้ ทนอธิบดีกรมวิชาการเกษตร ผูแ้ ทนเลขาธิการสำานักงาน

กรรมการ กรรมการ

นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม ผูแ้ ทนปลัดกรุงเทพมหานคร

กรรมการ

ผู้ทรงคุณวุฒิ

กรรมการ

ผู้ทรงคุณวุฒิ

กรรมการ

ผู้ทรงคุณวุฒิ

กรรมการ

ผูแ้ ทนอธิบดีกรมอนามัย

กรรมการ และ เลขานุการ

ผู้ไม่เข้าประชุม

1. อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ผู้เข้าร่วมการประชุม

1. นายเฉลิมชาติ แจ่มจรรยา 2. ดร.ทวีสขุ พันธุ์เพ็ง 3. นายวิกรม เสงคิสิริ

4. นายศุมล ศรีสุขวัฒนา

ติดราชการ

9 ชช สำานักงานวิชาการ กรมอนามัย นักวิชาการสาธารณสุข 9 ชช สำานักงานวิชาการ กรมอนามัย นักวิชาการสาธารณสุข 8 กองอาชีวอนามัย กรมอนามัย นักวิชาการสุขาภิบาล

ผู้อำานวยการศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย

2 5. นางลาวัณย์ ขำาเลขะสิงห์

นักวิชาการสุขาภิบาล

7 ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข

กรมอนามัย

6. นายสมชาย ตูแ้ ก้ว

นักวิชาการสาธารณสุข

7 ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข

กรมอนามัย

7. นายศุภชัย เครือเมฆ

ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่อนามัย ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย

8. นางอรสา ปีนัง

เจ้าพนักงานสถิติ

6 ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข

กรมอนามัย

13.30 น.

เริ่มประชุมเวลา

วาระที่

1

เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ

1.1)

เรื่อง คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภา จะยกร่างพระราชบัญญัติ

. . ….

การสาธารณสุขประชาชาติไทย พ ศ ประธานแจ้งต่อที่ประชุมทราบว่า

คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข

ได้มาเยี่ยมกระทรวงสาธารณสุขเพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นในการพัฒนางานสาธารณสุข และ เกี่ยวกับกฎหมาย

สาธารณสุข เมื่อวันที่

19 พฤศจิกายน 2542

วุฒิสภา

คณะกรรมาธิการฯเห็นว่าการตรากฎหมายสาธารณสุขในปัจจุบันยังไม่เป็นเอกภาพและไม่ค่อยสอดคล้องกันจึงเสนอให้กระทรวงสาธารณสุขพิจารณาดำาเนินการออกพระราชบัญ

-

ญัติการสาธารณ สุขแห่งชาติ

หรือ

พระราชบัญญัติสุขภาพประชาชาติไทย

ซึ่งขณะนี้คณะกรรมาธิการฯได้ยกร่างกฎหมายไว้แล้วระดับหนึ่ง

เพื่อให้เป็นกฎหมายแม่บททางด้านการสาธารณสุขของชาติ

(

ในเรื่องนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายกร ควรให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำาร่างพระราชบัญญัติ

ทัพพะรังสี

)

ไม่ควรยกให้เป็นภาระของกระทรวง

ในเบื้องต้นจึงเห็นควรตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์กรมหาชนขึ้นเพื่อทำาหน้าที่ยกร่างพระราชบัญ ญัติสุขภาพแห่งชาติให้แล้วเสร็จภายในไม่เกิน

มีแนวความคิดว่า สาธารณสุขเพียงหน่วยเดียว

3

ปี

ขณะนี้อยู่ระหว่างรอเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี พระราชบัญญัติการสาธารณสุขประชาชาติไทยจะมีผลต่อพระราชบัญญัติการ

. .2535 ทีค่ ณะกรรมการสาธารณสุขดูแลด้วยในอนาคต

สาธารณสุข พ ศ

ที่ประชุมรับทราบ

วาระที่

2

เรื่องรับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการสาธารณสุข ครั้งที่

19-2/2542

การแก้ไข

- ที่ประชุมไม่มีการแก้ไข Comm3-42

3 มติคณะกรรมการฯ

- รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการสาธารณสุข ครั้งที่ 19-2/2542 วาระที่

3

เรื่องสืบเนื่อง

3.1)

เรื่อง การกำาหนดกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพที่ต้องควบคุมในท้องถิ่นตาม มาตรา

32(1) จะกำาหนดเป็นกิจการย่อยๆได้หรือไม่ 19-2/2542 สาธารณสุข จ.นนทบุรี

10 พฤศจิกายน 2542 ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 2 อาคาร 1 สำานักงานปลัดกระทรวง ในวาระเพื่อพิจารณาที่ 5.3 ที่ประชุมได้มอบให้ฝ่ายเลขานุการฯพิจารณาตรวจสอบในรายละเอียดเกี่ยวกับการกำาหนดกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพที่ต้องควบคุมในท้องถิ่นตามมาตรา 32(1) ฝ่ายเลขานุการฯนำาเสนอต่อที่ประชุมว่า จากการประชุมคณะกรรมการสาธารณสุข ครั้งที่

เมื่อวันพุธที่

เป็นกิจการย่อยๆให้รอบคอบยิ่งขึ้นเพราะอาจมีผลกระทบต่อประเภทกิจการอื่นๆด้วยในลักษณะเดียวกันนั้น ฝ่ายเลขานุการฯได้ดำาเนินการพิจารณาตรวจสอบในรายละเอียดของประเภทกิจการฯที่มีอยู่ในประกาศกระทรวงฯ

ที่

5/2538

ทั้งหมดแล้ว

มีความเห็นดังนี้

(1) ลักษณะรายชื่อกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตามที่กำาหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ที่ 5/2538 ออกตามความในมาตรา 31 แห่ง พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 พอจะแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1.1) เป็นรายชื่อที่กำาหนดเฉพาะเจาะจงเพียงชนิดเดียวประเภทเดียว เช่น 3(8) การผลิตแบะแซ 3(16) การคัว่ กาแฟ 5(4) การสีข้าวด้วยเครื่องจักร เป็นต้น 1.2) เป็นรายชื่อที่กำาหนดเฉพาะเจาะจงแต่มีหลายชนิดหรือหลายลักษณะของกิจการในประเภทเดียวกัน เช่น 2(5) การต้ม การตาก การเผาเปลือกหอย เปลือกปู เปลือกกุ้ง ยกเว้นในสถานที่จำาหน่ายอาหาร การเร่ขาย และการขายในตลาด 3(2) การผลิตกะปิ นำ้าพริกแกง นำ้าปลา นำ้าเคย นำ้าบูดู ไตปลา เต้าเจี้ยว ซีอิ้ว หอยดอง หรือซอสปรุงรสอื่นๆ ยกเว้นการผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน 8(2) การเลื่อย การซอย การขัด การไส การเจาะ การขุดร่อง การทำาคิ้ว หรือการตัดไม้ด้วยเครื่องจักร เป็นต้น

1.3) เป็นรายชื่อที่มีลักษณะทั่วไปไม่เฉพาะเจาะจง เช่น 1(1)การเลี้ยงสัตว์บก สัตว์ปีก 3(9) การผลิตอาหารบรรจุกระป๋อง ขวด หรือภาชนะอื่นใด 8(6) การประดิษฐ์สิ่งของ เครื่องใช้ เครื่องเขียนด้วยกระดาษ เป็นต้น (2) ตามมติการประชุมฯครั้งที่ 19-2/2542 การกำาหนดรายชื่อกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพที่ต้องควบคุมในท้องถิ่น สามารถกำาหนดเป็นกิจการย่อยที่มีชื่อเฉพาะได้โดยไม่เกินกว่ากรอบที่ปรากฏในประกาศกระทรวงสาธรณสุข ทั้งนี้ให้พิจารณาจากสภาพปัญหาข้อเท็จจริงของแต่ละท้องถิ่น ดังนั้น การกำาหนดรายชื่อกิจการฯ ตามลักษณะทั้ง

ที่

3 ประการ จึงอาจกำาหนดได้ดังนี้

สัตว์นำ้า สัตว์เลื้อยคลาน

ที่เห็นว่า

5/2538

1.1) ไม่มีปัญหาในการกำาหนดรายชื่อกิจการฯที่ต้องควบคุมในท้องถิ่น เพราะเป็นชื่อเฉพาะที่มีความชัดเจนอยู่แล้ว กรณี 1.2) สามารถกำาหนดรายชื่อกิจการฯย่อยที่ต้องควบคุมในท้องถิ่นได้ 2 ลักษณะ คือ ก) ตามลักษณะความหลากหลายของกรรมวิธี เช่น การต้ม การตาก การเผา และ ข) ตามความหลากหลายของชนิดผลิตภัณฑ์ เช่น กะปิ นำ้าพริกแกง นำ้าปลา นำ้าเคย นำ้าบูดู ไตปลา กรณี

เต้าเจี้ยว ซีอิ้ว หอยดอง หรือซอสปรุงรสอื่นๆ เป็นต้น จึงอาจกำาหนดกิจการฯย่อยตามสภาพข้อเท็จจริงเท่าที่มีการประกอบกิจการในท้องถิ่นนั้นและเป็นปัญหาต่อชุมชน เช่น Comm3-42

4 “การต้มเปลือกปู” หรือ “การต้ม การตาก เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับมติการประชุมฯครั้งที่แล้ว

การเผาเปลือกปู กรณี

เปลือกหอย” “การผลิตนำ้าปลา เต้าเจี้ยว” หรือ “การผลิตนำ้าบูดู” หรือ”โรงเลื้อยไม้ด้วยเครื่องจักร”

1.3) เนื่องจากเป็นชื่อที่มีความหมายทั่วไปไม่เฉพาะเจาะจง

จึงอาจกำาหนดรายชื่อกิจการฯย่อยที่ต้องควบคุมในท้องถิ่น เป็นกิจการชื่อเฉพาะได้ เช่น “การเลี้ยงสุกร” หรือ “การเลี้ยงโคกระบือ” หรือ“การผลิตลำาไยบรรจุกระป๋อง” หรือ “การประดิษฐ์ดอกไม้ดว้ ยกระดาษ” เป็นต้น ทั้งนี้ ขึน้ อยู่กับสภาพปัญหาข้อเท็จจริงของแต่ละท้องถิ่น ตามแนวความคิดที่เป็นมติในการประชุมฯครั้งที่แล้ว ดังนั้น

จึงสรุปว่า

โดยต้องอยู่ในกรอบของรายชื่อกิจการฯที่ปรากฏอยู่ในประกาศกระทรวงสาธารรสุข

การกำาหนดรายชื่อกิจการที่ต้องควบคุมในท้องถิ่นเป็นกิจการย่อยๆที่เป็นชื่อเฉพาะได้ ที่

5/2538

ทั้งนี้

ขึน้ อยู่กับสภาพปัญหาของแต่ละท้องถิ่น

จึงเห็นว่าไม่มีผลกระทบในทางปฏิบัติแต่อย่างใด มติคณะกรรมการฯ เห็นชอบตามความเห็นที่เสนอ

วาระที่

4

เรื่องเพื่อทราบ

4.1)

การปรับปรุงคณะอนุกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการ สาธารณสุข

ประธานมอบให้ฝ่ายเลขานุการฯแจ้งต่อที่ประชุมว่า

ตามที่คณะกรรมการสาธารณสุขได้อาศัยอำานาจตามมาตรา

16

แห่ง

.

. .2535 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จำานวน 5 ชุด ได้แก่ (1) คำาสั่งคณะกรรมการสาธารณสุข ที่ 1/2541 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการประสานงานร่างกฎ/ประกาศกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ ตามพรระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 (2) คำาสั่งคณะกรรมการสาธารณสุข ที่ 2/2541 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณากำาหนดหลักเกณฑ์มาตรฐาน คณะที่ (1) - (3) (3) คำาสั่งคณะกรรมการสาธารณสุข ที่ 3/2541 เรื่อง พรบ การสาธารณสุข พ ศ

แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสนับสนุนและติดตามการปฏิบัติงานของาชการส่วนท้องถิ่น เนื่องจากขณะนี้ได้มีการโยกย้ายปรับเปลี่ยนตำาแหน่งและตัวบุคคลของอนุกรรมการหลายท่านในส่วนของกรมอนามัย ดังนั้น ฝ่ายเลขานุการฯจะได้ดำาเนินการปรับปรุงคำาสั่งเสนอต่อประธานคณะกรรมการสาธารณสุข เพื่อออกคำาสั่งใหม่ เพื่อให้ตำาแหน่งและตัวบุคคลของอนุกรรมการถูกต้องและเป็นปัจจุบันต่อไป คณะกรรมการฯรับทราบ

วาระที่

5

เรื่องเพื่อพิจารณา

Comm3-42

5 5.1)

เรื่อง

นโยบายของรัฐมนตรีฯเรื่องการควบคุมสถานที่จำาหน่ายอาหาร

.

. .2535 ในแหล่งท่องเที่ยว

ตาม พรบ การสาธารณสุข พ ศ

ฝ่ายเลขานุการฯนำาเสนอต่อที่ประชุมว่า เพื่อเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศ

ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายให้หน่วยราชการต่างๆส่งเสริมและสนับสนุนกิจการท่องเที่ยวไทย กระทรวงสาธารณสุขโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯเห็นความสำาคัญของนโยบายดังกล่าว

จึงดำาริให้มีการสนับสนุนการท่องเที่ยวไทยโดยจัดทำา “โครงการสุขาภิบาลอาหาร ส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ

(Clean Food Good Taste)”

ขึ้น เพื่อเสริมสร้างมาตรฐานการบริการด้านอาหารที่สะอาดปลอดภัย

ของสถานที่จำาหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งนอกจากจะส่งผลดีต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศแล้ว ยังเป็นมาตรการจูงใจให้นักท่องเที่ยวเกิดความมั่นใจในการบริโภคอาหารของประเทศไทยอีกด้วย

. Good

และ

. .2535 Taste

ในการดำาเนินการตามโครงการฯดังกล่าว ฝ่ายเลขานุการฯพิจารณาเห็นว่า ราชการส่วนท้องถิ่นสามารถใช้ พรบ การสาธารณสุข พ ศ เป็นเครื่องมือในการดำาเนินการได้เพื่อให้โครงการ

Clean

Food

สัมฤทธิ์ผลและเป็นมาตรการเสริมให้สามารถดำาเนินการได้อย่างต่อเนื่องในระยะยาวตามระบบกฎหมายต่อไป จึงเห็นสมควรเสนอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขในฐานะรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ โดยความเห็นของคณะกรรมการสาธารณสุข

กำาหนดเป็นนโยบายของรัฐมนตรี

เรื่อง

ใช้อำานาจตามมาตรา

.

การควบคุมสถานที่จำาหน่ายอาหารตาม

พรบ การสาธารณสุข

10(1) พ.ศ.2535

ในแหล่งท่องเที่ยว เพื่อสั่งการให้ราชการส่วนท้องถิ่นดำาเนินการตามแนวนโยบายดังกล่าวได้ การพิจารณาของกรรมการฯ

-

Clean Food Good Taste” ซึ่งมีผู้เสนอเป็น 2 สำานวน ได้แก่ 1) อร่อยอย่างเดียวไม่พอ ต้องสะอาดด้วย และ 2) อาหารสะอาด รสชาติอร่อย ที่ประชุมได้อภิปรายถึงความหมายของคำาว่า “

ควรจะกำาหนดเป็นภาษาไทยที่เหมาะสมว่าอะไร

มติคณะกรรมการฯ

1) 2)

เห็นควรใช้คำาว่า “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” เห็นด้วยในหลักการตามที่เสนอ

และ

มอบให้ฝ่ายเลขานุการฯดำาเนินการเสนอต่อ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขต่อไป

5.2)

เรื่อง ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์ทั่วไปสำาหรับกิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ

ฝ่ายเลขานุการฯนำาเสนอต่อที่ประชุมว่า จากการประชุมคณะกรรมการสาธารณสุข ครั้งที่

2542

ในวาระเพื่อพิจารณาที่

5.4

เรื่องพิจารณาร่างกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์ทั่วไปสำาหรับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ซึ่งที่ประชุมได้มีความเห็น ข้อเสนอแนะ

และมอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการฯและคณะอนุกรรมการฯ คณะที่ คณะที่

19-2/2542 เมื่อวันพุธที่ 10 พฤศจิกายน

2 ไปดำาเนินการปรับปรุงแก้ไข เพื่อนำามาเสนอในการประชุมครั้งนี้ นั้น

ฝ่ายเลขานุการฯและคณะอนุกรรมการฯ

2 ได้ดำาเนินการปรับปรุงแก้ไขแล้ว ดังนี้ Comm3-42

6 1)

ในหมวด

2 การสุขาภิบาลทั่วไป ได้ปรับปรุงแก้ไข

การอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ขนาดความกว้างของประตูหรือทางออก เป็น ไม่น้อยกว่า

ปรับข้อความที่กำาหนดเป็นสัดส่วนของขนาดพื้นที่ห้องส้วมให้ชัดเจน และเข้าใจง่าย เพิ่มเติมข้อความกรณีที่ห้องส้วมมิได้อยู่ภายในอาคาร กำาหนดให้ต้องมีหลังคาด้วย ตัดข้อความที่กำาหนดเกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัยในหมวดนี้

2)

ในหมวด

85 เซนติเมตร

ปรับแล้วยกไปไว้ในหมวด

3

เพิ่มเติมข้อความกำาหนดให้ห้องส้วมที่มิได้อยู่ภายในอาคารจะต้องมีหลังคาด้วย

3 การอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ได้ปรับปรุงแก้ไข

-

3

ปรับปรุงแก้ไขข้อความเดิมโดยกำาหนดให้เป็น

ส่วน

ส่วนที่

1(ข้อ

14)

กำาหนดให้กรมอนามัยสามารถออกประกาศกำาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการหรือมาตรการตรวจสุขภาพและการ ป้องกันอันตรายต่อสุขภาพของคนงานให้สถานประกอบกิจการต้องจัดให้มีได้ เพื่อให้สามารถรองรับการควบคุมปัญหาในแต่ละเรื่องๆได้ โดยไม่ต้องออกเป็นกฎกระทรวง เช่น

15) กำาหนดให้สถานประกอบกิจการต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยด้วย เพื่อให้สามารถควบคุมดูแลสถานประกอบกิจการเป็นการทั่วๆไปได้ ส่วนที่ 3 (ข้อ 16 ) เป็นข้อกำาหนดพื้นฐานเกี่ยวกับมาตรการป้องกันอุบัติภัยเพื่อความปลอดภัย ปัญหาอันตรายจากฝุ่นฝ้ายกำาหนดให้ต้องจัดให้มีหน้ากากป้องกัน

เป็นต้น

2(ข้อ

ส่วนที่

การพิจารณา ประธานขอให้ที่ประชุมพิจารณาทบทวนร่างกฎกระทรวงฯ เพื่อให้เกิดความรอบคอบก่อนจะเสนอให้รัฐมนตรีต่อไป ที่ประชุมพิจารณาทบทวนแล้วมีข้อเสนอให้ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้

-

ในหมวด

1 ความทั่วไป ข้อ 1 คำานิยามเกี่ยวกับมลพิษต่างๆ ให้เปลี่ยนคำาว่า “ประชาชน” เป็น “สาธารณชน” ทั้งหมด

เพราะสถานประกอบกิจการเป็นสถานที่เฉพาะ ซึ่ง จุดที่ตั้งส่วนใหญ่จะมีมลพิษเกินค่ามาตรฐานที่กำาหนดและในสถานประกอบกิจการจะมีคนงานทำางานอยู่ซึ่งก็เป็นประชาชนด้วย แต่หลักการของกฎกระทรวงนี้ต้องการจะกำาหนดมาตรการป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดจากสถานประกอบกิจการซึ่งจะมีผลกระทบต่อบุคคลภายนอกซึ่งเป็นสาธารณชนด้วย

-

2

ในหมวด

การสุขาภิบาลทั่วไป

6(1)

ข้อ

ให้มีขนาดกว้างไม่น้อยกว่าแปดสิบเซนติเมตร เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยควบคุมอาคาร

-

ในหมวด

3

การอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ข้อ

16(2)



ให้ปรับขนาดความกว้างของประตูหรือทางออก ให้ปรับความถี่ของการบันทึกการบำารุงรักษาเป็น

“อย่างน้อยหกเดือนต่อครั้ง” มติคณะกรรมการฯ

-

เห็นชอบร่างกฎกระทรวง

ฉบับที่

.. (พ.ศ. ….)

ว่าด้วย

หลักเกณฑ์ทั่วไปสำาหรับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

และมอบให้ฝ่ายเลขานุการฯปรับปรุงแก้ไขตามที่เสนอ แล้วเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป

5.3)

ประเด็นข้อหารือจากราชการส่วนท้องถิ่น

Comm3-42

7 5.3.1)

เรื่อง อำานาจของราชการส่วนท้องถิ่นในการกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ในเขตนิคมอุตสาหกรรมตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข

. .2535

พศ

ฝ่ายเลขานุการฯนำาเสนอต่อที่ประชุมว่า

(

ต่อปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการสาธารณสุข

22

)

ได้มีการหารือจาก

.

.

อบต บ้านกลาง

.

อ เมือง

.

จ ลำาพูน

10 หมู่บา้ น มีพื้นที่ พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535

กรณีที่ อบต บ้านกลาง ได้จัดดำาเนิน โครงการกำาจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยในเขตรับผิดชอบ

.

. .2537

ตารางกิโลเมตรเพื่อให้เป็นไปตามอำานาจหน้าที่ตาม พรบ สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ ศ

ประกอบ

โดยพื้นที่ดังกล่าวครอบคลุมเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือทั้งหมดด้วย

.

ในการนี้ทางอบต บ้านกลางได้ขอความร่วมมือให้การนิคมฯประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการในเขตนิคมฯได้ทราบด้วย แต่ได้รับการแจ้งจากการนิคมฯว่า

(1)

การจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เกิดขึ้นในโรงงานทีต่ ั้งอยู่ภายในนิคมอุตสาหกรรม

.

. .2535 , ประกาศกระทรวงอุตสาห-กรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2540) ออกตามความใน พรบ.โรงงาน พ.ศ.2535 เรื่อง การกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว , ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2541) ออกตามความใน พรบ.โรงงาน พ.ศ.2535 เรื่อง การกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว , ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 29/2541 เรื่อง การกำาจัด มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายต่างๆได้แก่ พรบ โรงงาน พ ศ

สิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วในนิคมอุตสาหกรรม และ ที่

(2)

47/2541 เรื่อง การกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วในนิคมอุตสาหกรรม

การคัดเลือกผู้ให้บริการในการดำาเนินการกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

เป็นดุลพินิจและความสมัครใจของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้ข้อกำาหนดของกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

(3)

การดำาเนินการนำาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณโรงงาน

ผูป้ ระกอบอุตสาหกรรมต้องยื่นขออนุญาตและต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมโรงงานหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรม โรงงานมอบหมายให้นำาออกไปเพื่อการทำาลายฤทธิ์

การกำาจัดทิ้ง

หรือการฝังกลบ

6 (พ.ศ.2540) (4) บริษัท

ด้วยวิธีการและสถานที่ตาม

หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำาหนดในภาคผนวกที่

2

ท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่

บริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

.

. .2535

เป็นสถานประกอบการที่ได้รับอนุญาตจัดตั้งเป็นโรงงานบำาบัดของเสียตาม พรบ โรงงาน พ ศ

จำากัด

เป็นโรงงานประเภท ลำาดับ

101

(มหาชน)

ให้บริการกำาจัดกากอุตสาหกรรม

ทั้งประเภทของแข็ง ของเหลว สารอินทรีย์และอนินทรีย์ มีระบบการให้บริการประกอบด้วยบริการเก็บ รวบรวม ขนส่ง กำาจัดกากอุตสาหกรรม และ ฝังกลบขั้นสุดท้าย ใบอนุญาตโรงงานออกโดยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

มีสถานประกอบการตั้งอยู่



-

นิคมอุตสาห กรรมมาบตาพุด

.

จ ระยอง

และไม่มีสถานประกอบการในเขตพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ

. (1)

อบต บ้านกลาง จึงได้หารือดังนี้

.

อบต บ้านกลางมีอำานาจหน้าที่ในการกำาจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยภายในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือหรือไม่

Comm3-42

8 (2)

กรณีการนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือได้ว่าจ้างให้บริษัท

บริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

(มหาชน)

จำากัด

ให้บริการเก็บ

(

รวบรวม

.

ขนส่ง

กำาจัดกากอุตสาหกรรม

และฝังกลบขั้น

สุดท้าย

)

. . .2535 มาตรา 19 หรือไม่ (3) การนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือได้อ้าง พรบ.โรงงาน พ.ศ.2535 , ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2540) และฉบับที่ 1 (พ.ศ.2541) และประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 29/2541 และ ที่ 47/2541 โดยให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรมใช้ดุลพินิจเลือกผู้ให้บริการในการกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เกิดในโรงงาน จะขัดแย้งกับ พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 มาตรา 18 โดยไม่ได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น ประธานกรรมการบริหาร อบต บ้านกลาง เป็นการ ฝ่าฝืน พรบ การสาธารณสุข พ ศ

ที่กำาหนดให้การกำาจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยในเขตราชการส่วนท้องถิ่นใดเป็นอำานาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นนั้น หรือไม่

(1)

จากนั้น ฝ่ายเลขานุการฯได้เสนอข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาต่อที่ประชุมดังนี้ ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

กฎหมายที่จัดตั้ง

. .2535 กำาหนดให้ “องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น” เป็นผู้ที่มีอำานาจหน้าที่ในการกำาจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ ศ ซึ่งในทางปฏิบัติสามารถดำาเนินการได้

3 วิธี คือ ) ข) ก

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้บริการเอง

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบให้บุคคลใดดำาเนินการแทนภายใต้การควบคุมดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ค

)

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอนุญาตให้ผู้ใดดำาเนินกิจการรับทำาการเก็บ

โดยทำาเป็นธุรกิจหรือโดยได้รับประโยชน์ตอบแทนด้วยการคิดค่าบริการ

(2)

โรงงาน

. .2535

พศ

ตามกฎกระทรวง

2

ฉบับที่

(พ.ศ.2535)

ออกตามความในพระราชบัญญัติ

1

ฉบับที่

(พ.ศ.2541)

เรื่องการกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

ได้กำาหนดคุณสมบัตขิ องสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเป็นสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยที่ไม่เป็นพิษ

และกำาหนดให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้อง

เกี่ยวกับชนิด



ปริมาณ

ถ้าใช้บริการของผู้อื่นในการกำาจัด โรงงานฯ

)

และสถานที่เก็บให้ทราบ

เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมโรงงานฯหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมโรงงานฯมอบหมาย

2542

หรือกำาจัด

ได้ให้อำานาจแก่กรมโรงงานอุตสาหกรรมออกประกาศกำาหนดคุณสมบัตขิ องสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ต้องดำาเนินการตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด

ซึ่งประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม

กันยายน

ขน

)



)

ต้องแจ้งรายละเอียด

ห้ามนำาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณโรงงาน

ต้องทำาลายฤทธิ์

กำาจัด

ทิ้ง

หรือฝังตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนดไว้



)

ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรม

(3)

จากบทบัญญัติ ตาม

(1)

และ

(2)

ในการประชุมคณะกรรมการสาธารณสุข ครั้งที่

. .2535

คณะกรรมการได้มีมติเห็นว่าคำาว่า “มูลฝอย” ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ ศ

ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม



ฉบับที่

1

(พ.ศ.2541)ฯ

ด้วย

จึงเห็นว่า

18-2/2542

เมื่อวันที่

7

ครอบคลุมถึง “วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว” จากโรงงาน การกำาจัดสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงาน

. .2535 ดังนั้น จึงมีมติให้เสนอต่อกระทรวงอุตสาหกรรมให้มีการปรับปรุงแก้ไขประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2541) ให้องค์กรปกครองท้องถิ่นมีอำานาจอนุญาตได้ด้วย ส่วนกรณี “วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว” จากโรงงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2540)ฯ ซึ่งเป็นวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นพิษ ยังมิได้มีการพิจารณาจากคณะกรรมการสาธารณสุขว่าเป็น “มูลฝอย” ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 หรือไม่ เป็นอำานาจของราชการส่วนท้องถิ่นด้วยตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข

พศ

Comm3-42

9 . .2535 เช่นเดียวกับวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2541)ฯ ซึ่งถ้ามีการพิจารณาแล้วมีมติว่าเป็น“มูลฝอย”

(4) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(กนอ.)

ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ ศ

ด้วย

ก็จะต้องดำาเนินการตามหลักเกณฑ์

วิธีการ

.. 2522 กำาหนดให้ ก) 6 ข) กนอ. มีอำานาจกระทำากิจการภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์

ตามพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นนิติบุคคลและมีวัตถุประสงค์ตามที่กำาหนดในมาตรา

พศ

รวมถึงการควบคุมการดำาเนินงานของผูป้ ระกอบอุตสาหกรรม ผูป้ ระกอบกิจการที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกับผู้ประกอบอุตสาหกรรมและผู้ใช้ที่ดินในนิคมอุตสาหกรรมให้เป็นไปตามระเบียบ

(ม.10(4))

และกฎหมายรวมทั้งการดำาเนินงานที่เกี่ยวกับการสาธารณสุขและที่กระทบกระเทือนต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ผูว้ ่าการหรือผู้ซึ่งผู้ว่าการมอบหมายมีอำานาจหน้าที่เกี่ยวกับการอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน

ข้อบังคับ

)



กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคาร

( .42)

และกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง ในเขตนิคมอุตสาหกรรม ม

จากบทบัญญัติข้างต้น

.

. .2522

พศ

แม้จะกำาหนดให้

) ตามมาตรา 42 แต่ก็มีหน้าที่ควบคุมการดำาเนินงานของผู้ประกอบการโรงงานในเขตนิคมอุตสหกรรมมิให้มีปญ ั หาเกี่ยวกับการสาธารณสุขหรือกระทบกระเทือนต่อคุณภาพสิ่งแดล้อม ดังนั้น กนอ. กนอ เป็นนิติบุคคล และมีอำานาจตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

3

จะเห็นว่าพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

(

ฉบับ กฎหมายว่าด้วยโรงงาน กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคาร และกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง

จึงมีอำานาจควบคุมการกำาจัดวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน

แต่มิได้มีอำานาจตามกฎหมายว่าด้วยการ

1 (พ.ศ.2541) จึงย่อมต้องปฏิบตั ิเช่นเดียวกับคำาวินิจฉัยของคณะกรรมการสาธารณสุขตามข้อ (3) ส่วนกรณีตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2540) ยังไม่มีคำาวินิจฉัย สาธารณสุขแต่อย่างใด ดังนั้น กรณีตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่

การพิจารณา ที่ประชุมได้มีการอภิปรายกันอย่างกว้างขวาง ซึ่งพอสรุปเป็นประเด็นได้ดังนี้

(1)

การกำาหนดบทบาทของหน่วยงานต่างๆในการจัดการปัญหาสิ่งปฏิกูลและ

มูลฝอยมิอาจกระทำาได้ด้วยการตกลงกันระหว่างหน่วยงานกันเอง การที่กรุงเทพมหานครตกลงกับกรมโรงงานฯให้กรมโรงงานเป็นผูด้ ำาเนินการจัดการกำาจัด สิ่งปฏิกลู และมูลฝอยที่เกิดในบริเวณทั้งหมด

แต่ต้องขึ้นอยู่กับข้อกำาหนดที่กฎหมายบัญญัติให้อำานาจไว้เป็นสำาคัญ

(

เป็นเรื่องที่กรุงเทพมหานครมอบให้กรมโรงงานฯดำาเนินการแทน ตามมาตรา

18

แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข

. .2535)ในเขตของกรุงเทพมหานครเท่านั้น ไม่มีผลต่อราชการส่วนท้องถิ่นอื่นแต่อย่างใด (2) โดยเจตนารมณ์ของกฎหมายว่าด้วยโรงงานและกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขย่อมไม่ขัดแย้งกัน การที่กฎหมายว่าด้วยโรงงานกำาหนดให้มีการแยกของเสียที่เกิดจากโรงงานออกเป็น 2 ส่วน เจตนาก็เพื่อต้องการที่จะควบคุมไม่ให้ “ของเสียที่เป็นพิษ” ของเสียทั่วไป(ขยะบ้าน)” เพราะจะทำาให้การจัดการยุ่งยากมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ย่อมมีประโยชน์และกระทำาได้ตามกฎหมาย แต่อย่างไรก็ตามด้วยระบอบ พศ

ปนเปื้อนกับ “

การปกครองที่ได้มีการกระจายอำานาจให้ท้องถิ่น การจะดำาเนินการใดๆโดยเฉพาะการควบคุมปัญหาที่เกิดในเขตพื้นที่ของท้องถิ่นใดก็ควรต้องให้ท้องถิ่นนั้นมีบทบาทและมีส่วนร่วม หรือแม้ในกรณีที่ท้องถิ่นมีศักยภาพไม่เพียงพอต้องให้ราชการส่วนกลางไปดำาเนินการให้ก็ตามอย่างน้อยก็ควรให้ท้องถิ่นมีสว่ นร่วมรับรองและแสดงความคิดเห็นด้วย ดังนั้น ในการจัดการ “วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว” จากโรงงาน

ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่

6 (พ.ศ.2540)ฯ

ที่ประชุมมีความเห็นว่า ถ้าไม่เข้าข่ายเป็น “มูลฝอย”

ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข

. .2535

พศ

การนิคมอุตสาหกรรมย่อมดำาเนินการในเขตพื้นที่ของนิคมอุตสาหกรรมได้

แต่การนำาเข้าและนำาออกจากนิคมอุตสาหกรรมนั้นก็ควรจะต้องแจ้งให้ราชการส่วนท้องถิ่นรับทราบด้วย Comm3-42

10 (3)

สำาหรับ

“วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว”

. .2535

จะเป็น“มูลฝอย” ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ ศ

จากโรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม

หรือไม่นั้น ทีป่ ระชุมมีความเห็นเป็น

.

2

ฉบับที่

6 (พ.ศ.2540)ฯ

ทาง โดยฝ่ายหนึ่งเห็นว่า ตามที่กำาหนดในคำานิยามของ

. .2535

พรบ การสาธารณสุข

พศ

. .2535

ครอบคลุมถึงสิ่งที่เก็บกวาดจากที่อื่นซึ่งควรต้องรวมถึงโรงงานด้วย จึงเห็นว่าเป็น“มูลฝอย” ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ ศ “วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว”

ด้วย ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งเห็นว่า

จากโรงงานที่เกิดจากกระบวนการผลิตไม่ใช่สิ่งที่เก็บกวาดโดยทั่วไปและโดยศักยภาพขององค์กรปกครองท้องถิ่นก็ไม่สามารถจัดการสิ่งเหล่านี้ได้

. .2535 ไม่ควรครอบคลุมถึงส่วนนี้ด้วย

จึงควรให้เป็นบทบาทของกรมโรงงานอุตสาหกรรมเป็นผู้ดำาเนินการ ฉะนั้นจึงเห็นว่า “มูลฝอย” ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ ศ

มติคณะกรรมการฯ

1)

“มูลฝอย” ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ครอบคลุมถึง “วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว” จากโรงงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2541)ฯด้วย โดยวิธีการจัดการให้ถือตามมติของคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 18-2/2542 2) สำาหรับ “วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว” จากโรงงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2540)ฯ เป็น “มูลฝอย” ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 หรือไม่นั้น เนื่องจากทีป่ ระชุมมีความเห็นเป็น 2 แนวทาง มิอาจหาข้อสรุปได้ ดังนั้น ประธานจึงขอให้กรรมการไปศึกษาข้อมูลให้ละเอียด รอบคอบเพื่อมาพิจารณาหาข้อสรุปให้ได้ในการประชุมครั้งต่อไป

5.4)

.

. .2535

เรื่อง การกำาหนดหลักเกณฑ์ มาตรฐาน ตาม พรบ การสาธารณสุข พ ศ

ฝ่ายเลขานุการฯได้นำาเสนอต่อที่ประชุมว่า มาตรการด้านกฎหมายสาธารณสุขสำาหรับราชการส่วนท้องถิ่นของกรมอนามัย มีอุปสรรคซึ่งทำาให้ประสิทธิภาพการดำาเนินงานยังไม่ดีเท่าที่

พบว่า

จากการดำาเนินงานส่งเสริมและพัฒนาการใช้ ในกระบวนการใช้บังคับกฎหมายสาธารณสุขของราชการส่วนท้องถิ่น

คาดหวังไว้ ทั้งนี้อันเนื่องมาจากราชการส่วนท้องถิ่นมีความต้องการที่จะได้หลักเกณฑ์ มาตรฐานด้านวิชาการเพื่อสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ฝ่ายเลขานุการฯ ได้ดำาเนินการประมวลประเด็นความต้องการจากที่ราชการส่วนท้องถิ่นต่างๆเสนอ และจากสภาวการณ์ของปัญหาการร้องเรียนของประชาชนในท้องถิ่น พบว่า หลักเกณฑ์ มาตรฐาน ที่ควรเร่งดำาเนินการกำาหนดเพื่อสนองต่อความต้องการของราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้

3 เรื่องการกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย 1) หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการประกอบกิจการรถดูดส้วม 2) หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเก็บ ขน หรือกำาจัดมูลฝอยโดยทำาเป็นธุรกิจหรือโดยได้รับประโยชน์ตอบแทนด้วยการคิดค่าบริการ 3) หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกำาจัดมูลฝอยติดเชื้อ (กำาลังดำาเนินการอยู่แล้ว) หมวด 5 เรื่องเหตุรำาคาญ 1) หลักเกณฑ์ วิธีการ วินิจฉัยเหตุรำาคาญ เรื่อง กลิ่นเหม็น 2) หลักเกณฑ์ วิธีการ วินิจฉัยเหตุรำาคาญ เรื่อง ฝุน่ ละออง เขม่าควัน 3) หลักเกณฑ์ วิธีการ วินิจฉัยเหตุรำาคาญ เรื่อง เสียง 4) หลักเกณฑ์ วิธีการ วินิจฉัยเหตุรำาคาญ เรื่อง ปล่อยนำ้าเสียลงแหล่งนำ้าสาธารณะ หมวด 7 เรื่องหลักเกณฑ์ มาตรฐาน สำาหรับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (130 ประเภท) หมวด

Comm3-42

11 1) 2) โรงทอผ้า เป็นต้น

8 หมวด 9 หมวด

(ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการสาธารณ-สุข)

หลักเกณฑ์ทั่วไป หลักเกณฑ์เฉพาะประเภทกิจการ

เช่น

การเลี้ยงสัตว์

โรงสีข้าว

โรงโม่หิน

/

เรื่องสถานที่จำาหน่าย สะสมอาหาร และ เรื่องการจำาหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ

1)

/

หลักเกณฑ์ มาตรฐานของสถานที่จำาหน่าย สะสมอาหาร

/

ขนาดเกิน ไม่เกิน

2)

200 ตร.ม.

หลักเกณฑ์ วิธีการกำาหนดควบคุมการจำาหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ

-

เรื่องทั่วไป เกณฑ์การชี้วัดหรือแนวทางการตัดสินใจ กรณีที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรงต่อ สุขภาพของประชาชนและจำาเป็นต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน ทีเ่ จ้าพนักงานสาธารณสุข จะสามารถดำาเนินการตามอำานาจในมาตรา

46 วรรคสองได้

จึงขอเสนอให้คณะกรรมการฯพิจารณาว่า จะเห็นชอบตามที่ฝ่ายเลขานุการฯเสนอ เพื่อฝ่ายเลขานุการฯจะได้แจ้งเรื่องให้คณะอนุกรรมการฯที่เกี่ยวข้องทราบและดำาเนินการต่อไป

หรือจะมีความเห็นเพิ่มเติมอย่างไรหรือไม่

การพิจารณา ที่ประชุมพิจารณาแล้วมีความคิดเห็น ดังนี้

1)

“การกำาหนดค่ามาตรฐาน”

ใดๆ ควรกำาหนดวิธีการชี้วัดไว้ด้วย แต่อย่างไรก็ตามค่ามาตรฐานบางตัวกำาหนดได้ยากมาก

ในกรณีนี้อาจกำาหนดไว้เพียงกว้างๆ หรืออาจต้องใช้กระบวนการทางสังคมเป็นตัวตัดสิน ซึ่งในการใช้วิธีตัดสินเช่นนี้จำาเป็นต้องกำาหนดกรอบวิธีการชี้วัดไว้พอสมควรด้วย

(2)

ต่อประเด็นว่าควรกำาหนด

ได้มีการกำาหนดกรอบความหมายของเหตุรำาคาญไว้ในมาตรา

(3)

ความหมายของคำาว่า

“เหตุรำาคาญ”

หรือไม่

ฝ่ายเลขานุการฯชี้แจงว่า

25 แล้ว ซึ่งประเด็นสำาคัญของการชี้วัดอยู่ที่ความเป็นอันตรายหรือเป็นเหตุให้เสื่อมต่อสุขภาพนั่นเอง

ควรเพิ่มเติมเรื่องเหตุรำาคาญให้ครอบคลุมถึงเรื่องความสั่นสะเทือนด้วยเพราะเป็นเรื่องทีส่ ำาคัญเช่นกัน

มติคณะกรรมการ

1) 2) 3)

เห็นชอบในหลักการดำาเนินงานตามที่ฝ่ายเลขานุการฯเสนอ ให้เพิ่มเติมเรื่องเหตุรำาคาญอันเนื่องจากความสั่นสะเทือนตามที่ที่ประชุมเสนอ

ให้ฝา่ ยเลขานุการฯดำาเนินการแจ้งเรื่องพร้อมทั้งข้อคิดเห็นของคณะกรรมการสาธารณสุขให้คณะอนุกรรมการฯที่เกี่ยวข้องทราบและดำาเนินการต่อไปได้

ปิดประชุมเวลา

16.00 น. นายสมชาย ตูแ้ ก้ว นายศุมล ศรีสุขวัฒนา

จดบันทึกการประชุม จดบันทึกการประชุม

Comm3-42

12 ..

น พ สมยศ เจริญศักดิ์ ตรวจรายงานการประชุม

Comm3-42

Related Documents