Reference

  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Reference as PDF for free.

More details

  • Words: 1,253
  • Pages: 20
การอ้างอิงบรรณานุกรม หมายถึง การอ้างอิงแหล่งสารนิเทศซึ่ง เป็นทฤษฎี ข้อมูล ความรู้ มาประกอบในผลงานทางวิชาการ โดย เฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ เพื่อบอกแหล่งทีม ่ า ของสารนิเทศอันเป็นการให้เกียรติแก่เจ้าของผลงานเหล่า นั้น การ อ้างอิงที่ผู้จัดทำานำาเสนอนี้เป็นระบบ APA (American Psychological Association) เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนอ้างอิงบรรณานุกรมในผลงานทาง วิชาการของบุคลากรคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิธีการ เขียนอ้างอิงบรรณานุกรมจากสารนิเทศประเภทต่าง ๆ มีดังนี้ รูปแบบเอพีเอ ถือว่าจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นเอกสารส่วน ตัว ผู้อื่นไม่สามารถสืบค้นได้ฉะนั้นจึงไม่แนะนำาให้รวมรายการ จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ไว้ในบรรณานุกรม แต่ให้อา้ งถึงไว้ในเนื้อ ความ สำาหรับแบบเอ็มแอลเอ และแบบชิคาโก มีรายละเอียดทาง บรรณานุกรมของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ทก ี่ ำาหนดไว้เหมือนกัน ได้แก่ ชื่อผูเ้ ขียน หัวข้อเรื่อง และวันที่ส่ง โดยแบบเอ็มแอลเอ กำาหนดให้มีชื่อผู้รับ ส่วนแบบชิคาโก ให้ระบุชื่อชนิดทีข ่ องการติดต่อ (เช่น เป็นจดหมายส่วนตัว หรือจดหมายทางราชการ) และวันที่ เข้าไปสืบค้น

...............Sinee Tadtawee. “Technologies for Education.” E-mail to James Scott. 7 Sept. 2002.

...............Sinee Tadtawee. “Technologies for Education.” 7 Sept. 2002. Personal E-mail (8 Sept............................2002.) การอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่เผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตที่กล่าวมา เป็น เพียงวิธีเดียวคือการเขียนบรรณานุกรม และเป็นการเขียน บรรณานุกรมสำาหรับแหล่งข้อมูลบางประเภท ในบางรูปแบบ เท่านั้น แท้ที่จริงแหล่งข้อมูลที่เผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตมีหลาก

หลายประเภทกว่าที่ กล่าว ทัง้ การอ้างอิง ก็ยังมีวิธีการอื่นที่นอก เหนือไปจากการเขียนบรรณานุกรม และการเขียนบรรณานุกรมก็ สามารถเขียนได้ในรูปแบบต่าง ๆ นอกจากที่ยกตัวอย่าง สิ่งสำาคัญ ในการอ้างอิงแหล่งข้อมูล คือต้องปฏิบัติตามรูปแบบที่ผู้รับผิดชอบ ในการผลิตหรือเผยแพร่งานเขียนนั้น ๆ กำาหนด

การเขียนรายละเอียดทางบรรณานุกรมสำาหรับแหล่งข้อมูลที่ เผยแพร่บน อินเทอร์เน็ต มีหลักการเช่นเดียวกับการเขียน ราย ละเอียดทางบรรณานุกรมของแหล่งข้อมูลประเภทอื่น ๆ คือ ต้องให้ รายละเอียดที่ทำาให้ผู้สนใจสามารถเข้าถึงแหล่ง ข้อมูลนั้น ๆ ได้ ในที่ นี้จะขอกล่าวถึง การเขียนรายละเอียดทางบรรณานุกรมสำาหรับ แหล่งข้อมูลทีเ่ ผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต สามประเภทใหญ่ ได้แก่ 1. 2. 3.

หนังสือ เอกสาร และบทความ ข้อความที่ประกาศ (post) และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์

โดยจะยกตัวอย่างการเขียนในรูปแบบเอพีเอ (APA) ของสมาคม จิตวิทยาอเมริกัน แบบเอ็มแอลเอ (MLA) ของสมาคมภาษา สมัยใหม่ และแบบชิคาโก (Chicago) ของมหาวิทยาลัยชิคาโก รูปแบบ บรรณานุกรมทั้งสามนีเ้ ป็นรูปแบบที่พบทั่วไปใน งานเขียนทาง วิชาการทางสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ การเขียนรายละเอียดทางบรรณานุกรมสำาหรับ หนังสือ เอกสาร และบทความทีเ่ ผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตมีรูปแบบ และองค์ประกอบ เช่นเดียวกับ บรรณานุกรมหนังสือ เอกสารและบทความที่เผยแพร่ ทั่วไปในรูปสิ่งพิมพ์ รายละเอียดที่ ควรมี ได้แก่ ชือ ่ ผู้แต่ง ชือ ่ เรือ ่ ง ปีที่ผลิต (เทียบได้ กับปีที่พิมพ์) และแม้ว่าจะละรายละเอียดบางประการ เช่น เมืองที่ พิมพ์ หรือสำานักพิมพ์ ซึ่งหาไม่ได้ก็ได้ แต่ต้องมีข้อมูลที่เกีย ่ วข้องกับ การสืบค้นเอกสารนั้น ๆ ระบุไว้ ได้แก่ วันที่และเดือนปีที่ สืบค้น และยูอาร์แอล (URL) ซึ่งควรให้เฉพาะเจาะจงจนถึงหน้าเอกสารที่

อ้างถึงให้มากที่สุด และหากยูอาร์แอลมีความยาว ไม่ สามารถพิมพ์ ให้จนจบได้ในบรรทัดเดียว ควรแบ่งข้อความโดยขึ้นบรรทัดใหม่ ด้วยข้อความหลังเครื่อง หมายทับ (/) หรือ ก่อนเครื่องหมายมหัพ ภาค (.) •

เหตุที่ต้องระบุวันที่และเดือนปีที่สืบค้น เป็นเพราะข้อมูลทีเ่ ผย แพร่บนเว็บอาจมีการเปลี่ยนแปลง และเคลื่อนย้าย ทางที่ดีผู้ ค้นคว้าควรพิมพ์เอกสารที่อา้ งอิงไว้เป็นหลักฐานด้วย



URL ย่อมาจาก Universal Resource Locator หมายถึง ตัวชี้แหล่งใน อินเตอร์เน็ต

...............Einstein, A. (2000). Relativity : The special and general theory (R.W. Lawson, ..........................Trans.). New York : Bartleby.com. (printing version was published by Henry Holt, ..........................New York in 1920). Retrieved August 21, 2002, from http://www.Bartleby.com/ ..........................173/ ...............หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่าย เสียง. (2542). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. . .........................สืบค้นเมื่อ 24 สิงหาคม 2545, จาก http://www.Royin.go.th/roman-translate.html

...............Einstein, Albert. Relativity : The Special and General Theory. Trans. Robert W. ...........................Lawson. New York : Bartleby.com., (2000) Printing version was published by

...........................Henry Holt, New York in 1920. 21 August 2002 ...............หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่าย เสียง. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2542. ..........................24 สิงหาคม 2545

...............Einstein, Albert. Relativity : The Special and General Theory. Translated by ...........................Robert W. Lawson. New York : Bartleby.com., 2000 Printing version was published ...........................by Henry Holt, New York in 1920. (21 August ...........................2002). ...............หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่าย เสียง. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, ...........................2542. (24 สิงหาคม 2545).

...............Fiese, B. H., & Tomcho, T. J.. (2001). Finding meaning in religious practices : The ...........................relation between religious holiday rituals and marital satisfaction. Journal of ...........................Family Psychology, 15, 597-609. Retrieved August 22, 2002, from ...........................http://www.apa.org/journals/fam/press_releases/december_2001/ ...........................fam154597.html

...............ธีรภัทร มนตรีศาสตร์. (สิงหาคม, 2545). Thumb Drive มิติใหม่ แห่งการเก็บข้อมูล. ...........................ไมโครคอมพิวเตอร์, ฉบับที่ 204. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2545, จาก ...........................http://www.micro.se-ed.com/content/mc204/default.asp

...............Fiese, Barbara H., and Tomas, J. Tomcho. “Finding Meaning in Religious Practices : The ...........................Relation Between Religious Holiday Rituals and Marital Satisfaction.” Journal of ...........................Family Psychology 15 (2001) : 597-609. 22 Aug. 2002 .......................... ...............ธีรภัทร มนตรีศาสตร์. “Thumb Drive : มิติใหม่แห่งการเก็บ ข้อมูล.” ไมโครคอมพิวเตอร์ ...........................204(2545). 21 สิงหาคม 2545

...............Fiese, Barbara H., and Tomas, J. Tomcho. “Finding Meaning in Religious Practices : The ...........................Relation Between Religious Holiday Rituals and Marital Satisfaction.” Journal of

...........................Family Psychology, 15 (Dec. 2001) : 597-609. (Aug. 22, 2002). ...............ธีรภัทร มนตรีศาสตร์. “Thumb Drive : มิติใหม่แห่งการเก็บ ข้อมูล.” ไมโครคอมพิวเตอร์, ฉบับที่ 204. ...........................(สิงหาคม 2545). ...........................(22 สิงหาคม, 2545).

...............Masland, T. (2002, September 7). Pragmatism versus principle. Newsweek. Retrieved ...........................September 8, 2002, from http://www.msnbc.com/news/802941.asp

...............Masland, Tom. “Pragmatism versus Principle.” Newsweek. 7 September 2002. 8 ...........................September 2002

...............Masland, Tom. “Pragmatism versus Principle.” Newsweek, 7 Sept. 2002. ........................... (8 Sept. 2002)

...............Swartzentruber, D. (2002, Step. 4). The Internet in Asia. Bangkok Post. Retrieved Sept. ...........................8,2002, from http://bangkokpost.net/politics/

...............Swartzentruber, David. “The Internet in Asia.” Bangkok Post. 4 Sept. 2002. 8 Sept. 2002. ...........................

...............Swartzentruber, David. “The Internet in Asia.” Bangkok Post, 4 September 2002. ........................... (8 Sept. 2002). (post) ข้อความที่ประกาศบนอินเตอร์เน็ต ในที่นี้หมายถึง ข้อความที่ นำาเสนอเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเว็บฟอรัม (web forum) ข้อความที่นำาเสนอในลิสต์เซิร์ฟ (Listserv) และกลุม ่ ข่าว (Newsgroup) ต่าง ๆ รายละเอียดที่ควรระบุ ได้แก่ ชื่อผู้ประกาศ วันเดือนปีที่ประกาศ หัวเรื่อง (ดูตามที่ปรากฏในบรรทัดหัวข้อ subject) และยูอาร์แอล ( ยกเว้นสำาหรับ ข้อความในกลุม ่ ข่าว ให้ระบุชื่อกลุ่มข่าวแทน) โดยใน แบบเอพีเอ และ แบบเอ็มแอลเอ กำาหนดให้มีข้อความที่บ่งว่าเป็น ข้อความ ที่ประกาศ และในแบบเอ็มแอลเอ และ แบบชิคาโก กำาหนดให้ระบุวันที่ที่สืบค้น

: การจัดเรียงบรรณานุกรม

ชื่อ/ชื่อสกุล.//(ปีที่พิมพ์).//ชือ ่ เรือ ่ งหนา.//ครั้งที่พิมพ์.//เมืองที่พิมพ์:/ สำานักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์.

ชื่อ/ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อบทความ.//ชื่อ วารสารหนา.//ปีท(ี่ ฉบับที)่ /:/หน้าที่อ้าง. ชื่อบทความ.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อวารสารหนา.//ปีท(ี่ ฉบับที)่ /:/หน้าที่ อ้าง.

ชื่อผูเ้ ขียน.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อบทความหรือชือ ่ คอลัมน์.//ชือ ่ นสพ หนา.//หน้าทีต ่ ีพิมพ์.

ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์,/วันเดือนของวารสารหรือปีทส ี่ ืบค้น ).//ชือ ่ บทความ.//ชื่อวารสารหนา.//(คำาบอกแหล่งข้อมูลอิเลกทรอนิกส์). //ปี ที่(ฉบับที่)/:/หน้า.//แหล่งทีม ่ า:/ชื่อของแหล่งทีม ่ า;/ชื่อแหล่งย่อย .//วันที่ สืบค้น. หัวข้อย่อยในเว็บไซต์หนา. (ปีที่สืบค้น).//แหล่งทีม ่ า:/ชื่อของ แหล่งทีม ่ า;/ชื่อแหล่งย่อย.//วันที่สืบ ค้น.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). รายงานผลการวิจัยเรื่องการออกเสียง คำาไทย(หนา). (ออนไลน์). แหล่งทีม ่ า:http:.......html. วันที่สืบค้น 25 กรกฎาคม 2547.

: การจัดเรียงบรรณานุกรม

ชื่อ/ชื่อสกุล.//(ปีที่พิมพ์).// พิมพ์:/สำานักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์.

.//ครั้งที่พิมพ์.//เมืองที่

ชื่อ/ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อบทความ.// .//ปีท(ี่ ฉบับที่)/:/หน้าที่อา้ ง. ชื่อบทความ.//(ปี,/วัน/เดือน).// หน้าที่อา้ ง.

.//ปีที่(ฉบับที)่ /:/

ชื่อผูเ้ ขียน.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อบทความหรือชือ ่ คอลัมน์.// //หน้าที่ตีพิมพ์.

ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์,/วันเดือนของวารสารหรือปีทส ี่ ืบค้น ).//ชือ ่ บทความ.// .//(คำาบอกแหล่งข้อมูลอิเลกทรอนิกส์). //ปีที่(ฉบับที)่ /:/หน้า.//แหล่งที่มา:/ชือ ่ ของแหล่งที่มา;/ชือ ่ แหล่งย่อย .//วัน ที่สืบค้น. . (ปีที่สืบค้น).// แหล่งทีม ่ า:/ชื่อของแหล่งทีม ่ า;/ชื่อแหล่งย่อย.//วันที่สืบค้น.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). . (ออนไลน์). แหล่งทีม ่ า:http:.......html. วันที่สืบค้น 25 กรกฎาคม 2547.

1. 1.1 ผู้แต่งชาวต่างประเทศ ใช้ชื่อสกุลขึ้นต้น ตามด้นชือ ่ ต้น และชื่อ รอง เช่น ชื่อ Chelie C Cooper - - - - - >ใช้ Cooper Chelie C. 1.2 ผู้แต่งที่เป็นพระมหากษัตริย์ พระราชินี พระบรมวงศานุวงศ์ และผู้แต่งทีม ่ ีราชทินนาม ฐานันดรศักดิ์ สมณศักดิ์ ให้ใส่ ราชทินนาม ฐานันดรศักดิ์ สมณศักดิ์ นั้นไว้ข้างหลังชื่อ โดยหลังชื่อ ผู้แต่งเครื่องหมายจุลภาค (,) ส่วนคำานำาหน้านาม เช่น นาย นาง นางสาว ตำาแหน่งทางวิชาการ อาชีพ หรือยศ ให้ตัดออกไป ยกเว้น นามแฝง เช่น นายตำารา ณ เมืองใต้, ดร.วินแม็ก, หลังชือ ่ ผู้แต่งให้ใส่ เครือ ่ งหมายมหัพภาค (.) 2. ให้ใช้ตามที่ปรากฏในหน้าปกและขีดเส้นใต้ เน้นชื่อนั้นด้วย หากเป็นหนังสือหลายเล่มจบ ให้ระบุเล่มที่ใช้ หลัง ชื่อใส่เครื่องหมายมหัพภาค (.) 3. หนังสือเล่มเดียวจบ ไม่ต้องระบุจำานวน เล่ม แต่ถ้าหนังสือนั้นมีหลายเล่มให้ระบุเล่มที่ใช้ (เช่น สารานุกรม ไทย หรือ Black Law) 4. ถ้าเป็นการพิมพ์ครั้งที่ 2 ขึน ้ ไปให้ระบุ ครั้งที่พิมพ์ด้วย หลังครั้งที่พิมพ์ ใส่เครือ ่ งหมาย มหัพภาค (.) 5. ให้ระบุชอ ื่ เมืองที่สำานักพิมพ์ หรือโรง พิมพ์นั้นตั้งอยู่ โดยใช้ชื่อเมืองตามที่ปรากฏในหนังสือเล่มนั้นๆ หาก ไม่ปรากฏชื่อเมืองให้ใช้ (ม.ป.ท.) หรือ (n.p) สำาหรับเอกสารภาษา อังกฤษ คือ ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หลังครั้งที่พิมพ์ใส่เครื่องหมาย ทวิภาค ( ; ) 6. ใช้ตามที่ปรากฏในหน้าปกใน ในกรณีที่มี ทั้งสำานักพิมพ์และโรงพิมพ์ ให้ใช้ชื่อสำานักพิมพ์ คำาที่เป็นส่วนของ สำานักพิมพ์ เช่น ห้างหุ้นส่วนจำากัด Incorporation, Inc. ให้ตัดออก ในกรณี

ที่ไม่ปรากฏชื่อสำานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ ให้ใช้ (ม.ป.ท.) หรือ (n.p.) แทน เพียงครั้งเดียว หลังสำานักพิมพ์ใส่เครื่องหมายจุลภาค (,) 7. ใส่เฉพาะตัวเลข ถ้าไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ ให้ใช้ ว่า (ม.ป.ป.) หรือ (n.d.) ในเอกสารภาษาอังกฤษ ถ้าหนังสือไม่ปรากฏ ทั้งสถานที่พิมพ์และปีที่พิมพ์ ให้ใช้ว่า (ม.ป.ท., หรือ ม.ป.ป.) หรือ (n.p., n.d.) ในภาษาอังกฤษ หลังปีที่พิมพ์ใส่เครื่องหมายมหัพภาค (.)

1. ชื่อผู้แต่ง.ชือ ่ หนังสือ. สถานที่พิมพ์.สำานักพิมพ์.ปีที่พิมพ์. วิทยากร เชียงกูล. ฉันจึงมาหาความหมาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544. คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. หลายชีวิต. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, 2548. 2.

2

ชื่อผู้แต่งทั้งสองคน. ชือ ่ หนังสือ. สถานที่พิมพ์: สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์. สมบัติ จำาปาเงิน และ สำาเนียง มณีกาญจน์. หลักนักอ่าน. กรุงเทพฯ: เรือนแก้ว, 2531. 3. 2 ชื่อผู้แต่ง และผู้แต่งคนอื่นๆ.ชือ ่ หนังสือ. ครั้งที่พิมพ์.สถานที่พม ิ พ์: สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์. อธิษกานต์ ไกรภักดี และคนอื่นๆ. การเมืองและการปกครองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุร:ี ปานเทวา การพิมพ์, 2541.

4. ชื่อผู้แต่ง.ชือ ่ หนังสือ.ชื่อผู้แปล.สถานที่พม ิ พ์: สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์. วิลเลี่ยม, สตีเวนสัน. นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ. ทรงแปลโดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ ัวภูมิพลอดุลยเดช. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2539. 5.

ชื่อผู้แต่ง, “ชื่อวิทยานิพนธ์ หรือสารนิพนธ์.” สาขา และสถาบันการ ศึกษา, ปีการศึกษา. ศศิ รินทร์ คำาบำารุง, “โครงสร้างในด้านข่าวและธุรกิจของศูนย์ข่าว ภูมิภาค.” วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาการ หนังสือพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. 6. ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์. ตำาแหน่ง (ถ้ามี). สัมภาษณ์,วันที่สม ั ภาษณ์. ทักษิณ ชินวัตร. นายกรัฐมนตรี. สัมภาษณ์, 18 มกราคม 2549.

7.

ชื่อผู้แต่ง. “ชื่อบทความ” [ประเภทของสื่อทีเ่ ข้าถึง] <เข้าถึงได้จาก> ( วันที่ค้นข้อมูล)

Pasguier, Roger F. “Owl” [Online]. (Feb. 8, 2006)

8.

ชื่อผูเ้ ขียนบทความ “ชือ ่ บทความ” ชือ ่ วารสาร. ปีท,ี่ ฉบับที.่ (เดือน ปี) : เลขที่หน้าอ้างอิง. อัลยา นฤชานนท์. “ได้อะไรบ้างจากการอ่านสารคดีการท่องเทีย ่ ว.” เทีย ่ วรอบโลก. 45, 4 (เมษายน 2540) : 36-40. 9.

ชื่อผูเ้ ขียนบทความ, “ชือ ่ บทความ,” ชือ ่ หนังสือพิมพ์ (วัน เดือน ปี): เลขหน้าที่อา้ งอิง. สมเจตน์ วัฒนาธร, “กินบนเรือน ขี้บนหลังคา,” เดลินิวส์. ( 7 กรกฎาคม 2549): 14. 10. Credit: http://www.dek-d.com/board/view.php?id=657681 (แผ่นนี้) http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/การเขียนบรรณานุกรม (แผ่นแรก) ชื่อผูเ้ ขียนบทความ, “ชือ ่ บทความ,” ชือ ่ สารานุกรม เล่มที่. (ปีที่พิมพ์) : เลขหน้าที่อา้ งอิง.

* ทั้งนี้ การลงรายการบรรณานุกรม มักยึดหลักเกณฑ์ตามรูปแบบที่ กำาหนด ของสถาบันการศึกษานั้นๆ ดังนั้น รูปแบบการลงรายการ บรรณานุกรมจึงไม่แน่นอน

เสริม บทความทางวิทยาศาสตร์ปัจจุบันนิยมใช้ปีที่พิมพ์ตอ ่ จากชื่อผู้แต่งเช่น วิทยากร เชียงกูล. (2544). ฉันจึงมาหาความหมาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ทั้ง นี้เนื่องจากวิทยาการทางวิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงไปค่อนข้างเร็ว เลย ต้องการให้ผอ ู้ ่านสามารถทราบความทันสมัยจากปีที่พิมพ์โดยนำามาไว้ส่วน ต้นๆ ของบรรณานุกรม

http://www.dek-d.com/board/view.php?id=657681 (แผ่นนี้) http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/การเขียนบรรณานุกรม (แผ่นแรก)

ตัวอย่างจากหนังสือเรียน หลักภาษาไทย ม.นเรศวร Name autho. ชือ ่ หนังสือ ใช้ตัวหนา. กรุงเทพฯ: ชือ ่ สำานักพิมพ์. สาธิต สถาพร. แพทยศาสตร์ศร ิ ิราชพยาบาล. กรุงเทพฯ: siriraj printing. ขั้นแต่ละช่วงด้วย จุด

. คณะ

ตย. ปก

<<< 16

สาธิต สถา รหัสนิสต ิ 51461053

รายงานนี้เสนอเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา รายวิชา 003322 ทักษะภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยนเรศวร

size

ตย. คำานำา คำานำา

หาเหกสกหดากหสสสส สสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสส กหดหกเกสสสสส สสสสสสสสส สสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสากาห กกหเหกกหกหดกกก หกด กหดกหด กด

สาธิต สถา 09 Aug 09

ตย.สารบัญ สารบัญ บทที่

1

หน้า

sdjdskfskfdssjdkf ……………………………………………………………. 1 dkkdkdjdkjfsdkfjs …………………………………………………….. 2 sddsfsfds ………………………………………………………………… 3

2 3

dksjsdkfdskfsdlfsd ………………………………………………………….. 4 lsdkfdskfdjsfkdsfkl …………………………………………………………… 5 dkkdkdjdkjfsdkfjs …………………………………………………….. 6 sddsfsfds ………………………………………………………………… 7 dkkdkdjdkjfsdkfjs …………………………………………………….. 10 sddsfsfds ………………………………………………………………… 23

บรรณานุกรม ………………………………………………………………… ……… 40 ภาคผนวก ………………………………………………………………… ………….. 41 ตัวอย่างรายงานวิชาการ …………………………………………………. 41

Related Documents

Reference
November 2019 34
Reference
May 2020 23
Reference
December 2019 33
Reference
June 2020 21
Reference
November 2019 27
Reference
May 2020 12