Psychotropic Plants

  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Psychotropic Plants as PDF for free.

More details

  • Words: 6,911
  • Pages: 46
พืชที่ใหสารออกฤทธิต์ อ จิตและประสาท (Psychotropic Plants) ธวัชชัย วงศประเสิรฐ คํานํา การศึกษาสารเคมีที่เปนองคประกอบสําคัญที่มีอยูในทุกสวนของพืช มีวิวัฒนาการมาอยางตอเนื่องและกาวหนาอยาง รวดเร็ว ทําใหผูเขียนเกิดความกระตือรือรนที่จะรวบรวมขอมูลพื้นฐานของพืชที่ใหสารออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ของ บรรดาพรรณไมที่ใชกันอยางแพรหลายในบานเรา ไมวาจะใชเปนพืชสมุนไพร พืชอาหาร เครื่องดื่ม อาหารเสริม หรือ ในหลาย ๆ วัตถุประสงคดวยกัน โดยอาศัยขอมูลจากตํารา วารสารตาง ๆ ทั้งในและตางประเทศ แตที่สําคัญที่สุดคือ การศึกษาจากตัวอยางพรรณไมที่มีอยูในหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เพื่อใหไดชนิดของพืช ที่ถูกตอง และสามารถตรวจสอบไดจากตัวอยางพรรณไม เพื่อใหผูที่ตองการศึกษาดาน พฤกษเคมี (Phytochemistry) ไดประโยชนมากทีส่ ดุ และทันตอเหตุการณมากทีส่ ุด ( พ.ศ. 2546) พืชที่ใหสารออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท จํานวน 40 ชนิดนี้ สามารถจัดเปนกลุมการออกฤทธิ์ของสารเคมีที่พบได เปน 3 กลุมดวยกัน คือ 1. พืชกลุมใหสารออกฤทธิ์สงบประสาท และชวยใหนอนหลับ (Sedatives & Hypnotics) พืชในกลุมนี้ จะใหสารออกฤทธิ์คอนขางกวางในการสงบประสาท คลายความวิตกกังวล ชวยใหนอนหลับ แกอาการชักบาง ประเภท เชน ขี้เหล็ก (Senna siamea (Lam.) Irwin et Barneby)ในดอกและใบ พบสาร Barakol มีคุณสมบัติ คลายความวิตกกังวล สงบประสาท และชวยใหนอนหลับ (18) 2.พืชกลุมที่ใหสารออกฤทธิ์ที่มีผลตอสภาพจิตใจและพฤติกรรมของมนุษย (Psychopharmacologic agents) เชน ระยอม (Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz) สวนรากจะให alkaloids ที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลาง ทําใหสงบ หัวใจเตนชา ลดความดันโลหิต ชวยการทํางานของ ระบบทางเดินอาหาร เปนตน และไดใชเปนยาลดความดันโลหิตสูงมาตั้งแต ค.ศ. 1931 และกัญชา (Cannabis sativa L.) ก็เปนพืชอีกชนิดหนึ่งที่กอใหเกิดความผิดปกติของจิตและประสาทชั่วคราวโดย alkaloids จากชอ ดอกเพศเมีย จะไปรบกวนการรับรู ทําใหเกิดอาการประสาทหลอน พฤติกรรมเปลี่ยน จนในบางครั้งดูเหมือนเปนคน วิกลจริต ในยุคแรก ๆ กัญชาถูกใชเปนสารบําบัดอาการปวดศีรษะขางเดียว แกอาการนอนไมหลับ แกปวดบางชนิด ตอมาภายหลังพบวากัญชาเปนตัวการสําคัญ ที่กอใหผูเสพเกิดพฤติกรรมกาวราว รุนแรง การรับรูตอสิ่งเราภายนอก เปลี่ยนแปลงไป จึงถือไดวาเปนพืชผิดกฎหมายสําหรับประเทศเรา 3. พืชกลุมที่ใหสารออกฤทธิ์กระตุนการทํางานของระบบประสาทสวนกลาง หรือระบบไขสันหลัง (Central Nervous System Stimulants) โดยจะใหสารที่ออกฤทธิ์โดยตรงตอสมองสวนที่ควบคุมการทํางานของ หัวใจ ไต และการไหลเวียนของโลหิตในรางกายของคนเรา เชน กาแฟ (Coffea arabica L.) และชา

(Camellia sinensis (L.) Kuntze ให alkaloid Caffeine ที่มีผลตอการทํางานของสมอง สวน เนื้อไมแสลงใจ (Strychnos nux-vomica L.) ให alkaloid Strychnine ที่มีผลตอการทํางานของ ประสาทสวนไขสันหลัง ชวยใหการทํางานของกลามเนื้อกระฉับกระเฉงขึ้น การคนพบสารเคมีเริ่มตนตาง ๆ จากพืช ไมวาจะเปน alkaloids หรือ glycosides จะเปนจุดเริ่มตนในการ พัฒนายารักษาโรค หรืออุตสาหกรรมเคมีอื่น ๆเพื่อใหไดสารกึ่งสังเคราะหหรือสารสังเคราะหนานาชนิดตามมาเชนใช Caffeine จากเมล็ดกาแฟเปนสารตั้งตนในการสังเคราะห Theophylline หรือ อาจสังเคราะห Theophylline ไดจากสารตั้งตนตัวอื่น ๆ โดยไมตองเริ่มจาก Caffeine ก็ได (Theophylline ใชในทาง ยา เปนยาขยายหลอดลม แกหืดหอบ ฯลฯ) อีกตัวอยางหนึ่งไดแก alkaloid Strychnine ที่เราสามารถ สังเคราะหไดโดยตรง นอกจากนีก้ ารดัดแปลงสูตรโครงสรางของสารเคมีที่ไดจากพืชเหลานี้ จะนําไปสูการพัฒนายา ตาง ๆที่มีคุณสมบัติดียิ่งขึ้นเพื่อใหไดยาที่มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคสูงสุด ผูเขียนหวังวา ขอมูลจากพืชที่ใหสารออกฤทธิ์ตอจิตและประสาททั้งหมดนี้ จะเอื้อประโยชนสําคัญใหแกผูที่สนใจ ศึกษาทางดานพรรณไม และพฤกษเคมีตอไปไดไมมากก็นอย พืชที่ใหสารออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท 1. วานน้ํา Acorus calamus 2. เรว Amomum villosum 3. โคคลาน Anamirta cocculus 4. หมาก Areca catechu 5. บุกตีนฮุง Arisaema consanguineum 6. ฝาง Caesalpinia sappan 7. ชา Camellia sinensis 8. กระดังงาไทย Cananga odorata 9. กัญชา Cannabis sativa 10. แพงพวยฝรั่ง Catharanthus roseus 11. การบูร Cinnamomum camphora 12. กาแฟ Coffea arabica 13. หิ่งเมน Crotalaria pallida 14. หญาแหวหมู Cyperus rotundus 15. ลําโพง Datura metel 16. ทองโหลง Erythrina fusca 17. ทองหลางลาย Erythrina variegata

18. มะลินรก Gelsemium elegans 19. ถั่วเหลือง Glycine max 20. เปราะหอม Kaempferia galanga 21. ไมยราบ Mimosa pudica 22. กระทอม Mitragyna speciosa 23. จันทนเทศ Myristica fragans 24. ยาสูบ Nicotiana tabacum 25. ฝน Papaver sonniferum 26. เสาวรส Passiflora laurifolia 27. โทงเทง Physalis angulata 28. พริกไทย Piper nigrum 29. ระยอม Rauvolfia serpentina 30. จันทนหอม Santalum album 31. ขี้เหล็ก Senna siamea 32. มันฝรั่ง Solanum tuberosum 33. แสลงใจ Strychnos nux-vomica 34. กํายาน Styrax benzoin 35. โกโก Theobroma cacao 36. โคกกระสุน Tribulus terrestris 37. ขาวสาลี Triticum aestivum 38. แฝกหอม Vetiveria zizanioides 39. กระชับ Xanthium strumarium 40. พุทราจีน Ziziphus jujuba

1. วานน้ํา ชื่อพฤกษศาสตร Acorus calamus L. วงศ ACORACEAE Common name: Sweet flag, Calamus, Flag-root, Beewort วานน้ํา เปนพรรณไมชอบขึ้นอยูชายน้ํา หรือธารน้ําไหล มีอายุ หลายป สูง 1-2 ม. มีเหงาใตดินที่ทอดไปตามพื้นดินและแตกตน ใหมขึ้นได เหงามีกลิ่นหอม รูปทรงกระบอกคอนขางแบน เล็กนอย ใบรูปแคบยาวคลายดาบ เรียงสลับซาย-ขวา ยาว 11.50 ม. กวาง 1.5-3.5 ซม. ขอบใบเปนลอนคลื่น เสนใบ ขนานตามความยาวของใบ สีเขียวเขม ฉ่ําน้ํา ดอกเปนดอกชอเชิง ลดสีเขียว รูปทรงกระบอกยาว 5-10 ซม. มีกาบหอหุม มีดอก ยอยจํานวนมากอัดกันแนนเปนแทง ชูขึ้น กานชอดอกยาว 3050 ซม. เสนผานศูนยกลาง 1.2-2 ซม. มีกาบหุมดอก รูปดาบ เชนเดียวกับกาบใบ ยาว 15-75 ซม. ดอกยอยมีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปไข เกือบกลม ปลายกลีบโคงงอเขาหาชอ เกสรเพศผู จํานวน 6 อัน กานชูเกสรเปนเสนยาว รังไขรูปกรวย ภายในมี 23 ชอง ปลายเกสรเพศเมียมีขนาดเล็กมาก มีออวุลหลายชอง ผลเปนชนิดผลสดมีเนื้อ มีเมล็ด 2-4 เมล็ด ๆ รูปไขแกม ขอบขนาน มีไมโครไพล วานน้ํา มีเขตการกระจายพันธุในประเทศตามริมหวย ริมลําธาร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แถบ จังหวัดเลย ถึงระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 1,200 เมตร ในตาง-ประเทศพบในเขตอบอุนของทวีป เอเชีย ถึงระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 2,000 เมตร ศรีลังกา, อินเดีย, สิกขิม, ประเทศแถบอินโดจีน, อินโดนีเซีย ถึงนิวกินี (5) สารสําคัญ เหงาใตดินใหน้ํามันหอมระเหย ที่ประกอบดวย Asaryl aldehyde และ Acorin; alkaloids ไดแก Asarone, β-Asarone และสารอืน่ ๆ (4, 5, 7, 23) สรรพคุณ วานน้ําถูกใชเปนยากันมาตั้งแตสมัย Hippocrates (460-377 ? B.C.) ซึ่งเปนบิดาแหงแพทย ศาสตรสมัยกอนคริสตกาล เหงาและรากใตดินจะมีกลิ่นหอมมาก เมื่อเคี้ยวสด ๆ จะทําใหเกิดอาการประสาทหลอน อยางออน ๆ ในทางยาใชเขาเครือ่ งยาเปนยาบํารุงรางกาย, บํารุงประสาท, ชวยยอย, บํารุงธาตุ, ขับระดู, แกปวดทอง, ขับลม, สงบประสาท และถาใชในขนาดสูง ๆ จะทําใหอาเจียน (4, 5, 7, 10, 11, 23)

2. เรว ชื่อพฤกษศาสตร Amomum villosum Lour. var. xanthioides (Wall. ex Baker) T.L. Wu & S. Chen วงศ ZINGIBERACEAE Common name: Bastard cardamom, Tavoy cardamom, Malabar cardamom เรว เปนไมลมลุกวงศขิง-ขา มีเหงาใตดิน มีกาบใบหุมซอนกันคลายลําตน สูงไดถงึ 2 ม. ใบเปนใบเดี่ยว รูปหอกกวาง ปลายแหลม ผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน ขนาดยาว 30-45 ซม. กวาง 3-7.5 ซม. สีเขียวออนถึงเขียวเขม ดอกออกเปนชอ เชิงลด แตกจากเหงาใตดินชูขึ้นโผลพนดินขึ้นมา ยาว 2.5-4 ซม. มีดอกยอยซอนอยูในกลีบประดับ จํานวน 2-3 ดอก กลีบประดับรูปขอบขนาน ยาว 1.2-2 ซม. ปลายแหลม ผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน กลีบเลี้ยงรูปทรงกระบอก มีจักที่ สวนปลายกลีบ 3 จัก กลีบดอกมีสีเหลืองออน รูปหลอด ยาวประมาณ 2.5 ซม. กวาง 0.8-1.2 ซม. สวนปลาย บานออกคลายชอน ปากดอกกวางประมาณ 1.2 ซม. มีเกสรเพศผูท ี่ไมสมบูรณ กานชูเกสรเพศผูส นั้ อับเรณูแยกกัน คอนขางหาง รังไขมี 3 ชอง หลายออวุล ผลกลม หรือคอนขางกลม มีสามพู สีน้ําตาลออน มีขนปกคลุมบาง ๆ เสน ผานศูนยกลางประมาณ 1 ซม. เมื่อแหงแลวแตก มีเมล็ดจํานวนมาก เมล็ดกลม หรือคอนขางกลม มีรอยตัดเวา เรว มีเขตการกระจายพันธุในประเทศตามปาดิบแลง และปาดิบชืน้ ทั่วทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะภาคตะวันออก เฉียงใต บริเวณจังหวัดจันทบุรี ในตางประเทศพบที่ พมา, จีนตอนใต, ประเทศแถบอินโดจีน (5, 14) สารสําคัญ เมล็ดใหน้ํามันหอมระเหยหลายชนิด ทีป่ ระกอบดวย Borneol, Cineol, Limonene, Linalool, a และ β-Pinene, Camphene เปนตน (5) สรรพคุณ เมล็ดใชเปนยาชวยการทํางานของมาม, กระเพาะ, ไต, ขับปสสาวะ, บํารุงธาตุ, แกอาหารไมยอย, ขับลม, แกหวัด, แกทองเสีย, แกอาการแพทอง ในขนาด 2-4 g. ตอครั้ง ใชเปนยาตมใหแมดื่มชวยใหบุตรในทองมีอาการ สงบ (5, 9, 14)

3. โคคลาน ชื่อพฤกษศาสตร Anamirta cocculus (L.) Wight & Arn. วงศ MENISPERMACEAE Common name: Fish-berry, Indian berry โคคลาน เปนไมเถาขนาดใหญ ใบเปนใบเดี่ยว รูปไข หรือไขกวาง ขนาดยาว 10-28 ซม. กวาง 8-24 ซม. ฐานใบ หยักเวา รูปหัวใจ มีเสนกลางใบแยกจากโคนใบรูปนิ้วมือ จํานวน 3-7 ใบ มีเสนแขนงใบ 4-5 คู ผิวเกลี้ยงทั้งสอง ดาน มีตอมขนเล็ก ๆ อยูตรงโคน แยกระหวางเสนกลางใบ และเสนแขนงใบ กานใบเกลี้ยง ยาว 6-18 ซม. โปงพองที่ ปลายทั้งสองขาง ดอกเปนดอกชอ ยาว 16-40 ซม. มีชอดานขางยาว 2-5 ซม. ผิวเกลี้ยง ดอกเพศผู ยาว 2-3 มม. ผิวเกลี้ยง กลีบเลีย้ งสีเขียวออน ขาว หรือ เหลือง วงนอกมี 2 กลีบ วงในมี 6 กลีบ รูปไขกวาง ขนาดยาว 2.5-3 มม. กวาง 2 มม. ผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน อับเรณูติดกัน ยาว 1.5-2 มม. ดอกเพศเมียมีกลีบดอกเหมือนดอกเพศผู เสนผาน ศูนยกลางประมาณ 7 มม. มีคารเพล จํานวน 3-4 ชอง ผลออกเปนชอ มีชอผลดานขาง เปนชนิดผลสด มีสีขาวถึงมวง ผิวเกลี้ยง ทรงกลม เสนผานศูนยกลาง 9-11 มม. ผนังผลชั้นในรูปไตเกือบกลม มีเมล็ดเดียว โคคลาน มีเขตการกระจายพันธุในประเทศตามปาดิบแลงระดับต่าํ หรือปาผสมผลัดใบ ริมฝงแมน้ําทั่วทุกภาค ใน ตางประเทศพบที่ อินเดีย ศรีลังกา พมา เวียดนาม มาเลเซีย ถึงนิวกินี (11, 13) สารสําคัญ เมล็ดใหสารหลายชนิดที่สาํ คัญ ไดแก Picrotoxin, Picrotoxinin, Picrotin, Cocculin และ alkaloid Menispermine และ Paramenispermine, ไขมัน, กรด Stearophanic หรือ Anamirtic Picrotoxin เตรียมไดจาก เมล็ดของโคคลาน โดยนําเมล็ดมาบดแลวตมใน alcohol แยกสวน ของเหลวออกมา ทําใหเขมขน แลวเติมน้ําลงไปอีก 2 สวน ทําใหเย็น แลวกรอง นําของเหลวที่ไดมาระเหยที่ความดัน ต่ํา จะไดตะกอนของ Picrotoxin ตกผลึกแยกออกมา (8, 13) สรรพคุณ เมล็ดมีฤทธิ์กระตุนระบบประสาทสวนกลางอยางแรง กระตุนศูนยควบคุมการหายใจ, กระตุนสมอง, ชวย การหายใจ ใชรักษาคนไขโรคจิตเภทบางประเภท ในขนาดสูงจะทําใหอาเจียน, ทองเสีย, ควบคุมการเคลื่อนไหว ไมได ถึงกับมีอาการชักในบางครัง้ ใชภายนอกเปนยาสระผมแกเหา, ผลใชเบื่อปลา (8, 11, 13)

4. หมาก ชื่อพฤกษศาสตร Areca catechu L. วงศ ARECACEAE Common name: Areca-nut Palm, Betel-nut Palm หมาก เปนพืชยืนตนในวงศปาลม มีลําตนเดียว ตั้งตรง สูงไดถึง 25 ม. บนลําตนมีรอย แผลเปนที่เกิดจากกาบที่หลุดรวงไปแลว ใบ เปนใบประกอบแบบขนนก ยาว 2-4 ม. เรียง ตัวรอบ ๆ ปลายยอด ประกอบดวยใบยอย จํานวนมาก ใบยอยรูปหอกแกมรูปดาบ ยาว 30-60 ซม. กวาง 2.5-6 ซม. มีเสน แกนกลางใบ ผิวเกลี้ยงเปนมันทั้งสอง ดาน ดอกออกเปนดอกชอขนาดใหญ มีกาบหอหุมชอดอก แตกจากโคนซอกใบและมีชอแขนงจํานวนมาก ดอกแยก เพศอยูบนตนเดียวกัน กลีบเลี้ยงมีขนาดเล็ก รูปไข ยาว 0.8 ซม. กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง รูปหอกเชื่อมติดกันเกือบ เปนทรงกลม เกสรเพศผูมีจาํ นวน 3 หรือ 6 อัน อยูที่ปลายชอ ดอกเพศเมียมีขนาดใหญกวา แตมีจํานวนนอยกวาอยูที่ ชอแขนงสวนโคนชอดอก รังไขมี 1 ชอง ยอดเกสรเพศเมียมี 3 อัน ผลเปนผลสด ผิวเกลี้ยง เปนมัน รูปทรงกลม หรือ รูปไข ขนาดเสนผานศูนยกลาง 3.5-5 ซม. มีเมล็ด 1 เมล็ดภายใน มีสีสมหรือแดงแกมสม ที่เรียกวา สีหมากสุก เมื่อ แกจดั หมาก มีเขตการกระจายพันธุในเขตรอนของทวีปเอเชีย มีการปลูกทั่วไปในทั่วทุกภาคของประเทศ หมากเปนพืช ที่ตองการความชุมชื้นสูง ในตางประเทศปลูกกันมากในประเทศแถบเอเชียใต เชน อินเดีย, ปากีสถาน, บังคลาเทศ, มาเลเซีย, ประเทศแถบอินโดจีน, จีน และไตหวัน (5, 11, 14) สารสําคัญ ในเมล็ดพบ alkaloids (ประมาณ 0.3-0.7%) หลายชนิด ไดแก Arecoline, Guvacoline, Arecolidine, Guvacine เปนตน (5, 9) นอกจากนี้ยังพบ tannic, gallic acid และยาง (13) สรรพคุณ ผลหรือเมล็ดหมากสดและแหง ใชเปนสารกระตุนกันมาแตโบราณ ไดมีการใชกันอยางแพรหลายใน ประเทศแถบเอเชียใต (อินเดีย, ปากีสถาน, บังคลาเทศ) และตามหมูเกาะในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟก ถือวาการ กินหมากเปนวัฒนธรรมอยางหนึ่งของชาวเอเชียบางประเทศ alkaloids หลายชนิดที่พบในเมล็ดหมากนี้ ใชเปน สารกระตุนระบบประสาทสวนกลาง ถือเปนสารเสพติดอยางออน มีผลตอรางกายคลายกับ Nicotine ในบุหรี่ (ดู ยาสูบ) ในทางยาเราใชเปนสารชวยเพิ่มการเคลื่อนไหวของลําไสเล็ก, ชวยยอย, ขับปสสาวะ, ขับพยาธิ์ตัวตืด (ทําให มันเกาะผนังลําไสไมได) ลดอัตราการเตนของหัวใจ ลดความดันโลหิต เปนยาฝาดสมาน กระตุนการหลั่งน้ําลาย และ กรดจากกระเพาะที่ถือวาเปนยาบํารุงธาตุ ในทางยาใชขนาด 50-100 g. ตมกินน้ําเปนยาขับพยาธิ์ตัวตืดในแตละ ครั้ง (5, 7, 9, 11, 13, 14) ถาใชในขนาดสูงมาก ๆ จะใชเปนยาขับระดู และอาจทําใหแทงบุตรได (13)

5. บุกตีนฮุง ชื่อพฤกษศาสตร Arisaema consanguineum Schott. วงศ ARACEAE Common name: Tian nan xing บุกตีนฮุง เปนไมลมลุกเนื้อออน ลําตนอวบน้ํา วงศบุก-บอน มีหัวใตดิน ทรงกลม เสนผานศูนยกลาง 2.5-12 ซม. ใบออกเปนใบเดี่ยว มีกานใบแตกออกจากหัวใตดิน สีเขียวเขม สูง 30-120 ซม. ใบแผกวาง คลายรม จักเวา เกือบถึงจุดกึ่งกลางใบ ใบรูปใบหอกยาว มีจํานวนใบยอย 10-20 ใบ สวนปลายใบมีระยางคคลายเสนดาย ยาว 2.57 ซม. แตละใบยอยยาว 7-35 ซม. กวาง 0.6-5 ซม. ดอกออกเปนดอกชอ เปนแทงทรงกระบอก มีกาบหอหุมชอ ดอก ยาว 7.5-15 ซม. ขอบกาบหยักเปนคลื่นหุมชอดอกเอาไวภายใน ชอดอกเปนแทงยาวเทา ๆ กับกาบหอหุม ชอ ดอกประกอบดวยดอกเพศผูอยูตอนบนของชอ สวนดอกเพศเมียอยูชวงลาง อัดกันแนน รังไขมี 1 ชอง มีออวุล 2 หรือ มากกวา ผลเปนชนิดผลสด มีหลายเมล็ดบุกตีนฮุง มีเขตการกระจายพันธุในประเทศบนดอยอินทนนท จังหวัด เชียงใหม ในตางประเทศพบที่ประเทศอินเดีย, สิกขิม, จีน, เกาหลี และญี่ปุน (14) สารสําคัญ ในหัวใตดินพบ Saponins หลายชนิด และ β-Sitosterol (9) สรรพคุณ หัวใตดินมีพิษ เมื่อจะนํามาใชในทางยา ควรจะทําใหแหงโดยการหั่นตากแหง หรือยางไฟใหเกรียมกอนเพื่อ ทําลายพิษ หรืออาจใชผสมกับน้ําดีวัวก็ได (โดยเฉพาะพิษตอประสาทลิ้นรับรส หรืออาจทําใหเกิดอาการบวมน้ําตาม รางกาย) ในทางยาเราใชน้ําตมจากหัวใตดิน (ขนาด3-10g./ครั้ง) กินแกโรคลมชักบางประเภท, เปนยาสงบประสาท แกไอ, ขับเสมหะ, ชวยการทํางานของปอด, ตับ, และมาม แกปวดเกร็งในชองทอง และแกปวดตาง ๆ (9, 14)

6. ฝาง ชื่อพฤกษศาสตร Caesalpinia sappan L. วงศ LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE Common name: Sappan wood ฝาง เปนไมยืนตนเนื้อแข็ง สูงไดถึง 10 เมตร เมื่อโตเต็มทีจะพาดพันไปยังตนไมอื่น ๆ บน ลําตนและกิ่งกานมีหนามแข็ง และแหลมคม เปนปุมปม ใบเปนใบประกอบแบบขนนก กานใบยาว 15-45 ซม. ออกเรียงสลับซายขวาของกิ่ง ใบยอยมีจํานวนมาก จํานวน 816 คู รูปขอบขนาน ขนาดยาว 1-2 ซม. กวาง 0.6-1 ซม. ปลายกลมมน โคนใบสอบเบี้ยว ออกเปนดอกชอที่ปลายกิ่ง และตามงามใบใกลปลายกิ่ง ดอกสี เหลือง กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ เรียงซอนเหลื่อมกัน กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปไขกลับหรือรูปชอน พื้นผิวและขอบกลีบดอก ยน เกสรเพศผูมจี ํานวน 10 อัน แยกอิสระ รังไขมี 1 ชอง ผลเปนฝกแบน แข็ง สีเขียวแก ขนาดยาว 7-10 ซม. กวาง 1.5-2.5 ซม. เมื่อแหงแลวแตก มีเมล็ดกลมแบน จํานวน 2-4 เมล็ดฝาง มีเขตการกระจายพันธุในประเทศตามเขา หินปูนแลง และตามชายปาดิบแลงทั่วไป ในตางประเทศพบเขตกระจายพันธุจากประเทศ อินเดีย, พมา, ประเทศแถบ อินโดจีนถึงคาบสมุทรมาเลย (2, 11) สารสําคัญ แกนจากตน เรียกวา Sappan wood ใหสารมีสี พบ Brasilin (เมื่อถูก oxidize จะได Brasilein และ Proesapanin A), Tannic acid, Gallic acid และ Saponin เมื่อทําการกลั่น เนื้อไมจะไดน้ํามันที่ประกอบดวย d-a-Phellandrene และ Oscimene ในฝกและเปลือกพบ tannin มาก (5, 9) สรรพคุณ เนื้อไมใหสียอม, น้ําตมจากเนื้อไมมีรสขมฝาด ใชเปนยาขับระดู, แกบิด, แกทองเสีย, แกรอนใน เปนยา เย็น, แกธาตุพิการ ชวยการไหลเวียนของโลหิต, ลดอาการบวมตามรางกาย, แกปวดขอ ฯลฯ (2, 5, 9) น้ําตมจาก ราก เนื้อไม และเมล็ด กินเปนยาสงบประสาท (9, 13)

7. ชา ชื่อพฤกษศาสตร Camellia sinensis (L.) O. Ktze var. assamica (Mast.) Kitamura วงศ THEACEAE Common name: Tea, Green tea, Black tea, Tea มาจากคําวา té ซึ่งเปนภาษาจีนดั้งเดิม ชา เปนไมพุม หรือไมตนขนาดเล็กถึงขนาด กลาง สูงไดถึง 15 ม. ใบเปนใบเดี่ยว เรียง สลับ ผิวใบเกลี้ยงเปนมัน รูปรี ตรงกลางใบ กวาง ขนาดยาว 8-22 ซม. กวาง 3.5-7.5 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบรูปลิ่ม กวางหรือ กลม ขอบใบจักเปนซี่เลื่อย มีใบประดับยอย 2-3 ใบ ผิวเกลี้ยง รูปไข ยาวประมาณ 2 มม. จะหลุดรวงงาย ดอกเปน ดอกเดี่ยว หรือเปนกลุม 2-3 ดอก ออกตามซอกระหวางกิ่งและโคนใบ หรือสวนปลายยอด กานชอดอกยาว 1-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงมีจํานวน 5-6 กลีบ รูปไขถึงกลม ยาว 3-5 มม. กลีบดอกสีขาวนวล หรือขาวแกมเหลือง จํานวน 5-6 กลีบ เชื่อมติดกันที่ฐานเหนือกลีบเลี้ยง กลีบดอกรูปไขกวางถึงกลม ยาว 1-2 ซม. เกสรเพศผูมีจํานวนมาก มี 2 วง ๆ นอกมีขนาดสั้น เชื่อมติดกัน ฐานกลีบดอกวงในอิสระ รังไขมีขนปกคลุมหนาแนน ยาว 3-4 มม. มี 3-5 ชอง แตละ ชองมี 4-6 ออวุล เกสรเพศเมียมีจํานวน 1 อัน ผลเปนชนิดแหงแลวแตก ทรงเกือบกลม เสนผานศูนยกลาง 1.11.5 ซม. แหงแลวแตกตามรองตามความยาวของผลเปน 2-3 สวน มี 1-2 เมล็ดในแตละชอง ชา มีเขตการกระจายพันธุในประเทศทางภาคเหนือ ปลูกกันมากบนพื้นที่ราบและที่ลาดชันบนภูเขา ในตางประเทศพบ มากและปลูกกันที่ประเทศอินเดีย อัสสัม, ศรีลังกา, ประเทศแถบอินโดจีน และจีนภาคตะวันตกเฉียงใต (มณฑลยูน นาน) ขึ้นไดดีในปาดิบชื้น ที่ระดับความสูง 800-2,000 เมตร จากระดับน้ําทะเล (5, 9, 22) สารสําคัญ ในใบชาแหงพบ alkaloid 1-5% ไดแก Caffeine, Theophylline, Theobromine, Xanthine, Hypoxanthine พบ Tannic acid 9.5-21%, Carotene, Riboflavin, Glycosides, Pantothenic acid, Ascorbic acid และสารสําคัญประเภท Flavonoids ไดแก Catechins และ Favonols, Flavonoids เหลานี้พบวา มีคุณสมบัติตานอนุมูลอิสระ (Antioxidants) (9, 12, 22) โดยเฉพาะ Epigallocatechin gallate จะมีฤทธิ์ยับยั้ง enzyme Urokinase ที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของเซลลมะเร็งหลายชนิด โดยเฉพาะมะเร็งปอด (22) และพบธาตุตาง ๆ ตามตาราง Average Elements in the Tea Leaf (12) สรรพคุณ น้ําชาเปนเครื่องดื่มที่นิยมกันมานานกวา 4,000 ป เริ่มจากอาณาจักรจีนโบราณ และไดแพรหลายไปทั่ว โลกในปจจุบัน ซึ่งถือกันวาชาเปนเครื่องดื่มสากลชนิดหนึ่ง ดวยกลิ่นรส, สารสําคัญและสรรพคุณตาง ๆ ที่มีอยูในน้ํา ชาอยางครบถวน เชื่อกันวาเมื่อดื่มน้ําชาจะชวยใหประสาทตื่นตัวอยูตลอด บํารุงสุขภาพประจําวัน และชวยใหมีอายุยนื ยาว ซึ่งขึ้นอยูกับชา นับไดมากกวา 100 ชนิดที่แตกตางกัน

ในทางยา Caffeine และ Theophylline ที่เปน alkaloids หลักที่พบในใบชามีฤทธิ์กระตุนระบบ ประสาทสวนกลาง โดยที่ Caffeine จะมีฤทธิ์ที่แรงกวา จึงใชเปนยาถอนพิษยาบางชนิด เชน ใชถอนพิษ Morphine (พวกสูบฝนสมัยกอนจําเปนตองดื่มน้ําชาตลอดเพื่อลางพิษ) ชวยเพิ่มการบีบตัวของกลามเนื้อหัวใจ เพิ่มอัตราการเตนของหัวใจ, ขับปสสาวะจากฤทธิ์ของ Theophylline, ลดไขมันในเสนเลือดที่เปนตัวการสําคัญ ที่กอใหเกิดโรคเสนเลือดที่ไปหลอเลี้ยงกลามเนื้อหัวใจตีบ, แกหดื หอบ, กระตุนสมองเนื่องจากไดรับยานอนหลับและ ยาสงบประสาท และนอกจากนี้ยงั ชวยลดความเสี่ยงตอการกําเนิดของเซลลมะเร็งหลายชนิด เชน ที่ผิวหนัง, ปอด, หลอดอาหาร, ลําไสเล็ก, ตับ, ทรวงอก และลําไสใหญ (5, 9, 11, 12, 22) ปจจุบันอินเดีย และจีนเปนผูผลิตชารายใหญของโลก ที่ผลิตได 672 ลานปอนด/ป และ 600 ลานปอนด/ป ตามลําดับ ตาราง Average Elements in the Tea Leaf Element

Aluminum, Al Arsenic, As Boron, B Calcium, Ca Copper, Cu Ferrum (iron), Fe Fluorine, F Hydrargyrum (mercury), Hg Iodine, I Manganese, Mn Molybdenum, Mo Natrium (sodium), Na Nickel, Ni Phosphorus, P Lead, Pb Potassium, K Selenium, Se Silicon, Si Sulfur, S Zinc, Zn

Content (mg/kg dried weight) 50 0.75 45 8,000 11 250 450 200 0.4 5,500 0.4 150 2.5 3500 0.4 25,000 0.7 400 2,500 50

Source: Data abstracted from Chen, C.S., Tea Bull., 4, 1-10, 1990.

8. กระดังงาไทย ชื่อพฤกษศาสตร Cananga odorata (Lamk.) Hook.f. et Th. วงศ ANNONACEAE Common name: Ylang-ylang tree กระดังงาไทย เปนไมยืน ตน สูงไดถึง 20 ม. เปลือกตนสีเทาอมขาว จะ แตกกิ่งกานตั้งฉากกับลํา ตน ปลายกิ่งและใบออนมี ขนปกคลุม เมื่อแกจะมีผิว เกลี้ยง ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข ยาว 9-22 ซม. กวาง 4-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนกลม หรือเวาเล็กนอย ขอบใบเรียบถึงเปนคลื่น มีเสนแขนงใบ 5-10 เสน ปลายแตละเสนโคงเชื่อมติดกันกอนถึงขอบใบ ใบออนมีขนทั้งสองดาน ใบแกจะมีขนตามเสนกลางใบและเสนแขนงใบ กานใบยาว 1-2 ซม. ดอกเปนดอกชอ ออกเปนชอสั้น ๆ แตกจากรอยแผลใบ ในแตละชอมี 3-7 ดอก กานชอดอกยาว 0.5-1.2 ซม. กานดอกยาว 2-5 ซม. มีขนปกคลุม โคนกานดอกมีใบประดับรูปไข ปลายแหลม 2 ใบ ขนาดยาว 1-2 ซม. หลุดรวงงาย กลีบเลี้ยงมี 3 กลีบ รูปสามเหลีย่ ม สูง 5-7 มม. มีขนปกคลุม กลีบดอกมีสองชัน้ เรียงสลับกัน ชั้นละ 3 กลีบ ๆ รูปขอบขนาน ปลาย แหลมยาว ๆ 5-10 ซม. กวาง 0.6-1.5 ซม. ขอบคอนขางเรียบ กลีบดอกชั้นในแคบกวาชั้นนอกเล็กนอย ดอกออน มีกลีบดอกสีเขียวออน เมื่อแกขึ้นจะมีสีเหลืองถึงเหลืองทอง มีกลิน่ หอม เกสรเพศผูมีจํานวนมาก เกสรเพศเมียมีหลาย อัน ผลจัดเปนผลกลุม จํานวน 5-15 ผล อยูบนแกนเดียวกัน ผลรูปไขยาว 1.5-2.5 ซม. กวาง 1-1.5 ซม. กานผล ยาว 1-2 ซม. ผลออน สีเขียว เมื่อแกจดั มีสีเขียวแก ภายในมี 3-12 เมล็ด เมล็ดมีสีน้ําตาลออน รูปไขคอนขางแบน กระดังงาไทย นิยมปลูกเปนไมประดับทั่วทุกภาคของประเทศ ในตางประเทศพบในเขตรอนของทวีปเอเชีย ใน ประเทศอินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ประเทศแถบอินโดจีน และฟลลิปปนส (3) สารสําคัญ น้ํามันหอมที่สกัดไดจากดอกเรียกวา Cananga oil หรือ Ylang-ylang oil ประกอบดวย Caryophyllene, Benzyl acetate, Benzyl alcohol, Farnesol, Terpineol, Borneol, Geranyl acetate, Safrol, Linalol, Limonene, Methyl salicylate เปน ตน (10, 11) สรรพคุณ น้ํามันหอมที่สกัดไดจากดอก ใชในทางยา เปน Aromatherapy สําหรับเปนยาฆาเชื้อโรค, แกอาการ ซึมเศรา, แกอาการกระวนกระวาย, ชวยสงบประสาท, บํารุงประสาท, ขับปสสาวะ, ลดความดันโลหิต, ขับลม แก หืดหอบ และยังใชในการผลิตเครื่องสําอาง, ทําเครื่องหอมตาง ๆ (10, 11)

9. กัญชา ชื่อพฤกษศาสตร Cannabis sativa L. วงศ CANNABACEAE Common name: Grass, Joint, Marihuana, Hemp, Hashish, Weed, Pot, Ganja กัญชา เปนไมพุมลมลุกอายุปเดียว สูง 1-5 ม. ทุก สวนมีขนปกคลุม ลําตนเปนเหลีย่ ม ใบเปนใบเดี่ยว ออกตรงกันขามที่โคนตน และเรียงสลับรอบ ๆ ยอด ใบรูปฝามือ มีขนปกคลุม มีหูใบรูปเข็ม กานใบยาว 1.5-7 ซม. ประกอบดวยใบยอย 5-7 ใบ ใบยอย รูปหอก ยาว 4-14 ซม. กวาง 0.3-1.8 ซม. ขอบ ใบจักแบบซี่เลือ่ ย ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบ เรียว มีเสนใบแขนง 8-20 คู สังเกตเห็นเสนใบ รางแหชัดเจน ดอกตางเพศตางตน หรือตางเพศรวม ตน ดอกเพศผูแตกจากกิ่งโคนใบ หรือสวนปลายกิ่ง มีกลีบรวม 5 กลีบ ยาวประมาณ 5 มม. มีขนออน นุมปกคลุม เกสรเพศผูจ ํานวน 5 อัน มีกานชูอับเรณู ยาว ดอกเพศเมียออกเปนชอเดี่ยวที่แตกจากลําตน หรือสวนปลายยอด มีกาบดอกหอหุม รังไขมี 1 ชอง มี 1 ออวุล เมล็ดกลมถึงรูปไข ผิวเกลี้ยงเปนมัน สี น้ําตาล มีลายประ ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 4 มม. มีเนื้อภายใน เมล็ดมากที่ประกอบดวยแปง และไขมันเปนสวนใหญ พืชในวงศกัญชา เปนพืชที่ใหสารสําคัญ ทําใหมนุษยชาติเคลิบเคลิ้มมีความสุข (ความเศราเจือปนในบางครั้ง) เชน กัญชา และ Hops (Humulus lupulus L.) โดยเฉพาะ Hops จะมีสารบางชนิดชวยหยุดยั้งการ เจริญเติบโตของแบคทีเรีย และมี alkaloids ที่มีโครงสรางคลาย Codeine และ Morphine ที่อาจทําให เสพติดได จึงใชดอกเพศเมียของ Hops ในการผลิตเบียร (11, 21) กัญชาจัดเปนพืชเสพติด ผิดกฏหมายทั้งการปลูกและการเสพในประเทศของเรา มีเขตการกระจายพันธุมาจากทวีปอัฟ ริกาเหนือ, เอเชียกลางแถบประเทศอัฟกานิสถาน, เอเชียใตแถบประเทศอินเดีย, จีนตอนใต ประเทศแถบอินโดจีน และนําไปปลูกกันในประเทศเขตรอนทั่วโลก (5, 11)

สารสําคัญ ในชอดอกเพศเมีย (Pistillate flower) ของกัญชาที่เรียกกันวา กะหรี่กัญชา จะมีสารประกอบทาง เคมีมากกวา 400 ชนิด โดยสารออกฤทธิ์ตัวสําคัญคือ Tetrahydrocannabinol (THC) (ปจจุบัน สามารถสังเคราะหสารตัวนี้ไดแลว) สวนยางจากผลและสวนอื่น ๆของตน พบไขมัน, วิตามิน B1, B2, alkaloid Muscarine, Choline, Trigonelline, l(d)-isoleucine, Betaine, THC, Cannabinol, Pseudo-cannabinol, Cannabinin, Cannabidichromine, Cannabidiol, Cannabidiolic acid เปนตน (2, 5, 6, 9, 23) สรรพคุณ เมล็ดใหน้ํามันชักเงา, ทําสบู, ผลิตเครื่องสําอาง เปนตน ในทางยาในขนาดที่ใช 9-15 g. กินเปนยา โดย จะมีผลตอมาม, กระเพาะและลําไสใหญ กินเปนยาระบายอยางออนไมเสพติด, แกทองผูก, ชวยเพิ่มการเคลื่อนไหว ของลําไส, ฆาเชื้อ, ตานสารพิษบางชนิด, แกไอ แตถากินมากจะทําใหอาเจียนได น้ําตมจากกิ่งกานและใบ กินเปนยา ขับปสสาวะ น้ํายางจากใบและชอดอกเปนยาเสพติดคลายฝน ใชในทางยาเปนยาแกไข, แกไอ, แกหดื หอบ, ปองกัน การชักจากพิษบาดทะยัก, แกปวด ฯลฯ ชอดอกเพศเมีย มีพิษ จัดเปนสารเสพติดหรือพืชเสพติด เมือ่ สูบมีฤทธิ์กระตุน ระบบประสาทสวนกลาง ใชรักษาโรคทางประสาทบางประเภท ทําใหเกิดอาการประสาทหลอน ชวยใหนอนหลับ, คลายความวิตกกังวล, ทําใหเกิดอาการมึนเมาเคลิบเคลิ้มและเปนสุข (2, 5, 6, 9, 11, 14, 23)

10. แพงพวยฝรั่ง ชื่อพฤกษศาสตร Catharanthus roseus (L.) G. Don วงศ APOCYNACEAE Common name: Madagascar Periwinkle, West Indian Periwinkle แพงพวยฝรั่ง เปนไมลมลุกขนาดเล็ก สูงไดถึง 80 ซม. ลําตนและ กิ่งกาน มีขนละเอียดปกคลุม ใบเปนใบเดี่ยว ออกเรียงตรงกันขาม กานใบยาว 2-8 มม. ใบเกลี้ยง รูปไขถึงไขกลับ ยาว 1.5-6 ซม. กวาง 0.6-2.6 ซม. ปลายใบมนหรือกลม มีติ่งที่ปลายใบ โคนใบ กลม หรือรูปลิ่ม มีเสนใบแขนงจํานวน 7-10 คู เปนสันนูน ชัดเจน มีขนปกคลุม ดอกเปนดอกชอ จํานวน 1-2 ดอก ออกที่ ปลายกิ่ง มีขนปกคลุม กลีบเลี้ยงจํานวน 5 กลีบ เชื่อมติดกันที่โคน กลีบ สวนปลายแยกเปนแฉกปลายแหลมขนาดเล็ก 5 แฉก ขนาดยาว 1.5-5 มม. กวาง 0.5-0.7 มม. มีขนปกคลุม กลีบดอกมีสีขาว, ชมพู-มวง, ชมพู หรือชมพูขาว รูปหลอดยาว ปากเปด ยาว 2.3-2.9 ซม. ผิวนอกมีขนสั้นปกคลุม กลีบดอกสวนปากเปด แยกเปน 5 กลีบ รูปไขกลับ ขนาดยาว 1.3-2 ซม. เกสรเพศผูต ั้งอยูที่กลีบดอกสวนปลาย หลอด กานชูอับเรณูยาว 0.4 มม. รังไขรูปไข ยาว 1.9-3 มม. มีขนปกคลุมกานชูเกสรเพศเมียและเกสรเพศเมีย รวมกันยาว 1.9-2.1 ซม. ผลเปนชนิดผลคู แหงแลวแตกแนวเดียวตามยาว ปลายแหลม มีขนบางปกคลุม ยาว 1.52.5 ซม. กวาง 1.5-3 มม. มีเมล็ดหลายเมล็ดภายใน แพงพวยฝรั่ง นิยมปลูกเปนไมประดับทั่วไป หรือขึ้นตามชายหาด หรือที่รกรางวางเปลา เปนพรรณไมดั้งเดิมของเกาะ มาดากัสการ และไดแพรกระจายไปในเขตรอนทั่วโลก (16) สารสําคัญ ทุกสวนของตน (โดยเฉพาะใบ) พบ alkaloids มากกวา 80 ชนิด ที่สําคัญไดแก Ibogaine-like alkaloids, Vinblastine, Vincristine, Vinrosidine, Lenrosine, Lenrosivine, Rovidine, Carosine, Perivine, Perividine, Vindolinine และ Pericalline เปนตน (9, 11) สรรพคุณ ใบสดจํานวน 2,000 กก. สกัดให alkaloids จํานวน 1 g. (11) สารสกัดโดยเฉพาะ Vincristine และ Vinblastine จะถูกนํามาใชรกั ษาโรคมะเร็งบางชนิดอยางไดผล ในการแพทยแผนปจจุบัน โดยจะมีผลตอการแบงเซลลมะเร็งโดยเฉพาะมะเร็งในเม็ดเลือด, ลดความดันโลหิตสูง, ลดระดับน้ําตาลในโลหิต แต ตองระมัดระวังในการใช เพราะมีผลขางเคียงคอนขางอันตราย และควรอยูในการดูแลของแพทยอยางใกลชิด สวน Ibogaine-like alkaloids ดังกลาว โดยเฉพาะที่ไดมาจากใบและรากจะใหสารที่มฤี ทธิ์เสพติดเมื่อสูบ ทําให เกิดอาการประสาทหลอนไดในปจจุบันไดมีสารกึ่งสังเคราะหจาก alkaloids เหลานี้ ไดแก Vindensine และ Vinorelbine ไดถกู นํามาใชในทางการแพทยแลว (7, 9, 11)

11. การบูร, อบเชยญวน ชื่อพฤกษศาสตร Cinnamomum camphora (L.) J. Presl วงศ LAURACEAE Common name: Camphor, Formosan camphor, Ho wood “การบูร” มาจากภาษาสันสกฤตวา “Karapur” หรือ “กรปูร” แปลวา “หินปูน” เพราะโบราณเขาใจวา ของสิ่ง นี้เปนพวกหินปูนที่มีกลิ่นหอม ตอมาชื่อนี้เพี้ยนเปน “กรบูร” และเปน “การบูร” ในปจจุบัน ตนการบูรเปนไม พื้นเมืองของประเทศจีน ญี่ปุน และไตหวัน แตในปจจุบันไดมีการนําไปปลูกกันในหลายประเทศ การบูรเกือบทั้งหมด ที่ใชอยูไดจากวิธีการกึ่งสังเคราะหมาจากสารตั้งตน คือ a - pinene ที่ไดมาจากน้ํามันสน (2) การบูร เปนไมตนขนาดใหญ สูงไดถึง 30 ม. ทุกสวนใหกลิ่นการบูร มีทรงพุมทึบและกวางมีกิ่งกานสาขามาก เปลือก ตนสีน้ําตาล กิ่งออนมีสีเขียว เปลือกเรียบ ใบเปนใบเดี่ยว กานใบยาว 2-4 ซม. เรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข ยาว 5-15 ซม. กวาง 2-5 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลมมน แผนใบหนา ขอบใบเรียบ ดานบนสีเขมเปนมันวาว ดานลางออก เขียวเทาหรือเขียวนวล ผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน เมื่อขยี้ใบดมจะมีกลิน่ คลายการบูร มีเสนใบ 3 ใบที่แยกออกมาจากโคน ใบ สูงประมาณ 3-8 มม. มีตอมระหวางเสนกลางใบและเสนใบยอย ดอกเปนดอกชอแตกจากงามใบ ชอยาว 5-7 ซม. สีขาว หรือขาวอมเหลือง กานดอกยอยมีขนาดสั้น ดอกเล็กโดยมีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกรวมกัน 6 กลีบ เรียงเปน 2 วง ๆ ละ 3 กลีบ ยาวรี ผิวนอกเกลี้ยง ดานในมีขนละเอียดปกคลุม เกสรเพศผูม ีจํานวน 9 อัน เรียงเปน 3 วง ๆ ละ 3 อัน กานเกสรคอนขางใหญ มีตอ มสองตอมใกลกบั โคนกาน อับเรณูมีชองเปด 4 ชอง โดยเรียงเปน 2 แถว ๆ ละ 2 ชอง มีลิ้นเปดทั้ง 4 ชอง เกสรเพศผูเปนหมัน มี 3 อัน รังไขมีรูปทรงรูปไข ผิวเกลี้ยง กานเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ผิวเกลี้ยง ปลายเกสรเพศเมียทรงกลม ผลรูปไขหรือเกือบทรงกลม ยาว 6-10 มม. มีเมล็ดเดียว เมื่อสุกมีสีดํา-มวง และมีแปนรองรับผล การบูร มีเขตการกระจายพันธุในประเทศทางภาคเหนือ ในตางประเทศพบที่เขตรอนและเขตอบอุน ของจีน, จีน ไตหวัน, ญี่ปุน และมีการนําไปปลูกกันมากในอินเดีย, ศรีลังกา, อียิปต และสหรัฐอเมริกา (1,3) สารสําคัญ เมื่อทําการกลั่นเนื้อไม (อายุอยางนอย 40 ป) ดวยไอน้ํา จะไดการบูรและน้ํามันหอมระเหยตาง ๆ รวมกัน อยูที่ประกอบดวย Camphor เปนตัวหลัก, Limonene (Dipentene), Menthol, Thymol, pcymol, Pinene, Orthodene และ Salvene และเมื่อกลั่นน้ํามันหอมระเหยที่อุณหภูมิสูงขึ้นไปอีกจะได Sesquiterpene ประมาณ 5% และ Sesquiterpene alcohol 10%, Carryophyllene, Linalool, Cineol, Eugenol, Acetaldehyde และ Betelphenol (1, 3, 10) สรรพคุณ Camphor หรือการบูรที่ไดจากธรรมชาติ ใชในทางยา เขาเครื่องยาตาง ๆ เปนยาสงบประสาท, แกปวด แกอาการชักบางประเภท, แกไอ, ขับเหงื่อ, ขับปสสาวะ, ขับลม, ขับพยาธิ์,ใชภายนอกเปนยาแกคัน และทาถูนวด แกปวด ลดการอักเสบ (1, 5, 10, 23)

12. กาแฟ ชื่อพฤกษศาสตร Coffea arabica L. วงศ RUBIACEAE Common name: Arabian coffee, Arabica coffee, Common coffee Avicenna (ค.ศ. 980-1037) นักปราชญและแพทยชาวอาหรับ เปนคนแรกที่รายงานถึงการใชกาแฟเปน เครื่องดื่มเปนคนแรก จนกระทั่งศตวรรษที่ 18 C. Linnaeus จึงไดตั้งชื่อวา Coffea arabica กาแฟ เปน เครื่องดื่มประจําวันที่ใชกันอยางแพรหลาย โดยเริ่มมาจากทวีปยุโรป ในราว ค.ศ. 1601 เปนตนมา (7) กาแฟ เปนไมพุม หรือไม ตนขนาดเล็ก สูง 3-5 ม. ใบออกเปนใบเดี่ยว เรียงตรงกันขาม ใบรูปไข ถึงขอบขนานแกมรี ขนาด ยาว 8-15 ซม. กวาง 36 ซม. มีหูใบที่โคนกานใบ ใบเปนมัน ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ หรือเปนคลื่นเล็กนอย ดอก ออกเปนชอกระจุก แตกตามงามใบ มี 2-10 ดอก สีขาว หรือขาวครีม มีกลิ่นหอมเล็กนอย กานดอกสั้นมาก ที่โคน ดอกมีใบประดับรูปไขขนาดเล็กติดอยู กลีบดอกเชื่อมติดกันที่โคนดอก ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายกลีบดอกแยกเปน 5 แฉก ผลรูปกลมรีถึงรูปไข ขนาดยาว 1-1.5 ซม. ผลออนสีเขียว ผลสุกมีสีแดง, แดงอมดํา หรือเหลือง ซึ่งขึ้นอยู กับสายพันธุ เปลือกผลหนา มี 1-2 เมล็ด กาแฟ (ชนิดอราบิกา) นิยมนํามาปลูกกันในประเทศไทยโดยเฉพาะทางภาคใต มีถิ่นกําเนิดอยูในปาทางตะวันตกเฉียง ใตของประเทศเอธิโอเปย ทวีปอัฟริกา ปจจุบันประเทศบราซิลในทวีปอเมริกาใตกไ็ ดกลายเปนแหลงปลูกกาแฟและ สงออกถึง 2 ใน 3 ของปริมาณกาแฟทั่วโลก (3, 7) สารสําคัญ ใบกาแฟ พบ Caffeine 1-1.25% เปลือกผลชั้นนอก พบ Caffeine, Mallic acid, Mannite และน้ําตาล เมล็ดกาแฟ พบ Caffeine 0.72-2.43%, Gallic acid, Citric acid, Protein, Dextrin, Glucose, Coffeo-tannic acid, และน้ํามันหอมระเหยตาง ๆ (13) สรรพคุณ Caffeine ที่มีอยูในเมล็ดกาแฟ เปนสารเคมีหลักทีม่ ีอยูในเครื่องดื่ม ใชเปนสารกระตุนระบบประสาท สวนกลาง กระตุน การทํางานของระบประสาท แกงวงนอน, อาจทําใหนอนไมหลับในบางคน, กระตุนระบบหายใจ, ชวยการทํางานของกระเพาะอาหารและไต, ขับปสสาวะ, ชวยยอย, อาจชวยลางฤทธิ์ของฝนและอัลกอฮอลได (7, 13)

13. หิ่งเมน ชื่อพฤกษศาสตร Crotalaria pallida Aiton วงศ LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE Common name: Smooth crotalaria, Smooth rattlepod หิ่งเมน เปนไมลมลุกขนาดเล็ก อายุ หลายป ลําตนตั้งตรง แตกกิ่งกาน มาก สูงไดถึง 1.8 ม. กิ่งออนมีขน นุมปกคลุม ลําตนและกิ่งกานมีสี เขียวออน และจะเปลี่ยนเปนสีมวง แกได ใบเปนใบประกอบ มีใบยอย 3 ใบ กานชอใบยาว 3-5 ซม. ใบรู ปรียาว 4-8 ซม. กวาง 2-4.5 ซม. ดานบนมีสีเขมกวาดานทองใบ ใบยอยดานขางมีขนาดเล็กกวาใบกลางเล็กนอย ดอกเปนดอกชอ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกเหมือนดอกถั่วทั่วไป กลีบเลีย้ งมีสีเขียวออน กลีบดอกมีสีเหลือง มี 5 กลีบ มีแถบเสนสีมวงแดงตามความยาวของ กลีบดอก กลีบบนรูปไขปลายกลมมน กลีบขางคลายปกรูปขอบขนาน กลีบลางเชือ่ มติดกันเปนทองเรือ ปลายโคงขึ้น เกสรเพศผูมี 10 อัน มัดเปนกระจุกรวมกัน ผลเปนฝกกลวงทรงกระบอก มี 2 ฝาเชื่อมติดกันตามความยาว งอเล็กนอย ยาว 4-10 ซม. กวาง 0.5 ซม. มีขนสั้นปกคลุม แหงแลวแตกเปนสองสวน มีเมล็ดรูปไตคอนขางแบนจํานวนมาก ขนาดยาว 2-4 มม. หิ่งเมน มีเขตการกระจายพันธุในประเทศตามเชิงเขาในภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต ในตางประเทศพบที่ ประเทศแถบอินโดจีน และจีน สารสําคัญ ในใบและเมล็ด พบ alkaloids ที่เปนพิษตอสัตวเลี้ยง (5), ทั้งตนพบ alkaloids Mucronatine, Mucronatinine, Retroresine, Usaramine, Nidgirine, Vitexin, และ glycosides Vitexin-4-0-xylose, Apigenin (9) สรรพคุณ ในอินเดียใชเมล็ดที่ลา งน้ําและทําใหสุกแลว ชงแทนเมล็ดกาแฟ (5) น้ําตมจากทั้งตน (ในขนาด 9-18 g.) กินเปนยาแกอารมณหงุดหงิด, คลายเครียด, ชวยสงบประสาท, ชวยใหนอนหลับ, แกเด็กปสสาวะบอย ๆ, ชวย การทํางานของมาม แกบวมน้ํา และแกทองเสียเรือ้ รัง (9)

14. หญาแหวหมู ชื่อพฤกษศาสตร Cyperus rotundus L. วงศ CYPERACEAE Common name: Nut grass, Coco grass หญาแหวหมู เปนพืชลมลุก มีหัวใตดิน แตกกอทีโ่ คน มีไหลที่ขยายไปจากตนเดิม แลวสามารถงอกขึ้นใหมได เหงา และไหลมีสีนา้ํ ตาลดํา ลําตนเกลี้ยง รูปทรงสามเหลี่ยม ผิวเรียบเปนมัน ใบเรียวแคบตามยาว ๆ ประมาณ 60 ซม. กวาง 2-5 มม. ปลายแหลม ใบพับงอตามความกวางรูปลิ่มเปด ดอกเปนดอกชอเชิงลด ยาว 5-10 ซม. กวาง 3-8 ซม. ประกอบดวย 3-10 ชอดอกยอย ยาว 1.5-5 ซม. กาบชอยอยมีจํานวน 9 หรือมากกวาในชอยาวที่สุด รูปไขหรือรูป รี ยาว 3-3.5 มม. กวาง 2 มม. เกสรเพศผูจ ํานวน 3 อัน อับเรณูยาว 1 มม. เกสรเพศเมีย 3 อัน เมล็ดเปนผลเปลือก แข็ง รูปยาวเรียว ขนาดยาว 1.3-1.5 มม. กวาง 0.5-0.7 มม. สีน้ําตาล มีเมล็ดเดียว หญาแหวหมู จัดเปนวัชพืชเขตรอนทั่วโลก ทั่วทุกทวีป (14) สารสําคัญ หัวใตดินใหน้ํามัน ประมาณ 1% โดยน้ําหนักประกอบดวย Pinene, Cineole, Sesquiterpenes, Iso-cyperol, a และ b-Cyperene, Cyperone และน้ํามันหอมอื่น ๆ (5, 9) สรรพคุณ ผงบดจากหัวใตดิน ในขนาด 5-10 g. มีรสขมอมหวาน กินเปนยาชวยการทํางานของตับ, เปนยาสงบ ประสาท, ขับระดู, ชวยการไหลเวียนของโลหิต, แกปวดทอง, ชวยยอย, แกอาเจียน, แกบิด, แกทองเสีย สารสกัด จากหัวใตดินมีฤทธิ์คลายกลามเนื้อมดลูกของสตรี, เพิ่มการบีบตัวของกระเพาะอาหาร, เพิ่มการหลั่งน้ําลายและกรด ในกระเพาะ มีฤทธิ์ฆาเชื้อแบคทีเรีย และตานเชื้อมาเลเรีย (9, 14)

15. ลําโพง ชื่อพฤกษศาสตร Datura metel L. var. metel วงศ SOLANACEAE Common name: Thorn apple, White thorn apple, Jimson weed ลําโพง เปนไมพุมขนาดเล็ก อายุหลายป สูง 1-2.50 ม. ลําตนและกิ่งกานมีผิวเกลี้ยง ใบเปนใบเดี่ยว ออกเรียง สลับ รูปไขถึงรูปหัวใจกลับ ยาว 10-20 ซม. กวาง 815 ซม. ขอบใบจักเปนซี่ลกึ บางตื้นบางหาง ๆ กัน ปลาย ใบแหลม โคนใบเบี้ยว ดอกออกเปนดอกเดี่ยว ขนาด ใหญ แตกจากกิ่งระหวางโคนใบ กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ สี เขียว เชื่อมติดกันที่โคนเปนรูปหลอด ยาวประมาณ ครึ่งหนึ่งของความยาวของกลีบดอก กลีบดอกเชือ่ ม ติดกันเปนหลอดยาว ยาว 10-15 ซม. สวนปลายบานเปนปากแตร 5 แฉก มีสีขาว หรือขาวแกมมวง เสนผาน ศูนยกลางสวนปากเปดประมาณ 8 ซม. เกสรเพศผูมี 5 อัน กานเกสรติดอยูภายในหลอดกลีบดอก รังไขมี 4 ชอง อยู เหนือวงกลีบ ผลกลม หรือกลมรี มีเสนผานศูนยกลาง 3-4 ซม. มีหนามแข็งสั้นหอหุม เมื่อแหงแลวแตก มีเมล็ดขนาด เล็กจํานวนมาก ลําโพง มีเขตการกระจายพันธุในประเทศทั่วประเทศ เปนพรรณไมดั้งเดิมของเขตรอนของทวีปเอเชีย และไดแพรพันธุ ไปในเขตรอนทั่วโลกในปจจุบัน (14) สารสําคัญ ใบและเมล็ดพบ Tropane alkaloids หลายชนิด ไดแก Scopolamine, Hyoscine, Hyoscyamine, Atropine, และกรดตาง ๆ เชนเดียวกับในดอกจะพบ alkaloids เชน Scopolamine, Hyoscyamine เปนตน (5, 9, 13) สรรพคุณ ใบและดอกแหงสูบเปนยาเสพติด, ทําใหความคิดสับสน, ออนเพลีย, งวงนอน และอาจทําใหเกิดอาการ ประสาทหลอนได, ใบและเมล็ดก็ใชสูบเปนยาเสพติด น้ําตมจากใบ, ราก และเมล็ด กินเปนยาแกอาการคุมคลั่ง, ลด ไข แตถาใชมากก็จะทําใหเกิดการเสพติด ในทางยาเราใชดอกในขนาด 0.1-0.25 g. (ไมควรใชกับเด็ก) สูบโดยจะ มีผลตอปอด, ชวยการไหลเวียนของโลหิต, แกหืดหอบ, ขยายหลอดลมและถุงลมปอด, แกปวด แกปวดขอ, สงบ ประสาท แตถา ใชในขนาดสูง ๆ อาจทําใหเกิดอาการชัก ถึงขนาดหมดสติ (5, 6, 9, 13, 14)

16. ทองโหลง ชื่อพฤกษศาสตร Erythrina fusca Lour. วงศ LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE Common name: Coral tree ทองโหลง เปนไมยืนตนผลัดใบ สูง 10-12 ม. ขนาดเสนผานศูนยกลางลําตน 30-60 ซม. ลําตนและกิ่งกานมี เปลือกบาง มีหนามหนาแนน ใบเปนใบประกอบแบบ 3 ใบ รูปไขถึงรูปไขแกมขอบขนาน ใบหนา ขนาดยาว 1015 ซม. กวาง 5-8 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน มีเสนแขนงใบ 6-8 คู กานใบยาว 10-12 ซม. มีหูใบที่โคนใบยอย 1 คู ดอกออกเปนชอกระจะ ชอยาว 7-17 ซม. ดอกสีแดงคล้าํ คลายดอกถั่วทั่ว ๆไป กาน ดอกยอยยาว 7 มม. กลีบเลี้ยง ยาว 1-1.5 ซม. รูประฆัง สวนปลายแยกเปน 2 แฉก กลีบดอกรูปถั่ว กลีบกลางมีขนาด ยาว 3.5 ซม. กวาง 5 ซม. สวนปลายเวาตื้น ๆ กลีบดอกคูข างมีสว นลางที่เชื่อมติดกัน ยาวเปนครึ่งหนึ่งของกลีบกลาง กลีบคูลา งสั้นกวา เกสรเพศผูมี 10 อัน เชื่อมติดกลุมเดียว รังไขมีขนปกคลุม กานชูเกสรเพศเมียมีผิวเกลี้ยง ผลเปนฝก คลายฝกถั่ว ยาว 15-20 ซม. กวาง 1.4-1.8 ซม. คอดเปนกระเปาะ แหงแลวแตก มีเมล็ดจํานวน 6-8 เมล็ด สี น้ําตาลแก รูปไข ยาวประมาณ 1.2 ซม. ทองโหลง มีเขตการกระจายพันธุตามเกาะตาง ๆ ของประเทศ และนํามาปลูกเปนไมประดับทั่วไป ในตางประเทศพบ ที่อินเดีย ศรีลังกา พมา ประเทศแถบอินโดจีน อินโดนีเซีย ฟลลิปปนส ถึงประเทศแถบมหาสมุทรแปซิฟคตะวันออก สรรพคุณ ยาชงจากรากในขนาดสูง ๆ กินเปนยาระบาย และเปนยาเสพติดโดยชาวอินเดียนเผา Tikunas ใน ประเทศโคลัมเบีย และใชทางยาเปนยาแกปวดขอ แกปวดกลามเนือ้ และแกโรคตับอักเสบ (19)

17. ทองหลางลาย ชื่อพฤกษศาสตร Erythrina variegata L. วงศ LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE Common name: Varigated coral tree, Tiger’s claw ทองหลางลาย เปนไมยืนตนผลัดใบ สูงไดถึง 20 เมตร ลําตนและกิ่งกานมีหนามแหลม ใบเปนใบประกอบแบบ 3 ใบ ใบบางมีผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน กานใบยาว 10-15 ซม. ใบยอยใบกลางรูปไขขนาดยาว 10-15 ซม. กวาง 8-12 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลมมน ใบยอยคูขาง ขนาดเล็กกวาเล็กนอย โคนใบเบี้ยว มีหูใบที่โคนใบยอย รูปหอก ยาว ประมาณ 1 ซม. ดอกออกเปนดอกชอกระจะ ชอยาวไดถึง 18 ซม. ดอกคลายดอกถั่วทั่ว ๆ ไป มีสีแดงสด มีจํานวน มาก กานดอกยอยยาว 0.6-0.8 ซม. กลีบเลี้ยงมีสีเขียวออน ทรงระฆัง โคนเชื่อมติดกัน ยาว 2.5-3 ซม. และจัก ออกเปนแฉก 2 แฉกที่ปลาย กลีบดอกมีสีแดงสด กลีบกลางรูปไข ยาว 5-7 ซม. กวาง 2.5 ซม. กลีบดอกคูขา งมี ขนาดยอมกวาเล็กนอย รองรับโดยกลีบดอกคูล าง เชื่อมติดกันเปนรูปทองเรือ เกสรเพศผูมี 10 อัน เชื่อมติดกลุมเดียว รังไขมีขนปกคลุม กานเกสรเพศเมียโคงงอเล็กนอย ยอดเกสรเพศเมียเปนตุม ฝกคลายฝกถั่ว แบน ยาว 15-30 ซม. กวาง 1.5-3 ซม. คอดเปนกระเปาะ แหงแลวแตก มีเมล็ดอยูภายในรูปไข สีสมแดง ยาวประมาณ 1.5 ซม. ทองหลางลาย มีเขตการกระจายพันธุในทั่วทุกภาคของประเทศ นิยมปลูกเปนไมประดับ ในตางประเทศพบที่ประเทศ แถบทวีปอัฟริกาตะวันออก, อินเดีย, ศรีลังกา, พมา, ประเทศแถบอินโดจีน, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, ฟลลิปปนส และประเทศในมหาสมุทรแปซิฟค สารสําคัญ ใบและเปลือกตน พบ alkaloids ในกลุม Indole และ Isoqinoline เชน Hypaphorine และ Erythrinine (5, 7, 13, 19) สรรพคุณ alkaloids เหลานี้ที่ไดจากใบ และเปลือกตน มีฤทธิ์เปนสารสงบประสาท (5, 7, 13, 19)

18. มะลินรก ชื่อพฤกษศาสตร Gelsemium elegans (Gardn. & Champ.) Benth. วงศ LOGANIACEAE Common name: Graceful gelsemium, Chinese gelsemium มะลินรก เปนไมพุมเลื้อยขนาดเล็ก แตกกิ่งกาน ใบเปนใบเดี่ยว ออกเรียงตรงกันขาม กานใบยาว 1-1.5 ซม. รูปใบ หอกแกมรูปไข ยาว 5-14 ซม. กวาง 2-5 ซม. ปลายแหลม โคนใบกลมมนหรือเรียวเปนครีบ มีเสนแขนงใบ 6-12 คู ดอกเปนดอกชอกระจุกแนน เปนชอยาว 3-12 ซม. ผิวเกลี้ยง มีใบประดับยอยที่โคนชอดอก ยาว 1-2 มม. รูป หอก มีขนยาวปกคลุม กานดอกยาวไดถึง 6 มม. กลีบเลี้ยงมีสีเขียว ยาว 0.5-1 มม. มีขนปกคลุม มี 5 กลีบ กลีบดอก รูปหลอด ยาวประมาณ 1.5 ซม. มี 5 กลีบ สีเหลือง หรือออกเหลืองสม เสนผานศูนยกลางกลีบดอกประมาณ 7 มม. มีจุดประสีแดงภายใน กลีบดอกแยกเปนแฉก 5 กลีบ จักลึกประมาณ 7 มม. ปลายแหลม หรือกลมมน เกสรเพศผูต ดิ กับผนังกลีบดอก กานชูอับเรณูติดกับโคนกลีบดอก อับเรณูยาวรี ยาวประมาณ 2 มม. รังไขมีกานเกสรเพศเมีย 1 อัน ยาว 8-12 มม. ผลทรงกลม เสนผานศูนยกลางประมาณ 1.5 ซม. มีเมล็ด 8-10 เมล็ด ๆ แบน มีปก เสนผาน ศูนยกลางประมาณ 4 มม. มะลินรก มีเขตการกระจายพันธุในประเทศทั่วทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะบนเทือกเขาทางภาคเหนือในปาดิบ บริเวณระดับความสูง 600-1,500 ม. จากระดับน้ําทะเล ในตางประเทศพบที่ อินเดีย ศรีลังกา จีน ลาว เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในสกุลนี้มี 3 ชนิดทั่วโลกในประเทศเรามี ชนิดเดียว (15) สารสําคัญ ทุกสวนของตนใหน้ํายางที่เปนพิษ โดยจะพบ alkaloid ที่เปนพิษมาก ไดแก Gelsemine, Gelsemicine, Koumine, Kouminine, Kouminicine, Kumatenidine ฯลฯ (9) สรรพคุณ alkaloids ที่เปนพิษดังกลาว เมื่อกินเขาไป จะทําใหเกิดการหลั่งน้ําลายมาก, สมองมึนงง, ความรูสึก สับสน, กระตุนระบบประสาทสวนกลาง, สั่น, ชัก และถามีอาการหนักก็ทําใหหยุดหายใจได ในทางยาเรานํามา รักษาโรคเนื้องอกในโพรงจมูก และเนื้องอกที่ผิวหนังบางชนิด (9) ในขนาดต่าํ ๆ ใชเปนยาลดไข ยาชงจากใบมะลิ นรกเพียงสามใบใชเปนยาสั่ง (ตาย) ได (15)

19. ถั่วเหลือง ชื่อพฤกษศาสตร Glycine max (L.) Merr. วงศ LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE Common name: Soya, Soy bean, Black soy bean, Cow of China, Soja bean ถั่วเหลือง เปนพืชลมลุก อายุปเดียว ตนตั้งตรง ตอนงอกใหม ๆ แลวเลื้อยไดภายหลัง ทุกสวน ของตนมีขนสีน้ําตาลปกคลุม ใบเปนใบ ประกอบๆดวยใบยอย 3-7 ใบ กานใบยาว ใบ ยอยเปนแผนบางรูปไข ยาว 5-10 ซม. กวาง 3-6 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลม ดอก เปนดอกชอกระจะ ดอกคลายดอกถั่วทั่วไป มี กลีบเลี้ยงรูปทรงระฆัง สวนปลายจักเปนซี่ เลื่อย ยาวประมาณ 0.6 ซม. มีขนปกคลุมหนาแนน กลีบดอกมีสแี ดงเขม กลีบกลางโคงงอเล็กนอย เกสรเพศผูมี จํานวน 10 อัน เกาะเปนกลุมติดกัน รังไขมีหลายออวุล มีกานเกสรเพศเมียสั้น ผลเปนกลุมฝก 2-3 ฝก แตกมาจากลํา ตนตรงโคนซอกใบ ฝกงอเล็กนอย ไมมีระยางค ฝกรูปยาวรี ยาว 3-5 ซม. กวาง 0.8-1 ซม. มีขนปกคลุมหนาแนน มี เมล็ดภายใน 3-4 เมล็ด ถั่วเหลือง เปนพืชเศรษฐกิจของประเทศ สามารถปลูกไดทั่วทุกภาคของประเทศ แตจะปลูกมากทางภาคเหนือ ใน ตางประเทศมีการปลูกมากทางประเทศอินเดีย และแถบเอเชียตะวันออก ไดแก จีน ญี่ปุน และยังสามารถปลูกไดในเขต รอนทั่วโลก (14) สารสําคัญ เมล็ดถั่วเหลืองพบโปรตีนในปริมาณที่สูงมาก พบ glycosides ซึ่งเมื่อถูก hydrolyze แลวจะได อนุพันธุของ Isoflavones คือ Genistein และ Daidzein (9) ที่มีคุณสมบัติบางประการคลายฮอรโมน เพศหญิง ทั้งตนเปนยาฝาดสมาน (5) สรรพคุณ ถั่วเหลืองใชในการผลิตอาหารนานาชนิด และใชในอุตสาหกรรมตาง ๆ เชน การผลิตสบู, สีทาบาน, สาร เคลือบเงาตาง ๆ หมึกพิมพ เปนตน ในทางยาถั่วเหลืองมีผลตอการทํางานของกระเพาะ, ปอด ใชขับลม, ลดไข, สงบ ประสาท, แกปวดศีรษะ, ชวยใหนอนหลับ, phytoestrogens หรือ plant estrogens ที่พบจะชวยแก อาการรอนวูบวาบในสตรีระยะที่กําลังจะหมดระดู ปองกันกระดูกพรุน, ชวยปองกันการกอเซลมะเร็งที่เกิดจาก hormone estrogen เชน มะเร็งที่ทรวงอก, มะเร็งที่รังไขในเพศหญิง, มะเร็งตอมลูกหมากในเพศชาย, ชวย ปองกันโรคหัวใจ และลดไขมันในกระแสโลหิต (9, 14, 22) ถั่วเหลืองในขนาด 10-15 g. ผานการหมักไดที่ แลว ใชเปนยาสงบประสาทไดดี (14)

20. เปราะหอม ชื่อพฤกษศาสตร Kaempferia galanga L. วงศ ZINGIBERACEAE Common name: Galanga เปราะหอม เปนไมลมลุก สูง 2-5 ซม. มีเหงาใตดิน และมีหัวใตดินที่แตกออกมาจากราก ใบสวนมากมี 2 ใบกวาง ขนาดใหญ แผขนานไปกับพื้นดิน ใบรูปไขหรือเกือบกลม ขนาดยาว 6-14 ซม. กวาง 5-10 ซม. ปลายใบแหลม หรือเปนติ่ง โคนใบกลม ดานหลังใบมีผิวเกลี้ยง ดานทองใบมีขนนุมปกคลุม ขอบใบมีสีขาว ดอกเปนดอกชอ กานชอ ดอกสั้น ซอนอยูภายในกาบดอก ดอกมีหลายดอก มีกาบ ดอกรูปใบหอก ปลายแหลม ผิวเกลี้ยง ขนาดยาว 2-3 ซม. กวาง 0.7-1.3 ซม. กลีบเลี้ยง ยาว 2-2.5 ซม. ผิวเกลี้ยง สวนปลายกลีบจักเปน 2 แฉก กลีบดอก ยาว 3-4 ซม. รูป ใบหอก แฉกบนมีขนาดยาว 1.5-2 ซม. กวาง 0.4 ซม. แฉกดานขางมี 2 แฉก ขนาดยาว 1.4-1.8 ซม. กวาง 0.4 ซม. เกสรเพศผู มีกานเกสรเพศผูส ั้นยาวเพียง 0.2 มม. อับเรณูยาว 3-4 มม. จักลึกเปน 2 แฉก รังไขมีหลายออวุล มี ขนาดยาว 3-4 มม. กวาง 2.5 มม. ผิวเกลี้ยง เปราะหอม มีเขตการกระจายพันธุทั่วทุกภาคของประเทศ ตามบริเวณปาดิบแลง, ปาผลัดใบ, ปาไผ หรือทุงหญาโลง ที่ระดับความสูง 50-400 ม. จากระดับน้ําทะเล ในตางประเทศพบที่อินเดีย ประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต, มาเลเซีย อินโดนีเซีย และนิวกินี (11) สารสําคัญ เหงาและรากใตดิน ใหน้ํามันหอมระเหยมาก (7) สรรพคุณ ใชเหงาใตดิน บดเปนผงผสมเปนยาแกเจ็บคอ ในประเทศนิวกินี ใชสูบเปนยาเสพติด มีฤทธิ์เปนสารหลอน ประสาทคลายกับการสูบกัญชา น้ํามันหอมระเหยจากเหงา ใชทางยาเปนยาแกปวดศีรษะ แกอาการปวดตาง ๆ และยัง ใชในการผลิตเครื่องสําอาง (7)

21. ไมยราบ ชื่อพฤกษศาสตร Mimosa pudica L. วงศ LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE Common name: Sensitive plant, Touch-me-not, Action plant ไมยราบ เปนไมพุมหรือไมลมลุก พบขึ้นได ทั่วไปในที่รกรางวางเปลา มีลําตนทอดเลื้อยไป ตามพื้นดินไดยาวถึง 1 ม. มีหนามหาง ๆ ขึ้น ตามลําตน ใบสวนกานใบและใบยอยจะหุบ เมื่อสัมผัสตอง ใบเปนใบประกอบ กานชอใบ ยาว 3-5 ซม. มีรองตามความยาว มีขนสาก ปกคลุมทั้งกาน กานใบยอยมี 2 คู กานยาว 2.5-7 ซม. มีขนปกคลุมหนาแนน ประกอบดวยใบยอย 12-25 คูในแตละกานใบยอย ใบยอยมีขนาดยาว 5-11 ซม. กวาง 1.3-2 มม. รูปยาวรี ผิว ดานบนเกลี้ยง ตามทองใบและขอบใบมีขนสากปกคลุม ดอกออกเปนชอกระจุกเดี่ยวหรือเปนคู เสนผานศูนยกลาง ประมาณ 1 ซม. แตกจากโคนซอกใบ กานชอดอกยาว 2.5-3.8 ซม. มีขนปกคลุมหนาแนน กลีบเลี้ยงสั้นมาก ยาว ประมาณ 0.1 มม. กลีบดอกรูปทรงระฆัง ขนาดยาว 1.9-2.3 มม. สีชมพู แตละกลีบรูปไขกลับ สวนปลายกลีบปาน มน หรือกลม มีเกสรเพศผูจ ํานวน 4 อัน รังไขยาว 0.3-0.6 มม. ผิวเกลี้ยง ผลเปนฝก มีจํานวนมากที่พัฒนามาจาก ดอกชอกระจุก ฝกยาว 1.5-1.8 ซม. กวาง 0.4 ซม. รูปขอบขนาน แบน ยาว และมีขนแข็งปกคลุมตามขอบฝก เมล็ดแบน กลม หรือรี มีจํานวน 4-10 เมล็ด ไมยราบ มีเขตการกระจายพันธุในทั่วทุกภาคของประเทศ ถิ่นกําเนิดดั้งเดิมอาจจะมาจากเขตรอนของทวีปอเมริกาใต พบทั่วโลก สารสําคัญ ในใบไมยราบ พบ Norepinephrine และ glycoside Mimoside (9, 19) สรรพคุณ ในประเทศ Ecuador เชื่อกันวา ถานําใบไมยราบไปซุกไวใตหมอนจะชวยใหนอนหลับ (19) น้ําตม จากทั้งตน ในขนาด 5-7 g. ใชกินแกไอเปนเลือด, แกโรควิตกกังวล และชวยสงบประสาทอยางออน (หามใชกับ สตรีมีครรภ) (9) สวนน้ําตมจากรากกินเปนยาแกไตพิการ แตถากินมากจะทําใหอาเจียน (5)

22. กระทอม ชื่อพฤกษศาสตร Mitragyna speciosa (Korth.) Haviland วงศ RUBIACEAE กระทอม เปนไมตนขนาดกลาง สูงไดถึง 20 เมตร ใบ เปนใบเดี่ยว เรียงตรงกันขาม รูปไขกวาง ยาว 12-18 ซม. กวาง 5-10 ซม. ปลายใบแหลมหรือเปนติง่ แหลม โคนใบปานกลม แผนใบบาง ดานทองใบมีเสนใบเปน สันขึ้นมาชัดเจนเมื่อแก เสนแขนงใบขางละ 8-14 เสน กานใบยาว 2-3 ซม. มีหูใบอยูระหวางโคนกานใบ จํานวน 1 คู ลักษณะคลายแผนใบ ยาว 3-4 ซม. กวาง 1-2.5 ซม. ปลายแหลม ดอกออกเปนดอกชอกระจุก กลม แตกจากปลายกิ่ง มี 1-3 ชอ กานดอกชอยาว 3-5 ซม. แตละชอประกอบดวยดอกสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปถวย ขนาดสั้น สวนปลายแยกเปน 5 แฉก กลีบดอกเชือ่ มติดกันที่โคนกลีบ สวนปลายกลีบแยกเปน 5 แฉก ยาวประมาณ 5 มม. มีขนปกคลุมภายในกลีบดอก เกสรเพศผูมจี ํานวน 5 อัน รังไขอยูใตวงกลีบ ผลรูปไขเกือบกลม ขนาดยาว 5-7 มม. มีสันตามความยาวจํานวน 10 สัน เมล็ดมีปก กระทอม เปนพรรณไมประจําถิน่ ประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในประเทศมีเขตการกระจายพันธุในภาคกลาง ภาคตะวันตกเฉียงใต และภาคใต โดยเฉพาะที่ราบลุมริมแมน้ํา ในตางประเทศพบที่มาเลเซีย และฟลลิปปนส (3, 13) สารสําคัญ กระทอมที่พบในประเทศเรามีลักษณะของใบที่แตกตางกัน 2 ชนิด คือ ชนิดหนึ่งมีกานและเสนใบสีแดง และอีกชนิดหนึง่ มีเสนใบสีเขียวออน และสีออนกวาสีของแผนใบ พันธุที่นิยมเสพกันคือ พันธุกานแดง ใบพบสาร Indole compounds ที่เปน alkaloids ที่สําคัญไดแก Mitragynine และ alkaloids อื่น ๆ อีก หลายตัว (7) สรรพคุณ กระทอมมีการใชกันมานานกวา 100 ป ในประเทศแถบมลายูเดิม โดยใชทดแทนฝน ใชถอนพิษฝน โดย การเคี้ยวใบสด สูบใบแหง หรือใชน้ํามันจากการกลั่นใบ จะมีฤทธิ์ทําใหผูเสพเคลิบเคลิ้ม ชวนฝน ไมถึงขนาดเปน ยาเสพติดอยางแรง สําหรับในประเทศเรา เนื่องจากกระทอมถูกจัดเปนพืชเสพติด การปลูกตองอยูในการควบคุมของ รัฐที่ไดมีพระราชบัญญัติกระทอม หามมิใหมีการปลูกและมีไวครอบครอง ตั้งแต พ.ศ. 2486 ในยาไทยโบราณจะใช ใบกระทอมมาบําบัดอาการทองรวง และเคี้ยวกินแทนฝน เพราะกระทอมจะชวยกระตุนการทํางานของรางกาย ทนตอ งานหนัก ทนแดด แตไมทนตอฝนและความเย็น ทําใหไมอยากอาหาร ปากแหง และทองผูก ใชภายนอกเปนยาพอก บาดแผล และขับพยาธิ์ในเด็ก (3, 7, 13) และเชื่อกันวาเมื่อกินกระทอมสดวันละ 3 ใบ จะแกโรคเบาหวานได

23. จันทนเทศ ชื่อพฤกษศาสตร Myristica fragans Houtt. วงศ MYRISTICACEAE Common name: Nutmeg tree, Common nutmeg จันทนเทศเปนไมตน สูงไดถึง 15 เมตร ไมผลัดใบ ลําตนใหน้ํายางสี แดง ทุกสวนมีกลิ่นหอม เปลือกตนสี น้ําตาลอมเหลือง ใบเปนใบเดี่ยว หนา ออกเรียงสลับ ใบรูปรีแกมขอบ ขนาน ยาว 6-15 ซม. กวาง 3.56.5 ซม. โคนใบสอบเรียว ปลายใบ แหลม มีเสนใบแขนง 6-12 คู เห็น ชัดเจน เสนใบยอยเห็นไมชัด กานใบ ยาว 7-12 มม. ขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.7-1.5 มม. ดอกเปนดอกชอแยกเพศตางตน หรือ ดอกทั้งสองเพศอยูบน ตนเดียวกันได แตกจากกิ่งโคนกานใบ ชอดอกเพศผูมีกา นชอ ยาว 5-20 มม. มี 2-5 ดอก ดอกยอยมีกานดอกยาว 10-15 มม. ตาดอกรูปรีแกมขอบขนาน ยาว 7-8 มม. กวาง 4-5 มม. ชอดอกเพศเมีย มีกานชอยาว 5 มม. มี 1-3 ดอก ขนาดเล็ก กานชอดอกยอยยาว 8-12 มม. ลักษณะรูปไข ยาว 7-8 มม. กวาง 5 มม. รังไขรูปไขขนาด 5 x 3 มม. มีขนสั้นปกคลุม ผลเปนผลสด มี 1 เมล็ด กานผลยาว 10-15 มม. รูปรี หรือเกือบกลม ขนาดเสนผาน-ศูนยกลาง 6-8 ซม. สีเหลืองถึงสีสมแดง เปลือกหนา 10-15 มม. ภายในเปลือกนอกมีรกสีแดงหอหุมเมล็ดที่เรียกวา ดอกจันทน (Mace) มีเมล็ดรูปรีขนาดเสนผานศูนยกลาง 3 ซม. เมล็ดสีน้ําตาลอมมวงออน เปลือกแข็ง ที่เรียกวา ลูก จันทน (Nutmeg) จันทนเทศ มีเขตการกระจายพันธุในประเทศทางภาคใต ตามปาดิบแลงชายฝงทะเล ตามหมูเกาะทัง้ สองฝง มีการปลูก กันมากทางภาคใต และภาคตะวันออกเฉียงใต มีถิ่นกําเนิดอยูที่หมูเกาะ Banda หรือหมูเกาะ Nutmeg ในทะเล Banda ประเทศอินโดนีเซีย มีการปลูกกันมากตามหมูเกาะ Moluccas และสามารถปลูกไดหลายพื้นที่ในเขต รอนทั่วโลก (2, 7, 24) สารสําคัญ ใบ พบ Pinene และ Myristicin ดอกจันทน (Mace) ใหน้ํามันหอมประมาณ 7-14% ที่ ประกอบดวย Myristicin สวน ลูกจันทน (Nutmeg) พบ Monoterpene hydrocarbons ไดแก Camphene, Pinene, Dipentene, Sabinene, Cymene, และยังพบ Geraniol, Borneol, Linalol, Terpineol, Myristicin, Eugenol, Safrol, Elemicin และ isoelemicin จํานวนเล็กนอย (5, 7, 10, 11, 24)

สรรพคุณ แกนไมจันทนเทศ มีกลิ่นหอม มีสรรพคุณแกไข บํารุงปอดและตับ ดอกจันทน (Mace) มีกลิ่นหอม มีรส เผ็ดรอน มีสรรพคุณบํารุงธาตุ ขับลม บํารุงโลหิต ใชเปนเครื่องเทศ ลูกจันทน (Nutmeg) มีกลิ่นหอม ใชเปนยาฝาด สมาน มีรสรอน มีสรรพคุณบํารุงกําลัง บํารุงธาตุ แกธาตุพิการ ขับลม แกรอนใน แกกระหายน้าํ บํารุงโลหิต น้ํามันที่ กลั่นไดจากดอกจันทน หรือลูกจันทน ใชภายนอกเปนยาถูนวด แกปวดขอ ปวดกลามเนื้อ ขับลม ชวยยอย ขับระดู แก อาเจียน บํารุงรางกาย และบํารุงประสาท แตถา ใชดอกจันทนและน้ํามันที่กลั่นไดจากดอกจันทน หรือลูกจันทน โดย กินในปริมาณมาก จะเกิดอาการเคลิ้มฝน, ประสาทหลอน, เปนสารเสพติด, มึนเมา, หัวใจเตนเร็ว, หนาแดง, กระวนกระวาย, ปวดทอง, วิงเวียนศีรษะ เพอคลัง่ ฯลฯ อันเนื่องมาจากฤทธิ์ของ Myristicin (2, 5, 7, 10, 11, 24)

24. ยาสูบ ชื่อพฤกษศาสตร Nicotiana tabacum L. วงศ SOLANACEAE Common name: Tobacco ยาสูบ เปนพืชลมลุก อายุปเดียว มีลําตนตั้งตรง สูง 0.7-1.50 ม. ใบเปนใบเดี่ยว มีขนาด ใหญ ใบมีลักษณะหยาบ รูปไขแกมรี ถึงรูป ยาวรี หรือรูปไขกลับ ขนาดยาว 10-35 ซม. กวาง 12-18 ซม. โคนใบสอบเรียว ปลายใบ แหลม หรือมน ดอกเปนดอกชอ ออกที่ปลาย ตน กลีบเลี้ยงมีสเี ขียวรูปถวยเชื่อมติดกันที่โคน กลีบ รูปไข หรือรูปหลอด ยาว 1-1.5 ซม. สวนปลายจักเปน 5 แฉก กลีบดอกมีสีขาว ชมพู มวงออน ฯลฯ รูปทรงยาวรี หรือทรงกรวย ยาวประมาณ 5 ซม. เกสรเพศผูมีจาํ นวน 5 อัน ติดอยูภายในหลอดกลีบดอก รังไขมี 2 ชอง ผลเปนชนิดแหงแลวแตก รูปไข ยาว 1.5-2 ซม. มีเมล็ดเล็ก ๆ ภายในจํานวนมาก ยาสูบ มีการปลูกกันทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีถิ่นกําเนิด ดั้งเดิมมาจากเทือกเขา Andes ในทวีปอเมริกาใต ตอมาไดแพรขยายเขาสูทวีปยุโรป และไดมีการนําไปปลูกกันใน เขตรอน หรือเขตอบอุนบางเขตทั่วโลกในปจจุบนั (19) สารสําคัญ ใบยาสูบเปนแหลง alkaloids หลายชนิด โดยเฉพาะ Nicotine (พบครั้งแรกตั้งแต ค.ศ. 1828) และ Nor-nicotine, Nicoteine, Nicotelline, Nicotinine, Anabasine และสารอื่น ๆ อีก (4, 5, 13, 19) สรรพคุณ พืชในสกุลยาสูบมีอยูด วยกันประมาณ 66 ชนิดทั่วโลก บางชนิดปลูกเพื่อใชทําเปนยาฆาแมลง ยาสูบยัง จําเปนสําหรับใชเปนพืชทางพิธีกรรมตาง ๆ กลิน่ ฉุนของใบยาสูบเกิดมาจากตอมบนใบที่ใหน้ํามันหอมระเหย เชื่อกัน วา ใบยาสูบนาจะถูกใชเปนสารเสพติดตัวแรกในทวีปอเมริกาใต โดยเฉพาะชาวอินเดียน ในทางยา Nicotine ถูก นํามาใชเปนยาแกโรคทางเดินปสสาวะอักเสบ, แกไขมาเลเรีย (แตจะมีพิษมากตอระบบประสาท) ใชภายนอกใบยาสูบ ถูกใชเปนยาสมานบาดแผล แกพิษงู, แกปวดฟน, แกนิ่ว, ลดอาการบวม, ฆาหนอน, แกปวดขอ, ปวดศีรษะ และ นํามาผลิตเปนบุหรี่ ที่จัดเปนสารเสพติดทีต่ ิดงายยิ่งกวาอัลกอฮอล จัดเปนสารสงบประสาท, ระงับความอยากอาหาร, เพิ่มน้ําตาลในโลหิตเล็กนอย ทําใหประสาทเกี่ยวกับการรับรสเสียไป กอใหเกิดโรคมะเร็งปอด และอันตรายตอรางกาย นานาประการ (4, 5, 7, 11, 19, 22) ถาทําการสกัด Nicotine ออกมาจากซิการเพียงมวนเดียว แลวฉีดเขา เสนเลือดในคน จะมีพิษถึงขนาดทําใหตายได (4)

25. ฝน ชื่อพฤกษศาสตร Papaver sonniferum L. วงศ PAPAVERACEAE Common name: Opium poppy, Opium, Joy plant ฝน เปนพืชลมลุกขนาดเล็ก อายุปเดียว สูง 1-1.50 ม. ลําตนตั้งตรง ทุกสวนของตนใหน้ํายางสีน้ํานม ผิวเกลี้ยง แตกกิ่งกานไดบา ง ใบเปนใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูป ขอบขนาน โคนใบสอบเบี้ยว ขอบใบจักเวาลึก หรือจัก ใบเลื่อยและเปนคลื่น ขนาดยาว 8-20 ซม. กวาง 510 ซม. ดอกเปนดอกเดี่ยว ขนาดใหญ มีเสนผาน ศูนยกลาง 3.5-5.5 ซม. กานดอกยาว 20-30 ซม. แตกออกทีส่ วนยอด ดอกมีหลายสี สีขาว แดง แดงเขม ชมพู หรือมวง กลีบเลีย้ งมี 2 กลีบ จะหลุดรวงไดงาย กลีบดอกมี 4 กลีบ ปลายกลีบกลมมน แผกวาง หรือจักตามขอบกลีบ มาก หลุดรวงงาย เกสรเพศผูมีจํานวนมาก เกสรเพศเมียมีสวนที่แผบานออกเปนรูปรัศมี 4-20 แฉก เทากับจํานวนพู ของผล ผลเปนชนิดแหงแลวแตก ในแตละตนจะให 5-8 ผล ผลคอนขางกลม มีลักษณะเฉพาะของผลฝน ขนาดเสน ผานศูนยกลาง 3-5 ซม. มีฝาครอบดานบนและมีรูเปด เมล็ดมีขนาดเล็กมาก คลายเมล็ดงา ขนาดเสนผานศูนยกลางไม เกิน 1 มม. มีสีขาว หรือเทา มีจํานวนมากใน 1 ผล ฝน มีถิ่นกําเนิดมาจากประเทศแถบทะเลเมติเตอรเรเนียน อินเดีย จีน และประเทศในเขตรอนและกึ่งอบอุนอีกหลาย ประเทศ (7, 14) สารสําคัญ ฝนใหน้ํายางที่ไดจากการกรีดผลฝนทีโ่ ตเต็มที่ และตองกรีดในตอนพลบค่ําหรือเชามืด เมื่อกรีดผลจะไดน้ํา ยางสีขาวไหลออกมาเกาะติดกับผล และจะแข็งขึ้นแลวเปลี่ยนสีจากสีขาวไปเปนสีน้ําตาลถึงเกือบดํา แลวทําการเก็บ รวบรวมยางที่ได ตากใหแหง เรียกวา ฝนดิบ ผลฝนจะใหปริมาณ Morphine สูงสุด หลังจากออกดอกแลว ประมาณ 16-20 วันเทานั้น สวน alkaloids อื่น ๆ จะมีปริมาณสูงสุดกอนหนานี้เพียงไมกี่วัน ยางจากผล หรือฝน ดิบ ประกอบดวย alkaloids มากกวา 25 ชนิด ที่สวนใหญจะรวมตัวอยูกับ Meconic acid alkaloids หลักที่พบในฝนดิบ เชน Morphine, Codeine, Thebaine, Noscapine, Narceine ,Papaverine สรรพคุณ ผลแหงที่สกัดยางฝนออกแลว ใชในขนาด 4-10 g. ใชทางยาโดยจะมีผลตอปอด, ลําไสใหญ, ไต เปนยา ฝาดสมาน, แกไอเรื้อรัง, แกปวด, แกทองเสีย, แกบิด, แกปวดทอง, แกโรคริดสีดวงทวาร, แกหืดหอบ, ถอนพิษ ฝน สวน alkaloids อื่น ๆ ที่พบในฝนดิบนั้น จะเปนยาเสพติด คลายกังวล สงบประสาท ชวยใหนอนหลับ แกปวด เกร็ง เปนยาฝาดสมาน ชวยการไหลเวียนของโลหิต โดย Morphine จะถูกใชเปนยาแกปวดอยางแรง ชวยสงบ ประสาท โดยจะออกฤทธิ์ที่สมองสวนหนา สวน Codeine จะมีฤทธิ์ที่ออนกวา จึงนําไปใชเปนยาแกไอที่ไดผล ชะงัด (7, 14, 22, 23)

26. เสาวรส ชื่อพฤกษศาสตร Passiflora laurifolia L. วงศ PASSIFLORACEAE Common name: Yellow granadilla, Jamaica honey-suckle เสาวรส เปนไมเถาเลื้อย ลําตนอวบกลม ผิวเกลี้ยง มีมือ เกาะ ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปขอบขนานแกมรูป ไข ใบคอนขางหนา ขอบใบจักลึกเปนซีล่ ะเอียด ใบยาว 4-10 ซม. กวาง 3-8 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบ กลมมน กานใบมีตอม 2 ตอมทีโ่ คนกานใบ มีหูใบเปน แถบยาวเรียว หรือรูปหอก ยาวไดถึง 1 ซม. ดอก ออกเปนดอกเดี่ยว กานดอกยาว 2-4 ซม. กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 2-3 ซม. กวาง 1 ซม. กลีบดอกคอนขางใหญ มีสีขาว มีจุดประสีแดง รูปขอบขนานคอนขางกวาง ยาวประมาณ 3 ซม. กวาง 0.5-0.6 ซม. มีเสนผานศูนยกลางดอกประมาณ 7 ซม. มีกระบังรอบอยูชนั้ ในกลีบดอก เรียงเปนวง 3 วง รูปคลายเสนดาย สี มวงแกมดวยแถบสีขาว ยาวเทา ๆ กันกับกลีบดอก เกสรเพศผูมี 5 อัน อยูบนกานชูเกสรรวม รังไขอยูเหนือวงกลีบ มี 1 ชอง มีพลาเซนตา 3 สวน ผลเปนผลสด มีเนื้อ เปลือกหนา ทรงกลม หรือรูปไข เสนผานศูนยกลาง ประมาณ 7 ซม. สีเหลือง มีจุดประสีขาว เนื้อในผลกินได มีเมล็ดหลายเมล็ด เมล็ดรูปไข ยาว 5-6 มม. เสาวรส มีการปลูกเปนพืชเศรษฐกิจไมมากนักในประเทศ ใชเนื้อจากผลทําเครื่องดื่ม มีถิ่นกําเนิดมาจากประเทศใน ทวีปอเมริกาเขตรอน (11) สรรพคุณ น้ําตมจากใบ กินเปนยาชวยใหนอนหลับในชาวอินเดียนเผา Kubeos ในประเทศโคลัมเบีย สวนน้ําจาก ผลและเนื้อจากผล กินเปนยาแกเจ็บคอสําหรับเด็ก (19)

27. โทงเทง ชื่อพฤกษศาสตร Physalis angulata L. วงศ SOLANACEAE Common name: Gooseberry, Wild gooseberry โทงเทง เปนไมลมลุก อายุปเดียว ลําตนตั้งตรง สูง 80-120 ซม. แตกกิ่งกานมาก เปลือกตนและใบมีผิวเกลี้ยง ใบ ออกเปนใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข หรือรูปไขแกมรูปหอก กานใบยาว 2-3 ซม. ใบยาว 3-6 ซม. กวาง 2-3 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเวาเล็กนอย ดอกมีขนาดคอนขางใหญ เปนดอกเดี่ยวแตกออกจากลําตนหรือ กิ่งโคนซอกใบ มีสีเหลืองถึงเหลืองสด เสนผานศูนยกลาง 1.5-2 ซม. กลีบเลีย้ งรูปทรงระฆัง เชื่อมติดกันที่โคน กลีบ ยาวประมาณ 0.4-0.6 ซม. จักที่ปลาย ลึกประมาณกึ่งหนึ่งของความยาวกลีบเลี้ยง กลีบดอกมีสีเหลืองสด ทรงระฆังหงาย มีจุดประสีน้ําตาลปนดําอยูภายในกลีบดอก เกสรเพศผู จํานวน 5 อัน ติดอยูกับฐานกลีบดอก อับเรณู รูปขอบขนานแตกตามยาว รังไขมี 2 ชอง กานเกสรเพศเมีย มี 1 อัน เกสรเพศเมียมี 2 พู ผลเปนชนิดผลสด มีเนื้อ หลายเมล็ด กลม หรือเกือบกลม เสนผานศูนยกลาง 1-1.6 ซม. ถูกหอหุมดวยกลีบเลี้ยงที่เหลืออยู รูปทรงหยดน้ํา มีสันตามความยาว เมล็ดจํานวนมาก รูปกลมแบน ขนาดเล็ก เสนผานศูนยกลางประมาณ 0.2-0.3 มม. โทงเทง มีเขตการกระจายพันธุในประเทศตามทีร่ กรางวางเปลา ริมลําหวย ที่โลงเตียนระดับต่ํา และพบในประเทศ เขตรอนทั่วโลก สารสําคัญ ทั้งตนพบ glycosides หลายชนิด, ในรากพบ Hygrine alkaloids (19) สรรพคุณ ผงจากราก ใชเปนยาเสพติดในประเทศบราซิล (19) น้ําตมจากทั้งตนกินเปนยาขับปสสาวะ (5) 28. พริกไทย

28. พริกไทย ชื่อพฤกษศาสตร Piper nigrum L. วงศ PIPERACEAE Common name: Pepper, Piper พริกไทย เปนไมเถาเนื้อแข็ง มีอายุหลายป ลํา ตนเปนขอ ที่สวนขอจะโปงพอง บริเวณนี้จะ แตกรากสําหรับยึดเกาะ ใบเปนใบเดี่ยว ออก เรียงสลับ ใบรูปไขหรือไขกลับ ขนาดยาว 812 ซม. กวาง 5-8 ซม. กานใบยาว 1.53 ซม. มีเสนใบที่แยกจากโคนใบจํานวน 35 เสน โคนใบกลม มน หรือเบี้ยวเล็กนอย ปลายใบแหลม มีเสนใบรางแหเห็นได ชัดเจน ดอกเปนดอกชอ แตกออกจากกิ่งตาม ซอกใบ ชอดอกยาว 5-12 ซม. ดอกยอยมีกา นดอกสั้นมาก เปนดอกสมบูรณเพศ สีขาวหรือเขียวออน ผลเปนผล กลม ขนาดเสนผานศูนยกลาง 3-4 มม. จัดเรียงอัดแนนเกาะอยูบนแกนกลางของผล มีเมล็ดเดียว ผลออนมีสีเขียว เมื่อแกจัดจะมีสีสมแดง พริกไทย มีการปลูกเปนพืชเศรษฐกิจในประเทศทางภาคตะวันออกเฉียงใต แถบจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด และภาคใตบริเวณที่มีปริมาณน้ําฝนคอนขางสูง พริกไทยเปนพรรณไมดั้งเดิมของภาคตะวันตกเฉียงใตของอินเดีย และสามารถปลูกไดทั่วไปในเขตรอนทั่วโลก (2, 10) สารสําคัญ เมล็ดพริกไทย ใหน้ํามันหอมระเหยที่กลั่นไดจากเมล็ด ประกอบดวย monoterpenes (ประมาณ 70-80%) ไดแก Thujene, Pinene, Camphene, Sabinene, Carene, Myrcene, Limonene, Phellandrene และ Sesquiterpenes (อีก 20-30%) และยังพบ alkaloids หลายตัว เชน Chavicine, Piperine, Piperidine และ Piperittine เปนตน (2, 5, 10, 11) สรรพคุณ พริกไทยดําและพริกไทยขาว ไดถกู ใชกันในโลกตะวันออกมานานกวา 4,000 ป โดยใชแกไขมาเลเรีย และโรคทางเดินอาหารอื่น ๆ เชน แกบดิ มีตัว, อหิวาตกโรค,ทองเสีย, แกปวดทอง, ชวยยอย เปนยาบํารุงธาตุ, ขับ ลม, ขับเหงื่อ, ขับปสสาวะ, แกไข, แกปวดขอ, ชวยเจริญอาหาร กระตุนระบบประสาท, บํารุงประสาท และชวย การไหลเวียนของโลหิต (2,5, 10) alkaloid Piperine มีฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือดได (11)

29. ระยอม ชื่อพฤกษศาสตร Rauvolfia serpentina (L.) Benth. วงศ APOCYNACEAE Common name: Serpent wood, Serpentine, Java devil pepper ระยอม เปนไมพุมขนาดเล็ก สูง 20-50 ซม. ทุกสวนใหน้ํายางสีขาว กิ่งกานมีผิวเกลี้ยง ใบเปน ใบเดี่ยว เรียงตรงกันขาม ใบรูปรีหรือรูปไขกลับ ขนาดยาว 4-15 ซม. กวาง 1.5-10 ซม. แผนใบบาง ผิวเกลี้ยง ทั้งสองดาน ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม มีเสนใบแขนงจํานวน 7-16 คู ขอบใบเรียบ ดอกออกเปนดอกชอ แตกจากปลายกิง่ ชอยาวไดถึง 11.5 ซม. กานดอกยอยยาว 2-6.5 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข หรือรูปหอก ยาว 1.84.2 มม. กวาง 0.5-1.5 มม. ปลายแหลม ผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน กลีบดอกสีขาว, แดง, ชมพู หรือมวง รูปหลอด ยาว 10-20 มม. สวนปลายเปด จักเปนแฉกลึก 2-5.6 มม. ดานนอกผิวเกลีย้ ง ดานในมีขนปกคลุม เกสรเพศผู ติดอยูภ ายในกลีบดอก หางจากฐานดอก 8-11.3 มม. กานชูเกสรเพศผูยาว 0.5-1 มม. รังไขรูปไข ยาว 0.81.6 มม. กานเกสรเพศเมียรวมทั้งเกสรเพศเมีย ยาว 7-9.6 มม. ผลออกเปนคู เปนผลสดเมล็ดเดียว ติดที่ฐานดอก รูปไขผาซีก ยาว 5.4-9 มม. กวาง 4.2-4.7 มม. ผลออนมีสเี ขียว เมื่อสุกจะมีสีดาํ เมล็ดรูปกลม หรือรีแบน ขนาด 4 x 2.8 มม. ระยอม มีเขตการกระจายพันธุในประเทศในปาผลัดใบ หรือปาดิบแลง ในที่โลงแจง ขึ้นไดถึงระดับความสูง 800 ม. จากระดับน้ําทะเล และบางพื้นที่มีการปลูกเพือ่ ใชรากเปนยาสมุนไพร ในตางประเทศพบที่ อินเดีย ศรีลังกา พมา จีน ประเทศแถบอินโดจีน มาเลเซีย และอินโดนีเซีย (16) สารสําคัญ รากให alkaloids หลายชนิด เชน Ajmaline, Ajmalicine, Ajmalinine, Isoajmaline, Neoajmaline, Raubasine, Raubasinine, Rauhimbine, Raupine, Rauwolfine, Rauwolfinine, Rescinnamine, Reserpine, Reserpirine, Sarpagine, Serpine, Serpinine, Serpentine, Serpentinine, Yohimbine, AlloYohimbine, delta-Yohimbine โดย alkaloid ตัวแรกที่พบโดยนักเคมีชาวเยอรมัน ในป ค.ศ. 1952 คือ Reserpine ปริมาณของ alkaloid ที่พบจะขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่ที่ปลูกที่แตกตางกัน (6, 8) สรรพคุณ ระยอมถูกใชเปนยาในประเทศอินเดียมาชานานแลว และไดมีการนําไปใชกันในโลกตะวันตกตั้งแต คริสตศตวรรษที่ 16 ในตําราอายุรเวชของอินเดีย ใชราก เปนยาแกบิด, แกทองเสีย ชวยใหคลอดงาย, ลดไข, แกพิษ งู, แกพิษจากแมลงสัตวกดั ตอย, ชวยคลายความวิตกกังวล, สงบประสาท, ชวยใหนอนหลับ, แกอาการคลุมคลั่งใน คนไขโรคจิตบางประเภท, แกปวดศีรษะขางเดียว, ลดอัตราการเตนของหัวใจ, ลดความดันโลหิตสูง และใชถอนพิษ ฝน แตถา ใชมากและบอยเกินขนาด อาจทําใหเกิดอาการซึมเศราได (5,6, 7, 11, 22)

30. จันทนหอม ชื่อพฤกษศาสตร Santalum album L. วงศ SANTALACEAE Common name: Sandal wood, White sandal wood, East Indian sandal wood, Shandal (ภาษาชาวเปอรเซียโบราณ) จันทนหอม เปนไมยืนตนกึ่งปรสิต ไมผลัดใบ ขนาดกลาง สูงไดถึง 12 ม. เปลือกตน คอนขางเรียบ สีน้ําตาลอมเทาถึงน้ําตาลแก ใบ เปนใบเดี่ยว เรียงตรงกันขาม กานใบยาว ประมาณ 1 ซม. รูปไขหรือรูปไขแกมขอบ ขนาน ผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน ขอบใบเรียบ ใบ ยาว 3-7 ซม. กวาง 2-3 ซม. ดอกออกเปน ดอกชอสั้น แตกออกจากปลายกิง่ หรือแตก จากกิ่งโคนใบ ดอกยอยมีขนาดเล็ก กลีบดอก เชื่อมติดกันเปนรูปถวย ปลายกลีบดอกแยกเปน 4 แฉก สีเหลืองออน และจะเปลี่ยนเปนสีแดงอมมวงเมื่อแก ผล รูปทรงกลมถึงรูปไข เสนผานศูนยกลางประมาณ 0.5 ซม. มีสีดาํ เมื่อแกจดั มี 1 เมล็ด จันทนหอม เปนพรรณไมดั้งเดิมของประเทศอินเดีย (แควน Mysore) และไดมีการนํามาปลูกทดลองในประเทศ บางแหง เชน ที่แปลงพืชสมุนไพร ของสวนพฤกษศาสตรภาคกลาง (พุแค) จ.สระบุรี ที่ไดปลูกตั้งแตป พ.ศ. 2512 ปจจุบันไดมีการนําไปปลูกไดทั่วไป โดยเฉพาะในเขตรอนของทวีปเอเชีย (5, 10) สารสําคัญ จันทนหอมเมื่อโตพอสมควรจะใหเนื้อไมที่มีกลิ่นหอม ถากลั่นเนื้อไมจะไดน้ํามันหอมหลายชนิด ไดแก Santalols (ประมาณ 90%), Sesquiterpenes (6%), a, b-Santalene, Santene, aSantenone, a-Santenol, Santalone, Teresantol, Borneol, Tri-cycloekasantalol, Santalic acid เปนตน (5, 9) สรรพคุณ จันทนหอมจัดเปนไมสมุนไพรที่ใชกันมานานกวา 4,000 ป ในโลกตะวันออก น้ํามันที่ไดจากการกลั่น ใชในการทําเครือ่ งหอม, เครื่องสําอาง ในทางยาใชเปนยาเย็น, บํารุงหัวใจ, ขับปสสาวะ, แกไอ, แกปวดทอง, แก อาเจียน, บํารุงธาตุ, อาจชวยปองกันการกอเกิดเซลมะเร็ง, แกอาการซึมเศรา, ชวยใหนอนหลับ คลายความวิตกกังวล และชวยคลายเครียด (2, 5, 9, 10)

31. ขี้เหล็ก ชื่อพฤกษศาสตร Senna siamea (Lam.) Irwin et Barneby วงศ LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE Common name: Cassod tree, Siamese cassia ขี้เหล็ก เปนไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบแตผลิใบใหมเร็ว สูงไดถึง 15 ม. ลําตนมักคดงอเปนปุมปม เปลือก ตนสีเทาถึงสีน้ําตาลดํา ยอดออนสีแดงถึงน้ําตาลออน กิ่งกานเกลีย้ ง ใบเปนใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ มีใบยอย 5-12 คู มีใบปลายสุด ใบยอยออกตรงกันขาม รูปขอบขนานแคบ ๆ ผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน ยาว 2-4.5 ซม. กวาง 23 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบมนหรือหยักเวาเล็กนอย ขอบใบเรียบ ดอกเปนดอกชอแตกจากปลายกิ่ง ชอดอกยาวไดถึง 40 ซม. กานชอดอกยอยติดเวียนสลับ โคนกานชอจะยาวกวาชอดอกสวนปลาย กลุมดอกมีดอกยอยมากกวา 10 ดอก ดอกจะบานจากโคนชอกอนปลายชอ กลีบเลี้ยงมี 3-4 กลีบ แยกอิสระ รูปชอน กลีบดอกมี 5 กลีบ สีเหลืองแก โคนสอบเขา แยกอิสระและงอเปนรูปชอน จะหลุดรวงงาย เกสรเพศผูมี 10 อัน รังไขรูปรี มีขนปกคลุมประปราย ผล เปนฝกแบน แหงแลวแตกเปนสองแนว ยาวไดถึง 30 ซม. กวาง 1.5 ซม. มีเมล็ดแบนภายในฝก จํานวน 20-30 เมล็ด ขี้เหล็ก มีเขตการกระจายพันธุในประเทศทั่วทุกภาค ใชเปนพืชอาหาร (ใชดอกและใบออน), สมุนไพร, ไมใชสอยใน ครัวเรือน ในตางประเทศพบที่จีน และประเทศแถบอินโดจีน โดยขี้เหล็กใชเปนไมเชื้อเพลิงและไมใชสอยที่สําคัญของ แควนสิบสองปนนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน มานานกวา 400 ป สารสําคัญ ในดอกและใบออนมีอนุพันธุโครโมน (Chromones) ที่ชื่อ Barakol และยังพบอนุพันธุของ Anthraquinones อีกเล็กนอย (2) สรรพคุณ น้ําตมจากใบแกกนิ เปนยาแกระดูขาวในสตรี, ขับนิ่ว ขับปสสาวะ เปลือกตนและเนื้อไม ตมกินเปนยาแก โรคริดสีดวงทวาร ขับน้ําคาวปลา และแกกามโรคบางชนิด ดอกใชเปนยาลดความดันโลหิตสูงและแกหดื หอบ ดอก และยอดออนใชเปนอาหารได มีรสขม ชวยเจริญอาหารมีฤทธิ์ระบายทองออน ๆ, ขับเสมหะ, ขับปสสาวะ, เปนยา ฝาดสมาน, บํารุงหัวใจ, คลายความวิตกกังวล และชวยใหนอนหลับ (2) หมายเหตุ ในป พ.ศ. 2542 บริษัทผลิตภัณฑสมุนไพร จํากัด ไดผลิตยาเม็ดจากใบขี้เหล็กในขนาด 400 mg. ใช ครั้งละ 1-4 เม็ด กอนนอน ชวยคลายความวิตกกังวล ชวยใหนอนหลับและสงบประสาท และไดวางจําหนายใน ทองตลาดอยูระยะหนึ่งแลวจึงศึกษาถึงการเปนพิษตอตับในภายหลัง พบวายาตัวนี้มีพิษตอตับที่ไมสมควรจะใชตอไป จึงไดเลิกทําการผลิตออกจําหนายในป พ.ศ. 2544

32. มันฝรั่ง ชื่อพฤกษศาสตร Solanum tuberosum L. วงศ SOLANACEAE Common name: Potato, Irish potato มันฝรั่ง เปนไมพุมขนาดเล็ก มีอายุหลายป มีลาํ ตนออน สูง 60-120 ซม. แตกกิ่งกาน ลําตนและกิ่งกานมีขนปก คลุม ใบเปนใบประกอบแบบขนนกมีใบยอด ใบประกอบ ๆดวย ใบยอยใหญ รูปรี 2-4 คู และใบยอยเล็ก 2 คู มีขน ออนนุมปกคลุม ใบยอยใหญรูปไขแกมขอบขนาน ยาว 5-14 ซม. กวาง 2-7.5 ซม. ดอกออกเปนชอกระจุก มีหลาย สี เชน ขาว, มวง, มวงเทา หรือสีออกน้ําเงิน กานดอกยาว 1.5-2 ซม. กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ ดอกมีขนาดเล็ก กลีบดอกสั้นกวา 2 ซม. เกสรเพศผูมี 5 อัน อยูเหนือวงกลีบ รังไขมี 2 ชอง มีหลายออวุล เกสรเพศเมียมี 1 อัน ผลเปนผลสด มีเนื้อหลายเมล็ด สีเขียวอม เหลือง ทรงกลม หรือเกือบกลม เสนผานศูนยกลาง 1.2-2.5 ซม. มีเมล็ดจํานวนมาก มันฝรั่ง เปนพืชเศรษฐกิจที่ปลูกไดทางภาคเหนือของประเทศ มีถนิ่ กําเนิดมาจากทวีปอเมริกา และไดนําไปปลูกเปนพืช อาหารทั่วไปในเขตรอนและเขตอบอุนบางเขตทั่วโลก (13) สารสําคัญ ทุกสวนของตนขณะสด พบ Glyco-alkaloid ชื่อ Solanine ซึ่งเปนพิษ รวมทั้งยอดออนที่แตก จากหัวมันฝรั่งใหม ๆ ก็พบสารตัวนี้ แตเมื่อโตเต็มที่แลวจะไมพบ ใบพบ glycosides Dioscin และ Protodioscin, และ alkaloids Solamargine และ a-Solarcine (9, 13) สรรพคุณ มันฝรั่งจัดเปนพืชอาหารชนิดสําคัญของโลก ที่มีปริมาณการบริโภคของประชากรโลกอยูในลําดับทีร่ องมา จาก ขาวสาลี, ขาว และขาวโพด เปนแหลงอาหารแปงที่สําคัญมาก โดยปกติลําตนจะมีราก 2-4 รากที่แตกจากโคน ตน แลวจึงแตกรากแขนงออกไปอีกหลายแขนง และที่ปลายรากแขนงจะมีการสะสมอาหารที่เรียกวา หัวมันฝรั่ง โดย แตละตนจะใหหัว 8-10 หัวโดยเฉลี่ย มันฝรั่งเปนอาหารที่เสมือนยา ชวยปองกันการขาดวิตามินซี, ขับปสสาวะ, ขับน้ํานม, ขับเหงื่อ, สงบประสาทอยางออน สวนสารสกัดที่ไดจากใบจะออกฤทธิ์คลายฝน ใชในทางยาเปนยาแกไอ (จัดเปนยาเสพติดชนิดหนึ่ง) (9, 13)

33. แสลงใจ ชื่อพฤกษศาสตร Strychnos nux-vomica L. วงศ LOGANIACEAE Common name: Strychnine plant, Nux-vomica, Snake wood แสลงใจ เปนไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงไดถึง 12 ม. เปลือกตนเรียบ มีสีขาว-เทา ลําตนและกิ่งมักคดงอ ใบเปนใบเดี่ยว เรียงตรงกันขาม ใบรูปไขหรือ กลม ยาว 8-15 ซม. กวาง 5-10 ซม. ปลายใบกลมมน โคนใบหยักเวาเล็กนอย เนื้อใบหนา ผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน มีเสนใบที่แยกออกจากโคนใบไปสูปลายใบ 5 เสน และมีเสนแขนงใบที่แยกจากเสนกลางใบ 5-8 เสน แบบเสนรางแห เห็นได ชัดเจน กานใบสัน้ ดอกออกเปนชอตามปลายกิ่ง สีขาวหรือเขียวออน กลีบเลีย้ งมี 5 กลีบ ยาวไมเกิน 2 มม. กลีบดอกจํานวน 5 กลีบ ยาว 7-9 มม. เชือ่ มติดกันทีโ่ คนกลีบเปนรูปทรงกระบอก ผิวนอกมีขน ประปราย ดานในเกลี้ยง เกสรเพศผูมี 5 อัน โคนเกสรติดอยูทผี่ นังดานในของหลอดกลีบดอก รังไขทรงกลม อยูเ หนือวง กลีบ มี 2 ชอง ผลทรงกลม ผิวเกลี้ยงเปนมัน เปลือกหนาและแข็ง เสนผานศูนยกลาง 5-10 ซม. ผลออนสีเขียว เมือ่ แกจดั มีสีเหลือง เมล็ดแบน กลม หรือรูปไข มีหลายเมล็ดใน 1 ผล เมล็ดมีเสนผานศูนยกลาง 1.2-1.5 ซม. แสลงใจ มีเขตการกระจายพันธุในประเทศทั่วทุกภาคของประเทศ เปนพรรณไมประจําปาเบญจ-พรรณแลง หรือปาเต็งรัง ที่สูงจากระดับน้าํ ทะเล 100-500 ม. ในตางประเทศพบที่ทวีปเอเชียใตแถบประเทศอินเดีย, ศรีลงั กา, พมา และ ประเทศแถบอินโดจีน (11) สารสําคัญ ใบ, เปลือกตน, เนื้อไม และราก พบ alkaloids Strychnine และ Brucine, เนื้อในผลพบ Loganin เมล็ดพบ Strychnine, Brucine, a-Colubrine, b-Colubrine, Icajine, Vomicine, Novacine, N-oxystrychnine, Pseudostrychnine, Isostrychnine, glycoside Loganin และสารสําคัญอื่น ๆ อีก เชน Oleic, Palmitic, Arachic, Butyric acid เปนตน (13, 23) สรรพคุณ แสลงใจมี alkaloids ที่สําคัญทางยา 2 ตัว คือ Strychnine และ Brucine จัดเปนสารพิษอยางแรง ที่มีผลตอระบบประสาทและระบบกลามเนือ้ ทําใหกลามเนื้อเกิดอาการชักกระตุกอยางออนถึงขั้นรุนแรง ขนาดที่ควบคุม การเคลื่อนไหวไมได มีอาการเกร็ง ทําใหระบบประสาทสวนกลางเปนอัมพาต โดยเริ่มตนออกฤทธิ์ทกี่ ารทํางานของไขสัน หลังกอน แลวจะสงผลกระทบไปยังสมอง ทําใหความดันโลหิตเพิม่ ขึ้น หัวใจเตนชาลง สวน alkaloid Brucine ที่ พบจะพบในปริมาณที่ตา่ํ กวา Strychnine และออกฤทธิ์ชา รวมทั้งอาการเปนพิษ ก็ไมรุนแรงเทา Strychnine ในทางยา เราใชน้ําตมจากเปลือกตนเปนยาแกไข, บํารุงรางกาย สวนเมล็ดในขนาดทางยา ใชเขาเครือ่ งยา เปนยาแกอมั พฤกษ, บํารุงธาตุ, บํารุงประสาทสวนแขนและขา, กระตุนการหายใจและการทํางานของกลามเนื้อหัวใจ, แกทองผูก, กระตุนการทํางานของไขสันหลัง, ลดไข, แกโรคลมชัก (ถาใชเกินขนาดจะมีพิษอยางรุนแรง ทําใหเกิดอาการชัก กระตุกได) (13, 23)

34. กํายาน ชื่อพฤกษศาสตร Styrax benzoin Dryander วงศ STYRACACEAE Common name: Gum benzoin, Styrax benzoin, Sumatra benzoin กํายาน เปนไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง 20-30 ม. ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข รูปรี หรือรูปไขแกม รูปหอก ขนาดยาว 5-17 ซม. กวาง 3-7 ซม. โคนสอบ ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ เสนแขนงใบขางละ 8-9 เสน ดอกเปนดอกชอ ออกจากงามใบและปลายกิ่ง ยาว 5-10 ซม. ดอกสมบูรณเพศมีขนาดเล็ก สีขาว กานดอกยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเปนรูปถวย ขนาดเล็ก ยาวประมาณ 4 มม. จักที่ปลายเปน 5 จัก กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ยาวประมาณ 1 ซม. โคนกลีบเชือ่ มติดกัน เกสรเพศผูจ ํานวน 10 อัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ผลทรงกลมแปน เสนผานศูนยกลาง 2-3.5 ซม. มีขนสั้นสีขาวปกคลุม เมื่อแหงจะแตกเปน 3 สวน เมล็ดกลม มี 1 เมล็ด เสนผานศูนยกลางประมาณ 2 ซม. กํายาน มีเขตการกระจายพันธุในประเทศทางภาคใต ในเขตปาดิบชื้น ตั้งแตระดับน้ําทะเลจนถึงระดับความสูง ประมาณ 1,000 ม. ในตางประเทศพบที่ประเทศมาเลเซีย (3) สารสําคัญ ลําตนกํายานจะใหชนั ที่เรียกในทางการคาวา ชันกํายาน เมื่อตองการใชกน็ ําไปละลายใน Ethyl glycol มีกลิน่ หอมคลายวานิลลา สารเคมีที่พบสวนใหญเปน ester ของ Cinnamic acid และ Benzoic acid โดยปริมาณและชนิดของ ester และกรดจะแตกตางกันตามแหลงกําเนิด โดยจะพบ Coniferyl cinnamate (70-80%), Coniferyl benzoate และ Cinnamic acid (10%), Benzoic acid (5%), Sumaresinolic acid, Styrene เล็กนอย, Vanillin และ Benzaldehyde ฯลฯ. (2, 3, 10) สรรพคุณ กํายานมีการใชกันในโลกตะวันออกมานานหลายพันป ในรูปของทิงเจอรกํายาน ใชเปนยาฆาเชื้อโรคบาง ชนิด แกไอ, ขับเสมหะ, ขับปสสาวะ, หามเลือด, เปนยาฝาดสมาน, ขับลม, บํารุงหัวใจ, สงบประสาท, ลด ความเครียด, คลายความวิตกกังวล ทําใหรูสึกสบายใจขึ้น และไดมีการนํามาใชทาง Aromatherapy กันอยาง แพรหลาย (2, 3, 10)

35. โกโก ชื่อพฤกษศาสตร Theobroma cacao L. วงศ STERCULIACEAE Common name: Cacao, Cocoa, Chocolate tree โกโก เปนไมตนขนาดเล็ก สูง 3-10 ม. ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับหรือเวียนรอบ ผิวเกลี้ยง รูปรีถึงรูปไขแกมขอบ ขนาน หรือรูปไขกลับ ยาว 10-28 ซม. กวาง 4-10 ซม. ปลายแหลม โคนใบมนสอบ ขอบใบเรียบถึงเปน คลื่นเล็กนอย เสนแขนงใบ 9-12 คู กานใบยาว 1-3 ซม. มีหูใบขนาดเล็ก หลุดรวงงาย ดอกออกเปนชอเดี่ยว แตกจากตนและกิ่งกาน จํานวน 1-7 ดอก กานดอกยาว 1-1.5 ซม. ดอกมีสีขาวหรือเหลืองออน กลีบเลีย้ งมี 5 กลีบ รูปทรงเรียวแหลมรูปหอก ขนาดเล็ก ยาว 5-7 มม. กวาง 1-1.5 มม. มีขนปกคลุมภายนอก กลีบดอกมี 2 สวน สวนบนและสวนลางเชื่อมติดกัน เกสรเพศผู 10 อัน เกสรเพศเมีย 1 อัน กานเกสรเพศเมียยาว 2-3 มม. ยอดเกสรเพศเมีย แยกเปน 5 แฉก ผลรูปไขแกมรูปขอบขนาน ขนาดใหญ ยาว 20-25 ซม. กวาง 10 ซม. ผลฉ่าํ น้าํ แหงแลวไมแตก เมล็ด เรียงเปนแถว 5 แถว รอบแกนกลางผล เมล็ดสีน้ําตาล จํานวนหลายเมล็ด รูปรี ยาว 2-2.5 ซม. กวาง 1.2-1.5 ซม. โกโก มีการปลูกกันทั่วไปในประเทศ จัดเปนไมเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะแถบภาคใตที่มีอากาศรอนชื้น และ ปริมาณน้ําฝนมาก เปนพรรณไมดั้งเดิมของลุมน้าํ อเมซอน ในทวีปอเมริกาใต (7, 11) แถบประเทศบราซิล, เม็กซิโก และโบลิเวีย สารสําคัญ ในใบพบ alkaloids Theobromine, Caffeine, Theophylline, Methylxanthine เปนตน ในเมล็ดโกโก พบ Theobroma oil หรือ Cocoa butter, protein, alkaloids Theobromine, Caffeine tannins, น้ําตาล, แปง และสารระเหยงายอีกมากกวา 70 ชนิด (11, 22) สรรพคุณ เมล็ดโกโกถกู นํามาใชเปนอาหารเสริมอยางดีในชื่อ “Food of the gods” โดยนําผลโกโกมาหมัก แลวแยกเมล็ดออกมา ทําความสะอาด ยางไฟแลวกระเทาะเปลือกออก จะไดเนื้อในเมล็ดที่นําไปใชได ในทางยาใชน้ํา ตมจากรากเปนยาขับระดู สวนเนื้อในเมล็ดในรูปของผงโกโกใชเปนอาหารเสริม, ผสมช็อกโกแลต สวนน้ํามันโกโก ใชเปนสารแตงกลิ่นและรสในอาหาร ยาและเครื่องดื่มหลายชนิด สารสําคัญคือ alkaloid Theobromine จาก โกโกมีโครงสรางคลาย Caffeine มาก แตจะมีฤทธิ์ออนกวา จะมีฤทธิ์กระตุนระบบประสาทสวนกลาง, กระตุน หัวใจ, ขับปสสาวะ, ขยายเสนเลือด คลายกลามเนื้อเรียบ และแกหืดหอบคลายกับฤทธิ์ของ Theophylline และ ถากินเมล็ดมาก ๆ ใชเปนสารเสพติดได (11, 13, 22)

36. โคกกระสุน ชื่อพฤกษศาสตร Tribulus terrestris L. วงศ ZYGOPHYLLACEAE Common name: Small calthrops, Devil’s thorn, Burnut โคกกระสุน เปนไมลมลุกอายุ 1 หรือ 2 ป ลํา ตนเปนเถา เลื้อยไปตามพื้นดิน ยาวไดถึง 90 ซม. มีรากยาว เถามีขนหยาบปกคลุม ใบเปน ใบประกอบ ยาวไดถึง 15 ซม. ประกอบดวย ใบยอย 5-7 คู เรียงตรงกันขาม โคนใบเวา ใบ ยาว 4-8 มม. กวาง 2-5 มม. ปลายใบแหลม หรือมนกลม ขอบใบเรียบ มีขนปกคลุมทั้งสอง ดาน ดอกออกเปนดอกเดี่ยว ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 2 ซม. กานดอกยาว 5-10 มม. กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ รูป ยาวรีแกมรูปหอก ยาว 3-6 มม. กวาง 1-2 มม. จะหลุดรวงงาย กลีบดอกรูปไขกลับ ยาว 4-8 มม. กวาง 3-5 มม. เกสรเพศผูมีจาํ นวน 8-10 อัน เรียงเปน 2 วง กานชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. รังไขทรงกลม มีขนาดเสนผาน ศูนยกลาง 1 มม. ผลมีกา นผลยาว 1-1.5 ซม. ทรงกลม มีหนามแหลมและแข็ง แบงเปน 5 ซีก แตละซีกมีหนามแข็ง 2 อัน มีขนยาวสีขาวปกคลุมทั้งผล เมื่อแหงแลวแตก มีเมล็ดภายใน 2-5 เมล็ด โคกกระสุน มีเขตการกระจายพันธุทั่วประเทศ ตามที่รกรางวางเปลา ชอบดินที่รวนปนทราย ตั้งแตระดับน้ําทะเลจนถึง ความสูง 150 ม. จากระดับน้ําทะเล ในตางประเทศพบในเขตรอนทั่วโลก (17) สารสําคัญ ผลแหงพบ glycosides 2 ชนิด คือ Tribuloside และ Astragalin, alkaloids ที่ สําคัญ 2 ชนิด คือ Harmane และ Harmine ทั้งตนพบ Terrestriamide, น้ํามัน, ชันยาง และ nitrates (5, 9) สรรพคุณ น้ําตมจากผลแหง (ในขนาด 10-15g.) กินเปนยาเย็น มีผลตอตับ ไต เปนยาบํารุงตับ ไต บํารุงกระดูก บํารุงสายตา แกปวดทางเดินปสสาวะ ชวยใหคลอดบุตรงาย เปนยาลดความดันโลหิตสูง และเปนยาที่มีฤทธิ์ตอระบบ ประสาทสวนกลาง ชวยปองกันการชักบางประเภท (ใหระวังการใชในสตรีมีครรภ) (5, 9, 14)

37. ขาวสาลี ชื่อพฤกษศาสตร Triticum aestivum L. วงศ GRAMINEAE Common name: Common bread wheat, Wheat, Common wheat ขาวสาลี เปนพืชจําพวกธัญพืช อายุปเดียว มีระบบราก ฝอย ลําตนกลมและกลวงภายใน มีขอและปลอง 3-6 ปลอง ลําตนมีสมี วง ขาว หรือเขียวออน แตกหนอได 23 หนอ ในแตละกอ ใบมีแผนใบแบนแคบ รูปคลายดาบ ยาวเรียว มีกาบใบและติ่งใบหอหุมที่โคนใบ ดอกเปน ดอกชอเชิงลด ออกที่ปลายยอด ยาว 7.5-15 ซม. ประกอบดวยดอก 10-30 ดอก แตละดอกมีกาบชอ ยอยรองรับ จํานวน 2 อัน มีดอกยอยจํานวน 1-5 ดอก มีกาบบนและกาบลางรูปไขหอหุม เอาไวภายในดอกเพศผูจะอยูดา นปลายชอ สวนดอกเพศเมียจะอยูดานโคนชอ เกสร เพศผูมีจาํ นวน 3 อัน มีกานชูเกสรเพศเมียสั้นมาก เมล็ดเปนชนิดเมล็ดเดียวแข็งของธัญพืชทั่วไป รูปรียาว หรือรูปไข ยาว 4-10 มม. มีรองตื้นอยูดานบนของเมล็ด มีขนออนปกคลุม ขาวสาลี มีการปลูกไมมากนักในภาคเหนือของประเทศ มีถิ่นกําเนิดจากแถบประเทศตะวันออกกลาง เหนือเสนศูนย สูตร ในเขตอบอุนหรือเขตหนาวบางเขต โดยอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 20-25°C อาจขึ้นไดถึงระดับ 4,000 ม. จากระดับน้ําทะเลในเทือกเขาหิมาลัยของจีน, เนปาล และธิเบต (14) สารสําคัญ เมล็ดขาวสาลีจะมีแปงเปนสวนประกอบอยูประมาณ 70% และมีแรธาตุอื่น ๆ อีกเปนองคประกอบสําคัญ (5, 6) สรรพคุณ ขาวสาลี เปนธัญพืชอยางดีที่มีการบริโภคกันอยางแพรหลายทั่วโลก สําหรับผูปวยโรคเบาหวานและโรค กระเพาะ, สําหรับผูปวยระหวางพักฟน ในทางยาใชเมล็ดแกในขนาด 15-30 g. ตมกินน้ําเปนยาบํารุงหัวใจ ลด ความดันโลหิตสูง ชวยใหนอนหลับ และสงบประสาท ดังสูตรตัวอยาง ชะเอมขาไก (Glycyrrhiza uralensis) 12 g. ขาวสาลี (Triticum aestivum) 30 g.พุทราจีน (Ziziphus jujuba) 10 ผลตมในน้ํา 3 แกว เคี่ยวใหงวดเหลือ 1 แกว ใชดื่มแกอาการซึมเศรา, แกอารมณ ฉุนเฉียว และหงุดหงิดงาย (5, 6, 14)

38. แฝกหอม ชื่อพฤกษศาสตร Vetiveria zizanioides (L.) Nash ex Small วงศ GRAMINEAE Common name: Cuscus, Vetiver, Vetivert, Sevendara grass แฝกหอม เปนหญามีอายุหลายป สูง 1-2 ม. รากมีกลิ่นหอม ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับ แตกออกจากลําตน หรือเหงาใต ดินจากโคนกอ ใบรูปแคบยาวคลายใบดาบ ยาว 80-150 ซม. กวาง 8-12 มม. ขอบใบคม มีเสนกลางใบสีขาวแบง ครึ่งแผนใบ ดอกออกเปนชอที่ปลายยอด ชอยาว 15-30 ซม. มีสีมวงอมเขียว หรือสีน้ําตาลมวง ผลเปนชนิดผลแหง ไมแตกตนแฝกหอมกับตนหญาคาจะคลายกันมาก ถาดูจากลักษณะรวมภายนอก จะแตกตางกันทีโ่ คนกอ โดยโคนกอ ของแฝกหอมจะแบน สวนโคนหญาคาจะเปนกอกลม แฝกหอม เปนพืชที่นํามาปลูกกันในประเทศ ทั้งใชในทางยาและชวยปองกันการพังทะลายของหนาดิน เปนพรรณไม ดั้งเดิมทางภาคใตของประเทศอินเดีย ศรีลังกา และไดมีการนําไปปลูกกันทั่วไปในเขตรอนทั่วโลก (11) สารสําคัญ รากและสวนเหงาใตดิน เมื่อทําการกลัน่ จะไดน้ํามันแฝกหอม หรือถาทําการสกัดดวยสารทําละลายจะได ชันที่ใชในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องสําอาง น้ํามันแฝกหอมประกอบดวย esters ของ Vetivenol ไดแก Vetiverol, Vitivone, terpenes, Vetivenes, Vetivenol, Vetivenic acid, Vetiveryl acetate (2, 10) สรรพคุณ รากและสวนเหงาใตดิน ใหสารหอมระเหยที่ใชกันมาแตโบราณ โดยน้ําตมจากรากกินเปนยาเย็น ชวยขับ ปสสาวะ บํารุงธาตุ ขับพยาธิ์ แกไข, แกกระหายน้ํา ขับเหงื่อ, ขับระดู, ฆาเชื้อโรคบางชนิด, แกปวดเกร็งในชองทอง, สงบประสาท, ผอนคลายความวิตกกังกวล ในอินเดีย และศรีลังกา น้ํามันแฝกหอมไดชื่อวาเปน “Oil of tranquility” (น้ํามันหอมที่ทําใหสงบและเยือกเย็น) (2, 10)

39. กระชับ ชื่อพฤกษศาสตร Xanthium strumarium L. วงศ COMPOSITAE Common name: Burweed, Cocklebur, Large cocklebur กระชับ เปนไมลมลุก อายุปเดียว สูงไดถึง 1.5 ม. แตกกิ่งกานเรียงสลับจากโคนลําตน ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบ กวาง รูปหัวใจ หรือสามเหลี่ยมกวาง ขอบจักเวาแหวงลึกบางตื้นบาง มีขนปกคลุมประปราย ขนาดกวางยาวประมาณ 15 x 15 ซม. โคนใบเวาเล็กนอย ดอกออกเปนดอกชอ จากซอกใบของลําตน ดอกเพศผูและเพศเมียอยูในตน เดียวกัน แตแยกกันอยู ดอกเพศผูม ีขนาดเล็ก อยูเปนกระจุกกลมตรงปลายชอ สวนดอกเพศเมียอยูตดิ กันเปนคูใน กระเปาะกลมรูปไข จํานวน 2-12 กระเปาะ ๆ ยาว 2-3 ซม. ผลคลายผลเงาะ มีหนามแข็ง สวนปลายงอ แตละ กระเปาะมี 2 ผล แตละผลมีเมล็ดเดียว เมล็ดแกมีสีดาํ กระชับ มีเขตการกระจายพันธุตามที่ราบลุมแมนา้ํ และชายฝงแมน้ําของประเทศ ในตางประเทศพบเขตการกระจาย พันธุจากทวีปอัฟริกาถึงเอเชียตะวันออกในประเทศจีน และญี่ปุน และประเทศแถบอินโดจีน สารสําคัญ เมล็ดพบ Sesquiterpene lactones ไดแก Xanthinin, Xanthumin, Xanthatin ฯลฯ. และยังพบ glycoside Xanthostrumain, Oxalic acid และน้ํามันที่ประกอบดวย Oleic acid, Linoleic acid เปนตน (3, 5, 6) สรรพคุณ น้ําตมจากทั้งตน กินเปนยาขับเหงื่อ, ขับน้ําลาย เปนยาฝาดสมาน, สงบประสาท และเปนยาบํารุงธาตุ น้ําตม จากผลกินเปนยาเย็น, ขับเหงื่อ, ขับปสสาวะ, สงบประสาท และคลายความวิตกกังวล (5, 6) แตถา ใชมากจะเปน ยาเสพติดและทําใหเกิดอาการมึนเมาได

40. พุทราจีน ชื่อพฤกษศาสตร Ziziphus jujuba Mill. วงศ RHAMNACEAE Common name: Jujube Tree; Chinese date พุทราจีน เปนไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-10 ม. แตกกิง่ กานมากและมีหนามตามลําตนและกิ่งกาน ใบเปน ใบเดี่ยว รูปไขแกมรี ยาว 5-8 ซม. กวาง 3-5 ซม. ออกเรียงสลับ โคนใบกลมมน ปลายใบแหลม ดานหลังใบผิวเปน มันเรียบ ดานทองใบมีขนสั้นปกคลุม ดอกออกเปนชอกระจุก สีเหลืองออนหรือเขียวออน แตกออกจากกิ่งกานทีโ่ คน ซอกใบ ชอยาวประมาณ 3 ซม. ดอกมีเสนผานศูนยกลางประมาณ 7 มม. มีกลีบเลีย้ ง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ เกสร เพศผูจาํ นวน 5 อัน อยูระหวางซอกกลีบดอก เกสรเพศเมีย จํานวน 1 อัน รังไขอยูเหนือวงกลีบ ผลเปนผลสด มีเนื้อ เมล็ดเดียว มีเปลือกหอหุมสีเขียวเมื่อออน และกลายเปนสีแดงหรือแดงสมเมื่อแก รูปไขหรือเกือบกลม ขนาดเสนผาน ศูนยกลาง 1.5-2 ซม. เมล็ดแข็งมาก มีรอยหยักตื้น ๆ รอบเมล็ด พุทราจีน มีการปลูกเปนพืชเศรษฐกิจทั่วทุกภาคของประเทศ ในตางประเทศพบที่ประเทศอัฟกานิสถาน, อินเดีย, จีน และญี่ปุน และไดมีการนําไปปลูกในเขตรอนทั่วโลก (5, 14) สรรพคุณ น้ําตมจากเปลือกตมกินเปนยาฝาดสมาน แกปวดทอง, แกบิด, แกทองเสีย, แกไอ, แกเหงือกอักเสบ (6, 11) ผลแหงชวยการทํางานของมามและกระเพาะอาหาร, ชวยยอย, บํารุงรางกาย, ฟอกเลือด, ยาระบายอยางออน, แกไอ, ชวยสงบประสาท, และใชผสมกับยาสูตรอื่น ๆ เพื่อใหยาออกฤทธิ์ไดนานขึ้น (5, 14)

Related Documents

Psychotropic Plants
December 2019 12
Plants
November 2019 36
Plants
November 2019 40
Plants
June 2020 26
Plants
May 2020 18
Plants
May 2020 20