Power Of Display 1

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Power Of Display 1 as PDF for free.

More details

  • Words: 335
  • Pages: 2
" " " " ( curators Power of Display อำานาจ

ของ ตูโ้ ชว์

ว่าด้วย

)

ในเมืองไทย

โดย เถกิง พัฒโนภาษ

(on curatorial malpractice and inethical intervention of coporate sponsors in art exhibitions)

บันทึกของผู้เขียน เรื่องนี้เขียนขึ้นจากประสบการณ์ตรงของผู้เขียนในฐานะผู้สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เพื่อให้ข้อมูลต่อสาธารณชนเกี่ยวกับข้อปฏิบัติพื้นฐานที่ภัณฑารักษ์ศิลปะร่วมสมัย "ควรกระทำา" ต่อศิลปิน และเกี่ยวกับบทบาทที่องค์กรธุรกิจเอกชน "ไม่ควรทำา" ในการสนับสนุนการจัดนิทรรศการศิลปะ เรื่องนี้ เกิดขึ้นเพราะผู้เขียนหมดความอดทนกับความมั่วซั่ว และความเห็นแก่ได้ ที่เห็นอยู่ในการจัดนิทรรศการศิลปะรอบๆตัว ครั้งแล้วครั้งเล่า จนครั้งล่าสุด ซึ่งผู้เขียนถูก ภัณฑารักษ์(curator) "ขอร้อง" ให้เข้าร่วม นิทรรศการนี้ถูกตั้งชื่อว่า "inspired by the King" จัดแสดงระหว่าง วันที่ 11 พฤษภาคม ถึง 13 มิถุนายน 2549 ที่ร้านค้า Playground ในซอยทองหล่อ กรุงเทพฯ อย่างไรก็ตามผู้อ่านพึงเข้าใจว่า วัตถุประสงค์หลักในการจัดนิทรรศการดังกล่าว ก็เพื่อเฉลิมฉลองการครองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แต่วัตถุประสงค์ของเรื่องนี้ไม่ตั้งใจพาดพิงหรือวิจารณ์การเฉลิมฉลองดังกล่าวแต่อย่างใด ดังนั้น หากหลังจากเรื่องนี้เผยแพร่ออกไป แล้วมีผู้ใดพยายามตีความพาดพิงไปในทางที่เสื่อมเสียต่อการเฉลิมฉลองสิริราชสมบัติ ก็พึงทราบว่าผู้นั้นไม่ประสงค์ดี เพราะผู้เขียนเห็นด้วยกับการเฉลิมฉลองสิริราชสมบัติและจงรักภักดีต่อองค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวอย่างยิ่ง เรื่องนี้แบ่งเป็น 5 ตอน ประกอบด้วย 1. เหตุเกิดเมื่อ 11 พฤษภา 2549 2. "อำานาจ" ของ "ตู้โชว์" 3. เมืองไทย พศ.นี้ ใครๆก็ลุกขึ้นมาเป็น curator ได้ครับ 4. กรุงเทพ พศ.นี้ มีงานเปิดนิทรรศการแทบทุกอาทิตย์

เหตุเกิดเมื่อ

11

2549

พฤษภา

ผมรู้ด้วยสัญชาตญาณที่สั่งสมจากการทำางานทางทัศนศิลป์ ทั้งออกแบบและศิลปะมากว่า 20 ว่าประติมากรรมที่ผมทำาขึ้นใหม่เฉพาะสำาหรับงานนี้ ต้องโดน "เล่นของ" อะไรสักอย่างแน่ๆ

curators

หลังจากพากเพียรโทรศัพท์หาเหล่า เพื่อขอเข้าไปดูแลการติดตั้งงาน แต่ได้รับการปฏิเสธอย่างห้วนๆ

"จะเข้ามาทำาไม

ปี

ทุกครั้งว่า…

เข้ามาก็คงไม่มีประโยชน์"

บังเอิญผมเป็นศิลปินงี่เง่าที่ทะลึ่งเลือกทำางานซึ่ง

…จำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้

"แสง"

ที่มีลักษณะจำาเพาะมากๆ

…จำาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องติดตั้งใน "สิง่ แวดล้อม" ที่เหมาะสม งานของผมจึงจะ

"เกิด"

ได้

งานที่ว่านี้สืบเนื่องมาจากปริญญาเอกที่ผมใช้เวลาทำากว่าสี่ปีที่อังกฤษ ภายใต้การกำากับของ Professor Andrew Stonyer ผู้ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ทำาปริญญาเอกโดยการสร้างงานศิลปะ สำาเร็จเป็นคนแรกของโลก กับ

Professor

Tom

Troscianko

ผู้ที่เป็นนักวิชาการมือหนึ่งของโลกทางด้าน Perceptual Psychology และ Computational Science งานทุกชิ้นของผมมีประเด็นสำาคัญอยู่ที่ภาพลวงตาชนิดหนึ่งที่เกิดจากการที่คนเราอาจเห็นวั ตถุที่เว้าเข้าไป(concave) กลายเป็นวัตถุที่นูนออกมา(convex) และภาพลวงตาที่ว่านี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีการจัดแสดงและการให้แสงที่เหมาะสม การติดตั้งและจัดแสดงงานของผม จึงจำาเป็นต้องอาศัยความเข้าใจและความเชี่ยวชาญพอสมควร ไม่ใช่คนอื่นจะทำาไม่ได้ แต่ใครจะย่นย่อ 10 ทำาความเข้าใจเรื่องนี้ วันที่

11

พฤษภา

15.30 น.

ปี

ลงเหลือสองวันได้ครับ

มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี

เพราะผมใช้เวลาทำาวิจัย

1996

พูดสั้นๆก็คือ เขาคิดว่าเขาเป็นยิ่งกว่าไอน์สไตน์หรืออย่างไร ถึงคิดว่าจะย่นเวลาที่ว่านี้ได้ และจะติดตั้งงานของผมได้โดยไม่มีผมช่วย "ภายในเวลา 2 วัน" ไม่กี่ชั่วโมงก่อนเปิดนิทรรศการ ผมเดินปลดปล่อยพลังงานส่วนเกินออกจากตัว จากสถานีรถไฟฟ้าทองหล่อ

ไปถึง

Playground

ผมเองยังไม่เห็นเลยคร้าบบบบ

(ใครเคยไปที่นั่นคงรู้นะครับว่ามันลึกขนาดไหน โดยเฉพาะตอนบ่ายสามที่แดดยังร้อนเปรี้ยง)

ไอ้ที่เดินปลดปล่อยพลังงาน เกือบทะลุซอยทองหล่อ ก็ช่วยไม่ได้แล้วล่ะครับคราวนี้ ทั้งแกลเลอรี่แตกฮือด้วยเสียงจากพลังงานส่วนที่เหลือทั้งหมดของผม เหล่า

curators

ที่บา้ เดินกลางแดดนานกว่าครึ่งชั่วโมง ก็เพราะผมไม่ต้องการให้ตัวเองปะทุอารมณ์โกรธใส่ใคร Playground พอเดินไปถึงห้องนิทรรศการ

Hiroki

จนวงแตกกันไปทั้งตึก ผมเจอ Kentaro

เพื่อนศิลปินชาวญี่ปุ่น ที่ถูกลากมาเข้าร่วมแสดงงานครั้งนี้ด้วย

เคนทาโร่

เดินทำาหน้าเซ็งๆมาหาผม

ส่วนเขาเหล่านั้นที่หลอกให้ผมและเพื่อนส่งผลงานศิลปะที่เป็นเหมือน "ลูกของเรา" เข้ามาให้เขาเชือด จะได้ไม่เสียโอกาสที่จะพีอาร์ตัวเองอย่างที่ต้องการ

ถามว่า

"งานของยูอยู่ไหน?"

curator

ผมกวาดตาไปรอบแกลเลอรี่ ก็หางานของตัวเองไม่เจอ เคนทาโร่ยิ้มแห้งๆบอกว่า ตอนแรกงานเขาก็หางานของตัวเองไม่เจอเหมือนกัน แต่ในไม่กี่นาทีก็เห็นงานศิลปะของเขา "ถูกฆ่า" อยู่บนผนังที่ทาสีนำ้าเงิน-ขาว-แดง ขนาดใหญ่มหึมา เบียดเสียดอยู่กับงานของศิลปินคนอื่นๆร่วมยี่สิบคน ทีส่ ำาคัญก็คือ งานของเคนทาโร่ ถูกแขวนไว้สูงถึง "ระดับสายตาเปรต" ทั้งที่เคนทาโร่พากเพียรเขียน

instruction

สำาหรับการแสดงงานอย่างละเอียดว่า (เล็กเท่าตั๋วรถเมล์ไทย

โดยเหตุที่งานของเขามีขนาดเล็กมาก

และเป็นภาพวาดเหมือนจริงของตัวรถเมล์ไทย) จึงจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง "ทิ้ง space" ให้ผู้ชมได้ซึมซับงานอย่างเงียบๆ (visually quiet) ผนังธงชาติยักษ์นี่เองที่เป็นที่รวมทั้งงานของ Brian Curtin จิตรกรชาวไอริช กับงานของ Earnest Chan และ Dovan Ong จิตรกรชาวสิงคโปร์ งานของทุกคนที่ใช้เวลาสร้างนานนับเดือน และอุตส่าห์ส่งงานข้ามประเทศมาร่วม ก็ถูก "ลงฑัณฑ์" ด้วยแถบธงชาติยักษ์กับความยัดทะนานของงานในผนังยาวไม่กี่เมตร ต้องไม่ลืมบอกว่า ชาวต่างประเทศทุกคนที่ส่งงานมาร่วมครั้งนี้ เป็น 'connection' ที่มาจากผมและไบรอันล้วน

"ขอร้อง"

และที่เราไปลากเขาเข้ามาก็เพราะถูก

(ไบรอัน

เออเนสต์

กับทีมบริหารแกลเลอรี่ พยายามเข้ามาทำาให้ผม "สงบเสงี่ยม" ลงหน่อย แขกเหรื่อไฮโซทั้งหลายกำาลังดาหน้าเข้ามาในงานอีเวร(event)แห่งเดือน จะได้ไม่ตกใจแตกฮือ

กับ

โดแวน

จึงเลือกไม่โผล่หวั มาร่วมงานเปิดนิทรรศการเสียดื้อๆ

ทำาไมไม่กระซิบผมหน่อย???)

อีกไม่กี่นาที ผมก็ต้องสยดสยองกับสิ่งที่แขวนอยู่ปลายขอบผนังลายธงชาติ งานของผมเองครับ



ประติมากรรมที่ผมเตรียมการและหลังขดหลังแข็งมาเกือบสองเดือน ถูก "รุมสังหาร" ด้วยแสงไฟสปอตไลท์อลังการตระการตานับสิบดวง จนขาวโพลนไปทั้งแผ่น ทั้ง form ทั้ง texture ที่หลังขดหลังแข็งทำาในสตูดิโอ สูญสลายกลายเป็นแผ่นไฟเบอร์กลาสโง่ๆหนึ่งแผ่น แอบอยุ่ที่มุมห้อง หลังเสาหนาเกือบครึ่งเมตร เรื่องภาพลวงตา ซึ่งเป็นเรื่องคอขาดบาดตายในงานของผม แหะแหะ… มันกลายเป็นเรื่องที่ผมอวดอ้างขึ้นมาลอยๆ ไม่เห็นมีใครเห็นเลย

…ใจดีจังนะครับ หลังจากทีผ่ มโทรขอเข้ามาดูการติดตั้งตั้งหลายวันก่อนหน้านี้ …ตั้งใจจังเลยนะครับ

ไม่ต้องพูดถึงครับ

หลังจากที่ผมเขียน instruction อย่างละเอียด เพราะรู้เลาๆว่าจะโดนเล่นของ แต่ไม่รู้ว่าจะโดนหนักขนาดนี้

กว่าสี่หน้า

มิตรรุ่นน้อง ผูท้ ี่บังเอิญเป็นผู้บริหารระดับสูงของบริษัทที่เป็นสปอนเซอร์นิทรรศการนี้ เดินเข้ามาปลอบทำานองว่า มันคงไม่ได้ดังใจร้อยเปอร์เซนต์ไปทุกอย่างหรอก ผมรู้สึกขอบคุณนำ้าใจไมตรีจากเขา แต่ผมก็นึกในใจว่า

"ไอ้งานผมที่เห็นอยู่ข้างหน้านี่

มันเป็นซากเหลืออยู่ไม่ถึงสิบเปอร์เซนต์ครับ" ผมคิดว่า สังคมไทย รวมทั้งคนที่ทำางานเกี่ยวกับการจัดการศิลปะหลายคนในเมืองไทย ยังไม่เข้าใจความสำาคัญในการให้ความเคารพต่องานศิลปะและเคารพความคิดของผู้สร้างง านสักเท่าไร ไม่อย่างนั้น

คงรู้แกวความมั่วของการจัดงานนี้

คนหนึ่งพยายามเข้ามาจัดแสงให้ใหม่

วันที่

"พฤษภาทมิฬ"

11

และเพื่อนศิลปินนานาชาติทุกคน ที่ผมลากมาร่วมแสดงงาน

พฤษภา

2549

สำาหรับ

(จบตอนที่ 1)

คงไม่กลายเป็น

งานศิลปะของผม

Related Documents

Power Of Display 1
November 2019 5
Power Of Display 1
November 2019 11
Display
April 2020 30
Display
May 2020 28
Display
December 2019 54