Plawan Central Log
เน้ือหาคู่มือ 1. ความสามารถของโปรแกรม 2. ความต้องการระบบ 3. ดาวน์โหลดโปรแกรม 4. ลักษณะการทำางาน 5. การติดตัง้ Plawan Central Log 6. ตัง้ค่า Network 7. เพ่ม ิ User ในระบบ(สำาหรับ Authentication) 8. การตัง้ค่าเคร่ ืองลูก(Clients) 9. Authentication User เม่ อ ื คอมพิวเตอร์เคร่ ืองลูกเข้าอินเทอร์เน็ต 10. การดู Report ของ Plawan Central Log
1. ความสามารถของโปรแกรม - ระบบจัดการและเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Traffic Data Log file Management) - ระบบพิสจู น์การมีตัวตนของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (User Authentication) - ระบบกรองข้อมูล (Content Filtering Module) - ระบบการบล็อคเว็บตามรายการ (URL Blacklist ) พร้อมระบบอัพเดตอัตโนมัติ Subversion control - Auto Update - ระบบป้ องกันการค้นหาคำา(keyword)ไม่เหมาะสม (Content Keyword Blacklist module) - ระบบเครือข่ายส่วนบุคคล (VPN : Virtual Private Network for Setup/Update) - ระบบสำาหรับการกำาหนดเวลาให้ตรงกับเวลาจริงโดยอิงเวลาสากล (Global Time Synchronization) - ข้อมูลสรุปสถานะการทำางานของ Plawan Central Log (Summary Status) - สามารถตัง้ค่าและจัดการระบบตามความต้องการ (Systems / Network / Object / Services Customized Module) - ระบบ Firewall ป้ องการบุกรุกจากผู้ไม่หวังดี (Firewall Packet Filtering and Redirect) - ระบบจัดการผู้ใช้งานในเครือข่าย (User / Group Management)
- ระบบบริหารความเร็วอินเทอร์เน็ต (Traffic Shaping) - ระบบจัดการพร็อคซ่ี (HTTP Proxy) - ระบบแชร์ไฟล์ (File Servers) - สามารถติดตัง้ Module ท่ีต้องการเพ่ม ิ เติมได้ (Easy Installation Module)
2. ความต้องการระบบ 1.) คอมพิวเตอร์พีซี (สเปคย่ิงสูงย่ิงดี) - ต้องเป็ นเคร่ อ ื งเปล่าๆ ท่ไี ม่มีระบบปฏิบัติการใดๆ - CPU 1 GHz ขึ้นไป - RAM 256 MB ขึน ้ ไป - Harddisk (ควรมีขนาดใหญ่เพราะต้องใช้เก็บ Log) - CD-ROM Drive (เฉพาะตอนติดตัง้) - LAN Card จำานวน 2 ตัว (หรือมากกว่าขึ้นอยูก ่ ับการใช้งาน) 2.) แผ่นซีดีโปรแกรม Plawan Central Log
3. ดาวน์โหลดโปรแกรม สามารถดาวน์โหลดโปรแกรม Plawan Central Log ได้ท่ี http://203.149.32.15/iso/plawan-8.04lts.iso http://www.plawan.com/download/plawan-8.04lts.iso http://mirror.kapook.com/plawan/plawan-8.04lts.iso
4. ลักษณะการทำาการงาน
อธิบายการทำางานโดยสังเขป การวางเคร่ ือง Plawan Central Log สามารถวางในวง Network ได้ หลายวิธีแต่วิธีท่ีปลอดภัยและได้ผลดีท่ส ี ด ุ คือวางคัน ่ ระหว่างเคร่ ืองข่ายสาธารณะ(Internet)กับเครือข่าย ภายใน(LAN : Local Area Network) โดย LAN Card ขานอก(eth0)จะเช่ อ ื มต่อกับ Router และต้องตัง้ ค่า IP Address ให้อยูใ่ น Range เดียวกันกับ Router ส่วน LAN Card ขาใน(eth1)โดยปกติจะตัง้ไอพีเป็ น 127.0.0.2 และจ่ายไอพีอต ั โนมัติให้กับเคร่ ืองลูก ส่วนเคร่ อ ื งลูกในเครือข่ายให้ตัง้ค่าเป็ น DHCP (Obtian an IP address automatically)
5. การติดตัง้ Plawan Central Log 1.) หลังจากดาวน์โหลดไฟล์ Plawan Central Log มาเรียบร้อยแล้ว ให้ทำาการบันทึกลงแผ่น CD เน่ อ ื งจากเป็ นไฟล์สกุล .iso (ผู้ติดตัง้สามารถใช้โปรแกรมจำาพวก Nero ทำาการ Write หรือ Burn Image ได้เลย ซ่ ึงขัน ้ ตอนนีต ้ อ ้ งขออนุญาตลงในรายละเอียดวิธีการครับ) 2.) เร่ิมต้นติดตัง้ด้วยการ Boot จากแผ่น Plawan Central Log จะปรากฏหน้าต่างดังรูป ให้เลือกตัว เลือกแรกแล้วกดป่ ม ุ Enter
3.) แสดงสถานะการสำารวจทรัพยากรระบบก่อนติดตัง้ ให้รอสักครู่ (ส่วนนีจ้ะรอนานประมาณ 10 20 นาที)
4.) รอจนกระทัง่แสดงหน้าต่างติดตัง้ Plawan Central Log ดังรูป จากนัน ้ ให้คลิกเลือก ภาษาไทย และคลิกป่ ุม ถัดไป
5.) คลิกป่ ม ุ ถัดไป
6.) คลิกเลือก Thailand จากนัน ้ ให้คลิกป่ ุม ถัดไป
7.) มาถึงขัน ้ ตอนการจัดเตรียมพ้น ื ท่ีในฮาร์ดดิสสำาหรับติดตัง้ ในท่น ี จี้ ะเลือกเป็ นแบบ Guided ดังรูป ซ่ ึงง่ายท่ีสด ุ (แต่ฮาร์ดดิสจะต้องไม่มีข้อมูลสำาคัญอยูใ่ นนัน ้ นะครับ) เรียบร้อยแล้วคลิกป่ ุม ถัดไป
8.) ตัง้ช่ อ ื และรหัสผ่านสำาหรับผู้ดูแลระบบ จากนัน ้ คลิกป่ ุม ถัดไป
9.) คลิกป่ ม ุ Install
10.) จะแสดงสถานะการติดตัง้ให้รอสักครู่(ประมาณ 10-15 นาที)
11.) คลิกป่ ม ุ รีสตาร์ทเดีย ๋ วนี้
12.) ระบบจะทำาการรีสตาร์ทใหม่ ให้รอสักครู(่ ซ่ ึงจะรอประมาณ 10 นาที แต่ถ้าหากเคร่ อ ื งไม่Restart แนะนำาให้กดป่ ุม Power ปิ ดแทน และก่อนท่เี คร่ ืองจะ Boot เข้าโปรแกรม Plawan อีกครัง้ อย่าลืมเอาแผ่น CD ออกก่อนนะครับ)
13.) จะเข้าสูห ่ น้า Login ให้ผู้ใช้ใส่ Username ท่ีได้ตัง้ไว้จากขัน ้ ตอนข้อท่ี 8
14.) ใส่ Password ท่ีได้ตัง้ไว้ในขัน ้ ตอนข้อท่ี 8
15.) เข้าสู่หน้าต่าง Plawan Central Log ดังรูป
ถึงตอนนีข้น ั ้ ตอนของการติดตัง้โปรแกรม Plawan Central Log เสร็จสมบรูณ์แล้วครับ
6. ตัง้ค่า Network 1.) คลิกเมาส์ขวาบริเวณหน้าจอ จากนัน ้ คลิกเลือกเมนู Application > Network > Web Browser > Firefox 3 Browser ดังรูป
2.) หากเห็นข้อความ Address Not Found ก็อย่างเพ่ิงตกใจครับ ให้เข้าสูส ่ ว่ นของการตัง้ค่า Plawan Central Log โดยเข้าท่ี https://127.0.0.1/ebox ดังรูป
3.) จากนัน ้ คลิกท่ล ี ิงค์ Or you can add an exception…
4.) คลิกท่ีปุ่ม Add Exception…
5.) คลิกท่ีปุ่ม Get Certificate
6.) คลิกท่ี Confirm Security Exception
7.) จากเข้าสูห ่ น้า Login ให้ผู้ใช้พม ิ พ์รหัสผ่าน ซ่ ึงรหัสผ่านก็คือ password (รหัสผ่านสามารถเปล่ียน ภายหลังได้)
8.) เข้าสูส ่ ่วนจัดการในโปรแกรม Plawan Central Log หากผู้ใช้ต้องการให้จดจำารหัสผ่านจากขัน ้ ตอน ข้อท่ี 7 ก็ให้คลิกป่ ม ุ Remember
แต่ถ้าไม่ต้องการให้จดจำาก็ให้คลิกท่ีปุ่ม Never for This Site (เพ่ ือ
ความปลอดภัยควรคลิกป่ ุมนี)้
9.) ทำาการตัง้ค่าหมายเลขไอพีของ LAN Card โดยคลิกท่เี มนู Network > Interface จากนัน ้ ให้ตัง้ ค่าดังนี้ - eth0 (LAN Card ขานอก) เซ็ตหมายเลข IP และ Netmask ให้อยูใ่ น Range เดียวกับ Router
- eth1 (LAN Card ขาใน) เซ็ตหมายเลข IP เป็ น 127.0.0.2 และ Netmask เป็ น 255.255.255.252 ดังรูป เรียบร้อยแล้วคลิกท่ป ี ่ ุม Change
10.) จากนัน ้ คลิกป่ ุม Save changes (ปกติหลังปรับเปล่ียนค่าทุกอย่างท่ีอยูใ่ น Plawan Central Log จะต้องคลิกป่ ม ุ Save changes)
11.) ระบบจะเตือนว่ามีการบันทึกข้อมูลการแก้ไข ให้ผู้ใช้คลิกเคร่ ืองหมายถูก ดังรูป
12.) คลิกป่ ม ุ Save อีกครัง้
13.) ระบบกำาลังทำาการตัง้ค่าให้รอสักครู่
14.) ทำาการตัง้ค่า DNS ซ่ ึงจะเป็ นค่า DNS ของ ISP ท่ีเราใช้บริการอินเทอร์เน็ตอยู่ เช่น หากเราใช้ บริการของ ทรู ค่า DNS ก็จะเป็ น 203.144.207.29, 203.144.207.49 หรือหากใช้อน ิ เทอร์เน็ตของไอเน็ตก็จะ เป็ น 203.150.213.1, 203.150.218.161 เป็ นต้น โดยให้ผู้ใช้เข้าท่ีเมนู Network > DNS > Add new ดังรูป
15.) ใส่ค่า DNS จากนัน ้ คลิกท่ี Add
16.) คลิกท่ี Save changes เพ่ ือบันทึกค่า
17.) คลิกท่ีปุ่ม Save อีกครัง้
18.) การตัง้ค่าเสร็จเสร็จสมบรูณ์
19.) ตัง้ค่า Gateway เคร่ ือง Plawan Central Log ให้ต่อเช่ ือมอินเทอร์เน็ต โดยคลิกท่เี มนู Network > Gateways > Add new
20.) ใส่หมายเลขไอพี Gateway ซ่ึงเป็ นหมายเลขไอพีของ Router ผู้ใช้งานสามารถ Limit ความเร็ว อินเทอร์เน็ตได้ในช่อง Upload และ Download จากนัน ้ คลิกป่ ุม Add และทำาการ Save changes ตามปกติ เป็ นอันสิน ้ สุดการตัง้ค่า Network
21.) ท้ายสุดของขัน ้ ตอนตัง้ค่า Network คือการตรวจสอบความเรียบร้อย ให้ผู้ติดตัง้คลิกท่ีเมนู Summary
22.) ให้มองหาหัวข้อ Network Interfaces จากนัน ้ ตรวจสอบดูความพร้อมในการตัง้ค่า LAN Card แต่ละใบ eth0=LAN Card ใบท่ี 1 , eth1=LAN Card ใบท่ี 2 และ eth3 = LAN Card ใบท่ี 3(ถ้ามี) ค่าท่ี ต้องตรวจก็คือ - Status หากมีการต่อสาย LAN จะต้องปรากฏ link ok - MAC address แสดงชุดหมายเลขของ LAN Card ใบนัน ้ (เป็ นค่าของอุปกรณ์ท่ีปกติจะแสดงอยู่ แล้ว) - IP Address จะต้องแสดงหมายเลขไอพีท่เี ราได้ตัง้ไว้จากขัน ้ ตอนท่ีผ่านมาในข้อท่ี 9.)
7. เพ่ิม User ในระบบ(สำาหรับ Authentication) 1.) ท่ีเคร่ อ ื ง Plawan Central Log ให้คลิกเมาส์ขวาบริเวณหน้าจอ จากนัน ้ คลิกเลือกเมนู Application > Network > Web Browser > Firefox 3 Browser ดังรูป
2.) ให้เข้าสูส ่ ว่ นของการตัง้ค่า Plawan Central Log โดยเข้าท่ี http://127.0.0.1 หรือ http://127.0.0.2/ ดังรูป
3.) ใส่ Username = admin และ Password = password ดังรูป ซ่ ึงเป็ นส่วนของการ จัดการ User (เพ่ อ ื การ Authentication) และส่วนแสดง Report Log ใน Plawan Central Log
4.) คลิกเลือกเมนู Plawan > Plawan Radius
5.) คลิกท่ีแท็บ Add User > ทำาการเพ่ม ิ ช่ อ ื และรหัสผ่านให้กับ User ท่ีจะใช้งานอินเทอร์เน็ต เรียบร้อยแล้วคลิกป่ ุม Submit ครับ
เม่ อ ื
6.) ตรวจสอบ User ท่ีได้ Add เข้าไปในระบบได้โดยคลิกท่ีแท็บ User
8. การตัง้ค่าเคร่ อ ื งลูก(Clients) 1.) ท่ีเคร่ อ ื ง User (ท่ีจะเล่นอินเทอร์เน็ต) ให้ทำาการตัง้ค่าเป็ น DHCP โดยดับเบิล ้ คลิกท่ีไอคอน Local Area Connection ดังรูป
2.) คลิกท่ีปุ่ม Properties
3.) ดับเบิล ้ คลิกท่ี Internet Protocol (TCP/IP)
4.) ในแท็บ General ให้คลิก Optain an IP address automatically และ Optain DNS Server address automatically จากนัน ้ คลิกป่ ุม OK --> User เสร็จสมบรูณ์
OK
--> คลิกป่ ม ุ Close การตัง้ค่าสำาหรับ
9. Authentication User เม่ ือคอมพิวเตอร์เคร่ ืองลูกเข้าอินเทอร์เน็ต 1.) เม่ อ ื User เปิ ด Browser เข้าเล่นอินเทอร์เน็ต ก็จะปรากฏหน้าต่าง Plawan GW Authentication ดังรูป ให้ใส่ Username และ Password (ท่ไี ด้ผู้ดูแลระบบได้ Add ไว้ในหัวข้อท่ี 7 เร่ ือง เพ่ิม User ในระบบ)
2. เม่ อ ื Authentication ผ่าน ระบบจะแสดงสถานะของตัวผู้ใช้งานดังรูป ถึงตอนนี้ User ก็สามารถท่ี จะเข้าใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ตามปกติ
10. การดู Report ของ Plawan Central Log 1. ท่ีเคร่ อ ื ง Plawan Central Log ให้คลิกเมาส์ขวาบริเวณหน้าจอ จากนัน ้ คลิกเลือกเมนู Application > Network > Web Browser > Firefox 3 Browser ดังรูป
2.) ให้เข้าสูส ่ ว่ นของการตัง้ค่า Plawan Central Log โดยเข้าท่ี http://127.0.0.1 หรือ http://127.0.0.2/ ดังรูป
3.) ให้เข้าสูส ่ ว่ นของการจัดการ User (เพ่ ือการ Authentication) และส่วนแสดง Report Log ใน Plawan Central Log
4.) คลิกท่ีเมนู Plawan > Plawan Report ดังรูป
5. เข้าสู่ Plawan Report จากตัวอย่างทดสอบด้วยการ Filter Mac Address ของ User ผู้ดูแลระบบ สามารถ Export เป็ นออกมาเป็ นไฟล์ CSV และ PDF ได้
ท้ายท่ีสด ุ นีข้อเรียนเชิญผูใ้ ช้Plawan Central Log ทุกท่านเข้าไปถามตอบปั ญหา หรือแสดงความคิด เห็นและเสนอแนวคิดในการพัฒนาโปรแกรม OpenSource ตัวนีใ้ห้ใช้งานได้ดีกับองค์กรของเราได้ท่ี wiki.plawan.com ครับ
พัฒนาโปรแกรม
โดย
โดม เจริญยศ
คู่มือติดตัง้และวิธีใช้
โดย
นเรศ เดชผล
สนับสนุน โดย
สำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)