Wirelesslan[1]น่าอ่าน

  • Uploaded by: yuth nara
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Wirelesslan[1]น่าอ่าน as PDF for free.

More details

  • Words: 3,400
  • Pages: 36


คํานํา รายงานเรื่องอุปกรณในระบบเครือขายไรสายเปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชา 2206690 เทคโนโลยีสําหรับบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร ซึ่งเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการ ประมวลผล จัดเก็บ คนคืนและสื่อสารขอมูล โดยเฉพาะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร การสื่อสาร ขอมูลและโทรคมนาคม เครือขายคอมพิวเตอร อินเตอรเน็ตและเทคโนโลยีใหมๆ ในอนาคต รายงานฉบับนี้ประกอบดวยเนื้อหาตั้งแตเรื่องของความเปนมา รูปแบบการติดตั้ง รูปแบบ การใชงาน มาตรฐาน อุปกรณที่เปนองคประกอบ ขอคํานึงในการเลือกซื้ออุปกรณ การติดตั้ง อุปกรณ ขอดีและขอจํากัดของการใชงานระบบเครือขายไรสาย แนวโนมในอนาคตและการใช งานระบบเครือขายไรสายภายในสํานักวิทยบริการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งการนําเสนอเนื้อหา ภายในรายงานฉบับนี้จะเนื้อหาที่ไมเจาะลึกทางเทคนิคมากนัก แตจะเนนในเรื่องของความเขาใจ เบื้องตนเพื่อใหเห็นภาพรวมของระบบเครือขายไรสายและสามารถเขาใจไดงาย หากมีขอผิดพลาดประการใดทางผูจัดทําขออภัยมา ณ ทีน่ ี้ดวย สุรชาติ พุทธิมา



สารบัญ

คํานํา สารบัญ สารบัญภาพ บทนํา ระบบเครือขายไรสาย (Wireless LAN) ความเปนมาของระบบเครือขายไรสาย รูปแบบการใชงานระบบเครือขายไรสาย รูปแบบการติดตั้งและเชื่อมตอระบบเครือขายไรสาย มาตรฐานของระบบเครือขายไรสาย อุปกรณที่เปนองคประกอบของระบบเครือขายไรสาย ขอคํานึงในการเลือกซื้ออุปกรณที่ใชงานในระบบเครือขายไรสาย การติดตั้งอุปกรณ Access Point / Wireless Router ขอดีของการใชงานระบบเครือขายไรสาย ขอจํากัดของการใชงานระบบเครือขายไรสาย แนวโนมของระบบเครือขายไรสายในอนาคต การใชงานระบบเครือขายไรสาย : กรณีศกึ ษาสํานักวิทยบริการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สรุป บรรณานุกรม

หนา ก ข ค 1 2 2 3 4 6 9 18 22 25 26 27 28 29 30



สารบัญภาพ

รูปที่ 1 การใชงานแบบ Ad-Hoc รูปที่ 2 การใชงานแบบ Infrastructure รูปที่ 3 การติดตั้งแบบ Access point Mode รูปที่ 4 การติดตั้งแบบ Point-to-Point รูปที่ 5 การติดตั้งแบบ Point-to-Multipoint รูปที่ 6 การติดตั้งแบบ Repeater Mode รูปที่ 7 การติดตั้งแบบ Wireless LAN Client รูปที่ 8 PCI Card ที่ใชกับเครือ่ งคอมพิวเตอรแบบพีซี รูปที่ 9 PCMCIA Card ที่ใชกับเครื่องคอมพิวเตอรแบบโนตบุค รูปที่ 10 USB Adapter ที่ใชกับเครื่องคอมพิวเตอรทั้งแบบพีซีและแบบโนตบุก รูปที่ 11 ผลิตภัณฑเชื่อมโยงสัญญาณ (Access Point) รูปที่ 12 Wireless Broadband Router รูปที่ 13 Wireless Bridge รูปที่ 14 Wireless Bridge รูปที่ 15 Wireless PrintServer รูปที่ 16 Power over Ethernet Adapter รูปที่ 17 ตราสัญลักษณที่แสดงวาผลิตภัณฑสนับสนุนมาตรฐาน IEEE 802.11a/b/g รูปที่ 18 ตราสัญลักษณ Wi-Fi ผานการรับรองความเขากันไดของผลิตภัณฑ

หนา 3 3 4 4 5 5 6 10 10 11 11 13 16 17 17 18 18 21

อุปกรณที่ใชในระบบเครือขายไรสาย (Wireless LAN) บทนํา ปจจุบันนี้การใชระบบเครือขายคอมพิวเตอรกําลังเปนที่นิยมกันอยางกวางขวาง ในองคกร หรือหนวยงานตางๆ ระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่มีใชอยูกันเปนที่แพรหลายมีอยูสองประเภท ใหญๆ คือระบบเครือขายบริเวณเฉพาะที่ (Local Area Network หรือ LAN) และระบบเครือขาย บริเวณกวาง (Wide Area Network หรือ WAN) ซึ่งสวนมากจะนิยมใชสายเคเบิลแบบ UPS CAT5 (Unshielded Twisted Pair Category 5) ในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขาดวยกัน แตแนวโนมใน การพัฒนาเทคโนโลยีทางดานเครือขายเปนไปอยางรวดเร็วและไมหยุดยั้ง ในปจจุบันไดมีสื่อใหม ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขาดวยกันโดยไมใชสายเคเบิลหรือที่เรียกกันวาระบบเครือขายไรสาย (Wireless LAN) เปนเทคโนโลยีที่กําลังไดรับความนิยมอยางมากในยุคนี้ โดยทั่วไปเทคโนโลยี ไรสาย (Wireless Technology) สามารถแบงออกไดเปน 4 ประเภท (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 2548) ไดแก เครือขายไรสายระยะใกลหรือเครือขายสวนบุคคล (Short- Range Wireless Network or Personal Area Networks) เครือขายไรสายเฉพาะบริเวณ (Wireless LAN) ระบบไรสายแบบเขาถึง ประจําที่ (Fixed-Access Wireless System) เครือขายไรสายบริเวณกวาง (Wireless WAN) ระบบ เครือขายไรสายนี้ไดถูกนําไปใชในหลายๆ องคกรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนไมวาจะเปนโรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม โรงเรียนและ สถาบันอุดมศึกษาซึ่งรวมถึงหองสมุดดวย สําหรับหองสมุด สถาบันอุดมศึกษาทั้งในและตางประเทศไดมีการนําระบบคอมพิวเตอรมาใชอํานวยความสะดวกใน การทํางานดานตางๆ ตลอดจนงานบริการของหองสมุด หองสมุดหลายแหงนอกจากจะมีจุดบริการ คอมพิวเตอรของหองสมุดใหผูใชสืบคนสารนิเทศแลวยังไดนําระบบเครือขายคอมพิวเตอรไรสาย มาใหบริการโดยมีการเตรียมจุดเชื่อมตอเครือขายใหผูใชสามารถนําคอมพิวเตอรสวนตัวมาใชเพื่อ อํานวยความสะดวกใหผูมารับบริการสามารถศึกษาคนควาแบบออนไลนไดในหลายๆ พื้นที่ของ หองสมุดและใหผูใชสามารถใชงานจากคอมพิวเตอรของตนเองไดโดยอิสระ ซึ่งการติดตั้งระบบ เรือข ายไรสายนี้เ ปนอีกแนวทางหนึ่ งที่หองสมุดนําเทคโนโลยี สารนิเทศมาประยุกตใชกั บงาน หองสมุดเพื่ออํานวยความสะดวกและบริการแกผูใชไดกวางขวางขึ้น

2

ระบบเครือขายไรสาย (Wireless LAN) ระบบเครือขายไรสาย (WLAN = Wireless Local Area Network) เปนเทคโนโลยีที่ใชคลื่น แมเหล็กในอากาศ เชน คลื่นวิทยุ (Radio Frequency) หรือ คลื่นอินฟราเรด (Infrared) สําหรับการ สื่อสารขอมูลตางๆ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยไมตองใชสายนําสัญญาณ (สายเคเบิล)ในการ สื่อสารขอมูล เทคโนโลยี Wireless LAN จะมีอุปกรณหลักที่เรียกวา แอคเซสพอยต (Access Point) ซึ่งเปนอุปกรณสําหรับรับและสงสัญญาณและเชื่อมตอเขากับโครงสรางพื้นฐานของ Fixed Line ที่มี อยูแลว โดยปกติ Access Point 1เครื่องสามารถรองรับการทํางานของคอมพิวเตอรแบบ โนตบุคหรือคอมพิวเตอรแบบพีซีสามารถใชงานไดกับระบบเครือขายไรสายไดหลายเครื่อง ซึ่ง รัศมีของสัญญาณจะกินขอบเขตโดยประมาณอยางต่ําที่ 50 เมตรจนถึง ประมาณ 400 เมตรสําหรับ ระยะทางที่ไกลที่สุด (มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, 2548) ความเปนมาของระบบเครือขายไรสาย การสื่อสารดวยคลื่นวิทยุเปนที่รูจักและมีพัฒนาการมาอยางยาวนาน การจัดสง สัญญาณคลื่นวิทยุในยุคแรกเปนการกระจายสัญญาณ ตอมามีการสื่อสารแบบจุดหนึ่งไปยังอีกจุด หนึ่งและเริ่มมีการวางโครงรางเพื่อใชคลื่นสัญญาณวิทยุกับผูคนจํานวนมากโดยเฉพาะเรื่องระบบ โทรศัพทมือถือ ระบบเครือขายไรสายนั้นเปนการสื่อสารขอมูลโดยใชคลื่นวิทยุเชนกันซึ่งระบบ เครือขายไรสายนี้เกิดขึ้นครั้งแรกในป ค.ศ. 1971 บนเกาะฮาวายโดยเปนโครงงานของนักศึกษาของ มหาวิทยาลัยฮาวายชื่อวา “ALOHNET” ในขณะนั้นลักษณะการสงขอมูลเปนแบบ Bi-directional โดยทําการสงสัญญาณไป-กลับงายๆ ผานคลื่นวิทยุซึ่งใชสื่อสารกันระหวางคอมพิวเตอร 7 เครื่องที่ ติดตั้งอยูบนเกาะ 4 เกาะโดยรอบและมีศูนยกลางการเชื่อมตออยูที่เกาะๆ หนึ่งที่ชื่อวา Oahu (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 2548) ระบบเครือขายไรสาย คือ ระบบการสื่อสารขอมูลที่มีความ คลองตัวมากซึ่งอาจจะนํามาใชทดแทนหรือเชื่อมตอกับระบบเครือขายใชสายแบบดั้งเดิมโดยใชการ สงคลื่นความถี่วิทยุในยานวิทยุ RF และคลื่นอินฟราเรดในการรับและสงขอมูลระหวางคอมพิวเตอร แต ล ะเครื่ อ งผ า นอากาศทะลุ กํ า แพง เพดานหรื อ สิ่ ง ก อ สร า งอื่ น ๆ โดยปราศจากการเดิ น สาย นอกจากนั้นระบบเครือขายไรสายก็ยังมีคุณสมบัติครอบคลุมการใชงานทุกอยางเหมือนกับเน็ตเวิรค แบบใช ส ายและที่ สํ า คั ญ ก็ คื อ การที่ ไ ม ต อ งใช ส ายทํ า ให ก ารเคลื่ อ นย า ยและการใช ง านทํ า ได

3

โดยสะดวกซึ่ งต า งจากเน็ ต เวิ รค แบบใชส ายที่จ ะตอ งใชเวลาและการลงทุ น ในการปรั บเปลี่ ย น ตําแหนงการใชงานเครื่องคอมพิวเตอรในแตละครั้ง รูปแบบการใชงานระบบเครือขายไรสาย ระบบเครือขายไรสายสามารถแบงรูปแบบการใชงานออกเปน 2 ลักษณะ (มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, 2548) ดังนี้คือ 1. Ad-Hoc Mode เปนการติดตอสื่อสารระหวางอุปกรณคอมพิวเตอร เชน โนตบุค พีดีเอ ตั้งแตสองเครื่องเปนตนไปโดยไมตองใช Access Point การติดตอสื่อสารแบบแอดฮอคทุกเครื่อง สามารถติดตอสื่อสารกันไดโดยตรง เชนสามารถรับสงไฟล แชท วีดีโอคอนเฟอเรนซหรือเลนเกมส ในเครือขายได ดังรูป

รูปที่1 การใชงานแบบ Ad-Hoc 2. Infrastructure Mode เปนการติดตอสื่อสารโดยมีAccess Point เปนศูนยกลาง โดยทุก สถานที่ใชงานจะตองอยูภายในรัศมี ประมาณ 50 เมตรในบริเวณเปด อุปกรณคอมพิวเตอรแตละ เครื่องสามารถติดตอสื่อสารกัน และสามารถติดตอกับภายนอกเครือขายไดโดยผาน Access Point ซึ่งทําหนาที่คลายกับ Hub ในเครือขายคอมพิวเตอรแบบใชสาย เครือขายแบบนี้ สามารถมาแทนที่ เครือขายแบบใชสายไดซึ่งจะทําใหเกิดความสะดวกมากขึ้นเพราะไมตองเดินสายของแตละเครื่อง (ยกเวน Access Point ) ซึ่งสะดวกในการปรับเปลี่ยน เคลื่อนยายหรือขยายขนาดของเครือขาย ดังรูป

รูปที่2 การใชงานแบบ Infrastructure

4

รูปแบบการติดตัง้ และเชื่อมตอระบบเครือขายไรสาย ระบบเครือขายไรสายมีรูปแบบการติดตั้งและเชื่อมตอที่หลากหลายซึ่งควรคํานึง ใหเหมาะสมกับรูปแบบการใชงานดังตอไปนี้ (มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, 2548) 1. Access Point Mode คือ การใชงานโดยมี Access Point เชื่อมตอระหวางเครือขายไรสาย กับเครือขายสายทองแดง เปนลักษณะการทํางานที่นิยมใชกันมากที่สุด ดังรูป

รูปที่ 3 การติดตั้งแบบ Access point Mode 2. Wireless Bridge แบบ Point-to-Point เปนการทํางานในลักษณะที่ มีการติดตั้ง Access point เขาไปในระบบเครือขายสายทองแดงเพื่อกระจายสัญญาณไปยังเครื่องคอมพิวเตอรที่ติดตั้ง อุปกรณไรสายอยู การทํางานในลักษณะนี้เปนที่นิยมแพรหลายเนื่องจากสามารถใชงานรวมกับ ระบบสายทองแดงและยังดัดแปลงใชงานรวมกับอุปกรณที่มีอยูเดิมโดยไมตองติดตั้งอุปกรณไรสาย อื่นเพิ่มเติมมากเกินความจําเปน

รูปที่ 4 การติดตั้งแบบ Point-toPoint

5

3. Wireless Bridge แบบ Point-to-Multipoint คือ Wireless Access Point ทํางานใน ลักษณะเดียวกับ แบบ Point-to-Point คือเชื่อมตอเครือขายสายทองแดงเขาดวยกันแตมีการทํางาน รวมกันมากกวาสองเครือขาย ดังนั้น Wireless Access Point แตละเครื่องจะมีการรับสงสัญญาณถึง กันโดยตรง

รูปที่ 5 การติดตั้งแบบ Point-toMultipoint

4. Repeater Mode เปนการเพิ่ม Access Point เขาไปเพื่อทําการทวนสัญญาณใหได ระยะทางการสงขอมูลที่ไกลกวาเดิมเนื่องจากการทํางานดวยอุปกรณไรสาย ปจจุบัน Wireless Access Point ปกติที่มีขายในทองตลาดมีรัศมีการสงสัญญาณภายในอาคารประมาณ 90-120 เมตร และภายนอกอาคาร 300-400 เมตร แตการทํางานในลักษณะนี้ทําใหเครือขายทั้งสองติดตอกันดวย ความเร็วไมแนนอนและประสิทธิภาพการทํางานลดลงจึงมีการผลิตอุปกรณไรสายที่สงสัญญาณได ไกลกวาปกติขึ้นหรืออาจมีการติดตั้งเสาอากาศชนิดพิเศษเขาไปเพื่อเพิ่มระยะทางได

รูปที่ 6 การติดตั้งแบบ Repeater Mode

6

5. Wireless LAN Client เปนการสงสัญญาณจากเครือขายโดย Access Point ไปยัง Access Point อีกเครื่องหนึ่งที่ติดตั้งอยูกับเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนกับวา Access Point เครื่องนั้นทํางาน เปนอุปกรณไรสาย (PCI, PCMCIA, USB) อาจใชในชวงเริ่มตนเพื่อขยายจํานวนผูใชงานไรสายใน อนาคต

รูปที่ 7 การติดตั้งแบบ Wireless LAN Client

มาตรฐานของระบบเครือขายไรสาย มาตรฐานหลักของระบบเครือขายไรสายและอุปกรณเครือขายไรสายคือมาตรฐาน IEEE 802.11 เปนมาตรฐานระบบเครือขายไรสายที่ถูกกําหนดขึ้นโดย The Institute of Electronics and Electrical Engineers : IEEE ซึ่งเปนองคกรที่ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานเกีย่ วกับการสื่อสาร ของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร มาตรฐาน IEEE 802.11ไดรับการตีพิมพเผยแพรครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2540 มีขอกําหนดระบุไววา ผลิตภัณฑเครือขายไรสายในสวนของ PHY Layer นั้นมีความสามารถ ในการรับสงขอมูลที่ความเร็ว 1 เมกะบิตตอวินาที 2 เมกะบิตตอวินาที 5.5 เมกะบิตตอวินาที 11 เมกะบิตตอวินาทีและ 54 เมกะบิตตอวินาทีโดยมีสื่อนําสัญญาณ 3 ประเภทใหเลือกใชงาน ไดแก คลื่นวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ 5 กิกะเฮิรตซและคลื่นอินฟาเรด สวนในระดับชั้น MAC Layer นั้นไดกําหนดกลไกของการทํางานแบบ CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access/Collision Avoidance) ซึ่งมีความคลายคลึงกับ CSMA/CD (Collision Detection) ของมาตรฐาน IEEE 802.3 Ethernet ซึ่งนิยมใชงานบนระบบเครือขายแลนใชสาย โดยมีกลไกในการเขารหัสขอมูลกอน แพรกระจายสัญญาณไปในอากาศพรอมกับการตรวจสอบผูใชงานดวย มาตรฐาน IEEE 802.11 ในยุคเริม่ แรกนั้นใหประสิทธิภาพการทํางานที่คอนขางต่ํารวมถึง ไมมีการรับรองคุณภาพของการใหบริการที่เรียกวา QoS (Quality of Service) ซึ่งมีความสําคัญใน

7

สภาพแวดลอมที่มีแอพพลิเคชันหลากหลายประเภทใหใชงาน นอกจากนี้กลไกในการรักษาความ ปลอดภัยที่นํามาใชก็ยังมีชองโหวจํานวนมาก สถาบัน IEEE จึงไดจัดตั้งคณะทํางานขึ้นมาหลายชุด ดวยกันเพื่อทําการพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานใหมีศกั ยภาพเพิ่มสูงขึ้นซึ่งคณะทํางานยอยของ IEEE ไดมีการสรางมาตรฐานตางๆ ภายใตมาตรฐาน IEEE 802.11 (กวีรัตน เพ็งแจม, 2548 ; Atheros Communiation inc, 2003 ; Wireless LAN Association, 2004) ไดแก - มาตรฐาน IEEE 802.11a มาตรฐานนี้เปนมาตรฐานที่ไดรับการตีพิมพและเผยแพรเมื่อป พ.ศ. 2542 โดยใช เทคโนโลยี OFDM (Orthogonal Frequency Division Multiplexing) เพื่อพัฒนาใหผลิตภัณฑไรสาย มีความสามารถในการรับสงขอมูลดวยอัตราความเร็วสูงสุด 54 เมกะบิตตอวินาทีโดยใชคลื่นวิทยุ ยานความถี่ 5 กิกะเฮิรตซซึ่งเปนยานความถี่สาธารณะที่ใชงานไดในประเทศสหรัฐอเมริกา แต อยางไรก็ตามคลื่นวิทยุยานความถี่ 5 กิกะเฮิรตซนี้ไมไดรับอนุญาตใหใชงานโดยทัว่ ไปในประเทศ ไทย เนื่องจากสงวนไวสําหรับกิจการทางดานดาวเทียม ขอเสียของผลิตภัณฑมาตรฐาน IEEE 802.11a ก็คือมีรัศมีการใชงานในระยะสั้นและมีราคาแพง ดังนั้นผลิตภัณฑไรสายมาตรฐาน IEEE 802.11a จึงไดรับความนิยมนอย - มาตรฐาน IEEE 802.11b มาตรฐานนี้เปนมาตรฐานทีถ่ ูกตีพิมพและเผยแพรออกมาพรอมกับมาตรฐาน IEEE 802.11a เมื่อป พ.ศ. 2542 ซึ่งเปนที่รูจักกันดีและไดรับความนิยมในการใชงานกันอยางแพรหลาย มากที่สุด ผลิตภัณฑที่ออกแบบมาใหรองรับมาตรฐาน IEEE 802.11b ใชเทคโนโลยีที่เรียกวา CCK (Complimentary Code Keying) รวมกับเทคโนโลยี DSSS (Direct Sequence Spread Spectrum) เพื่อใหสามารถรับสงขอมูลไดดวยอัตราความเร็วสูงสุดที่ 11 เมกะบิตตอวินาที โดยใช คลื่นสัญญาณวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซซึ่งเปนยานความถี่ที่อนุญาตใหใชงานในแบบ สาธารณะทางดานวิทยาศาสตร อุตสาหกรรมและการแพทย ผลิตภัณฑที่ใชความถี่ยานนี้มีทั้ง ผลิตภัณฑที่รองรับเทคโนโลยี Bluetooth โทรศัพทไรสายและเตาไมโครเวฟจึงทําใหการใชงานนัน้ มีปญหาในเรื่องของสัญญาณรบกวนของผลิตภัณฑเหลานี้ สําหรับขอดีของมาตรฐาน IEEE 802.11b ก็คือ การสนับสนุนการใชงานเปนบริเวณกวางกวามาตรฐาน IEEE 802.11a ผลิตภัณฑ มาตรฐาน IEEE 802.11b เปนที่รูจักในเครือ่ งหมายการคา Wi-Fi ซึ่งกําหนดขึ้นโดย WECA (Wireless Ethernet Compatability Alliance) โดยผลิตภัณฑที่ไดรับเครื่องหมาย Wi-Fi ไดผานการ ตรวจสอบและรับรองวาเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐาน IEEE 802.11b ซึ่งสามารถใชงาน รวมกันกับผลิตภัณฑของผูผลิตรายอื่นๆ ได

8

- มาตรฐาน IEEE 802.11g มาตรฐานนี้เปนมาตรฐานทีน่ ิยมใชงานกันมากในปจจุบันและไดเขามาทดแทน ผลิตภัณฑที่รองรับมาตรฐาน IEEE 802.11b เนื่องจากสนับสนุนอัตราความเร็วของการรับสงขอมูล ในระดับ 54 เมกะบิตตอวินาทีโดยใชเทคโนโลยี OFDM บนคลื่นสัญญาณวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะ เฮิรตซและใหรัศมีการทํางานที่มากกวามาตรฐาน IEEE 802.11a พรอมความสามารถในการใชงาน รวมกันกับมาตรฐาน IEEE 802.11b ได - มาตรฐาน IEEE 802.11e มาตรฐานนี้เปนมาตรฐานทีอ่ อกแบบมาสําหรับการใชงานแอพพลิเคชัน ทางดานมัลติเมียอยาง VoIP (Voice over IP) เพื่อควบคุมและรับประกันคุณภาพของการใชงานตาม หลักการรับรองคุณภาพของการใหบริการ QoS (Quality of Service) โดยการปรับปรุง MAC Layer ใหมีคุณสมบัตใิ นการรับรองการใชงานใหมีประสิทธิภาพ - มาตรฐาน IEEE 802.11f มาตรฐานนี้เปนที่รูจักกันในชื่อ IAPP (Inter Access Point Protocol) ซึ่งเปน มาตรฐานที่ออกแบบมาสําหรับจัดการกับผูใ ชงานที่เคลื่อนที่ขามเขตการใหบริการของ Access Point ตัวหนึ่งไปยัง Access Point เพื่อใหบริการในแบบโรมมิงสัญญาณระหวางกัน - มาตรฐาน IEEE 802.11h มาตรฐานนี้เปนมาตรฐานทีอ่ อกแบบมาสําหรับผลิตภัณฑเครือขายไรสายที่ใชงาน ยานความถี่ 5 กิกะเฮิรตซใหทํางานถูกตองตามขอกําหนดการใชความถี่ของประเทศในทวีปยุโรป - มาตรฐาน IEEE 802.11i มาตรฐานนี้เปนมาตรฐานในดานการรักษาความปลอดภัยของผลิตภัณฑเครือขาย ไรสายโดยการปรับปรุง MAC Layer เนื่องจากระบบเครือขายไรสายมีชองโหวมากมายในการใช งาน โดยเฉพาะฟงกชนั การเขารหัสแบบ WEP 64/128-bit ซึ่งใชคียทไี่ มมีการเปลี่ยนแปลงซึ่งไม เหมาะสําหรับสภาพการใชงานที่ตองการความมั่นใจในการรักษาความปลอดภัยของการสื่อสาร ระดับสูง มาตรฐาน IEEE 802.11i จึงกําหนดเทคนิคการเขารหัสที่ใชคียชั่วคราวดวย WPA WPA2 และการเขารหัสในแบบ AES (Advanced Encryption Standard) ซึ่งมีความนาเชื่อถือสูง - มาตรฐาน IEEE 802.11k มาตรฐานนี้เปนมาตรฐานที่ใชจัดการการทํางานของระบบเครือขายไรสาย ไมวา จะเปนการจัดการการใชงานคลื่นวิทยุใหมปี ระสิทธิภาพโดยมีฟงกชนั การเลือกชองสัญญาณ การ โรมมิงและการควบคุมกําลังสง การรองขอและปรับแตงคาใหเหมาะสมกับการทํางาน การหารัศมี

9

การใชงานสําหรับเครื่องไคลเอนตที่เหมะสมที่สุดเพื่อใหระบบจัดการสามารถทํางานจากศูนยกลาง ได - มาตรฐาน IEEE 802.11n มาตรฐานนี้เปนมาตรฐานของผลิตภัณฑเครือขายไรสายที่คาดหมายวาจะเขามา แทนที่มาตรฐาน IEEE 802.11a มาตรฐาน IEEE 802.11b และมาตรฐาน IEEE 802.11g ที่ใชงาน กันในปจจุบนั โดยใหอัตราความเร็วในการรับสงขอมูลในระดับ 100 เมกะบิตตอวินาที - มาตรฐาน IEEE 802.1x มาตรฐานนี้เปนมาตรฐานที่ใชงานกับระบบรักษาความปลอดภัยซึ่งกอนเขาใชงาน ระบบเครือขายไรสายจะตองตรวจสอบสิทธิ์ในการใชงานกอน โดยมาตรฐาน IEEE 802.1x จะใช โพรโตคอลอาทิ LEAP PEAP EAP-TLS EAP-FAST ซึ่งรองรับการตรวจสอบผานเซิรฟเวอร เชน RADIUS Kerberos เปนตน ถึงแมวามาตรฐานของระบบเครือขายไรสายที่ถูกกําหนดขึ้นโดย IEEE จะแยกยอยออกเปน มาตรฐานตางๆ ขางตน แตอยางไรก็ตามมาตรฐานระบบเครือขายไรสายที่สามารถใชไดและเปนที่ นิยมใชในประเทศไทยมีเพียง 3 มาตรฐานคือ มาตรฐาน IEEE 802.11a มาตรฐาน IEEE 802.11b และมาตรฐาน IEEE 802.11g ซึ่งกอนที่จะเลือกใชอุปกรณที่ใชงานกับระบบเครือขายไรสายผูใช ควรที่จะศึกษารายละเอียดของแตละมาตรฐานและอุปกรณที่จะเลือกใชนั้นรองรับมาตรฐานใดให ชัดเจนเพราะแตละมาตรฐานดังกลาวนั้นก็มีขอดีและขอจํากัดที่แตกตางกัน

อุปกรณที่เปนองคประกอบของระบบเครือขายไรสาย ระบบเครือขายไรสายที่จะนํามาใชงานประกอบขึ้นดวยอุปกรณประเภทตางๆ มากมาย ซึ่ง มีทั้งออกแบบมาสําหรับใชงานกับผูใชงานภายในบานและผูใชงานภายในองคกรตางๆ อาทิ บริษัท หางราน หองสมุด ศูนยการประชุม ฯลฯ ซึ่งลักษณะและการใชงานอุปกรณเหลานัน้ (กวีรัตน เพ็งแจม, 2548 ; มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, 2548 ; มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 2548) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. PCI Card เปนการดที่ไวใชสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรแบบพีซีซึ่งไมไดรองรับการ ทํางานระบบเครือขายไรสายใหสามารถใชงานรวมกับระบบไรสายได อุปกรณ PCI Card นี้จะเปน ชองทางในการรับสงขอมูลภายในระบบเน็ตเวิรคผาน Access Point ซึ่งผูใชสามารถทําการติดตั้ง PCI Card ไดโดยการถอดฝาครอบเครื่องคอมพิวเตอรออกแลวติดตั้งเขาไปไดทันที การดนี้จะมีเสา สงสัญญาณแบบ Dipole 1 เสาที่สามารถถอดเปลี่ยนไดและผูใชงานสามารถที่จะปรับองศาใหหนั

10

ไปทิศทางที่ Access Point ตั้งอยูเพื่อใหประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนสัญญาณระหวางกันนั้นดีขึ้นได แตในปจจุบันเมนบอรดรุนใหมหลายๆ รุน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมนบอรดในระดับไฮเอนดจะมี คุณสมบัติไรสายแบบ Built-in คือติดตั้งอุปกรณที่รองรับการใชงานระบบเครือขายไรสายมาใหอยู แลวดั้งนัน้ หากผูใชใชคอมพิวเตอรรุนใหมๆ ก็ไมจําเปนตองใช PCI Card ในการใชงานระบบ เครือขายไรสาย

รูปที่ 8 PCI Card ที่ใชกับเครือ่ งคอมพิวเตอรแบบพีซี 2. PCMCIA Card ทําหนาที่เหมือนกับ PCI Card แต PCMCIA Card เปนการดที่ใชงาน สําหรับครื่องคอมพิวเตอรแบบโนตบุกที่ไมสามารถใชงานระบบเครือขายไรสายจึงตองมีการติดตั้ง PCMCIA Card ไวภายในคอมพิวเตอรโนตบุกซึ่งตัวการดนี้จะมีลักษณะเล็กเทาบัตรเครดิตและ น้ําหนักนอยจึงสามารถติดตั้งเขากับสล็อตแบบ PCMCIA ของเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุกได โดยงายสําหรับในปจจุบนั คอมพิวเตอรโนตบุกที่มีจําหนายจะนิยมผนวกรวมความสามารถในการ ใชงานเครือขายไรสายเขาไวดวยอยูแลว เชนโนตบุกที่ใชงานเทคโนโลยี Intel Centrino ของบริษัท Intel เปนตน (“อนาคตแหงคอมพิวเตอรแบบพกพา”, 2548 )

รูปที่ 9 PCMCIA Card ที่ใชกับเครื่องคอมพิวเตอรแบบโนตบุก

11

3. USB Adapter เปนการดที่ออกแบบมาใหใชงานไดทงั้ เครื่องคอมพิวเตอรแบบพีซีและ แบบโนตบุกทําหนาที่เหมือนกับ PCI Card และ PCMCIA Card คือจะเปนชองทางในการรับสง ขอมูลภายในระบบเน็ตเวิรคผาน Access Point เชนกัน ซึ่งมีใหเลือกใชทั้งแบบที่เชือ่ มตอผานสาย นําสัญญาณและในแบบที่ตอเขากับพอรต USB โดยตรง การดเครือขายไรสายแบบ USB นี้มีขอดี คือสะดวกและคุมคากับการใชงานเพราะสามารถตอเขากับเครื่องคอมพิวเตอรชนิดใดก็ไดขึ้นอยูกับ ความตองการของผูใช

รูปที่ 10 USB Adapter ที่ใชกับเครื่องคอมพิวเตอรทั้งแบบพีซีและแบบโนตบุก 4. Access Point เปนตัวกลางในการรับและสงขอมูลระหวางเครื่องคอมพิวเตอรที่ตดิ ตั้ง การดเครือขายไรสายใหสามารถติดตอสื่อสารกันไดโดยเปนอุปกรณทที่ ําหนาที่เปนสถานีกระจาย สัญญาณคลื่นวิทยุออกเปนวงกวางโดยมีรศั มีประมาณ 150- 400 เมตรตอ Access Point 1 เครื่อง โดย Access Point จะทํางานใน Layer ที่ 2 ของ Layer Model คือชั้น Data Link Layer ซึ่งทําการ ควบคุมการรับสงขอมูลในระดับฮารดแวรและตรวจสอบขอผิดพลาดในการรับสงขอมูล สําหรับ ลักษณะการทํางานจะทําหนาที่เชนเดียวกับ Hub ที่รองรับระบบเครือขายใชสายคือการแบงการใช งาน (Share Access) ระหวางเครื่องคอมพิวเตอรแบบพีซีหรือแบบโนตบุคที่กําลังใชงานระบบ เครือขายไรสายโดย Access Point จะมีพอรต RJ-45 สําหรับใชเพื่อเชือ่ มโยงเขากับเครือขายใชสายที่ ใชงานอยู

รูปที่ 11 ผลิตภัณฑเชื่อมโยงสัญญาณ (Access Point)

12

สําหรับ Access Point นั้นมีผูผลิตจากบริษัทตาง ๆ ไดผลิต Access Point รุนตาง ๆ ออกมา แขงขันกันอยางมากมายซึ่งเปนประโยชนตอ ผูใชที่จะสามารถเปรียบเทียบขอดีและขอจํากัดของ Access Point แตละรุนเพื่อทีจ่ ะสามารถเลือกใชไดอยางเหมาะสมและตรงกับวัตถุประสงคการใช งาน (“แอกเซสพอยนตไรสายสําหรับธุรกิจระดับเอ็นเตอรไพรส”, 2548) ซึ่งในที่นี้จะนําเสนอ ตัวอยาง Access Point จํานวน 4 รุน ดังนี้ 4.1. Access Point รุน Cisco Aironet 1200 Series ซึ่งเปนของบริษัท Cisco Systems Inc. สําหรับ Access Point รุนนี้มจี ุดเดนคือระบบการรักษาความปลอดภัยสูงและมี ทางเลือก(Option)ในการจัดการมาก รองรับรูปแบบการติดตั้งที่หลากหลาย รวมทั้งสามารถทํางาน รวมกับผลิตภัณฑดานความปลอดภัยอื่นๆ ของซิสโกได อยางไรก็ตามถึงแมวา Access Point รุนนี้ จะมีประสิทธิภาพอยูใ นระดับดีมากแตราคาก็สูงตามไปดวย นิยมใชในบริษัทหรือธุรกิจขนาดใหญ สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.cisco.com 4.2. Access Point รุน Gateway 7001 ซึ่งเปนผลิตภัณฑ Access Point ตัวแรกของ บริษัท Gateway Inc. สําหรับAccess Point รุนนี้มีประสิทธิภาพในการทํางานระดับปานกลาง แต สิ่งที่นาสนใจคือการที่มีอีเทอรเน็ตพอรตจํานวน 2 พอรตซึ่งการใช 2 พอรตแยกกันทําให Access Point สามารถใหบริการเน็ตเวิรคที่ตองการความปลอดภัยพิเศษกับเน็ตเวิรคไรสายปกติพรอมๆกัน ได Access Point รุนนี้เหมาะสําหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กหรือใชงานในบานที่มี Access Point ไมเกิน 10 เครื่องซึ่งไมตองการความสามารถในการจัดการมากเทาใดนัก นอกจากนี้ราคาก็ยัง ไมสูงมากนักดวย สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.gateway.com 4.3. Access Point รุน Proxim Orinoco AP-4000 ซึ่งเปนของบริษัท Proxim Corp. สําหรับAccess Point รุนนี้เหมาะสําหรับบริษัทขนาดใหญที่ตองการใชงานหลายๆ อยางไมวาจะ เปนการตรวจสอบ Access Point ที่มีอยู การสนับสนุน SNMP ที่สมบูรณและความสามารถในการ ดาวนโหลดไฟลการตั้งคาจากศูนยกลาง นอจากนีย้ ังมีเสาอากาศภายนอกเปนทางเลือกเสริมเพื่อ ชวยเพิ่มระยะการใหบริการและฟงกชนั่ ของ Wireless distribution System ซึ่งทําให Access Point ไมจําเปนตองเชื่อมตอกับอีเทอรเน็ตเพื่อเชือ่ มตอไปยังAccess Point ตัวอื่นชวยเพิ่มรัศมีในการ ใหบริการของเน็ตเวิรคได สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.proxim.com 4.4. Access Point รุน 3Com 8750 ซึ่งเปนของบริษัท 3Com Corp. สําหรับ Access Point รุนนี้มีเครื่องมือในการสํารวจไซตในตัวเครื่อง รวมทั้งมีความสามารถในการเก็บและเรียก เฟรมแวรและไฟลการตั้งคามาใชไดจากศูนยกลาง มีระบบความปลอดภัยสูงเพราะมี WPA ที่ ทํางานไดทั้งในโหมดเอ็นเตอรไพรสและฟรีแชรคีย เหมาะสําหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก และ Access Point รุนนี้มีราคาที่ไมสูงมาก สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.3com.com

13

5. Wireless Broadband Router เปนอุปกรณที่ใชเชื่อมตอเครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูง ระดับ ADSLเขาดวยกันโดย Access Point จะทํางานใน Layer ที่ 3 ของ Layer Model คือชั้น Network Layer ซึ่งทําหนาทีต่ ิดตอกําหนดการรับสงขอมูลผานเครือขายและตรวจสอบที่อยู (Addreess) ของผูรับ ในปจจุบัน Wireless Broadband Router นั้นถูกออกแบบมาสําหรับ จุดประสงคการใชงานอยางหลากหลายซึ่งสามารถเปนทั้ง Router Switch และ Access Point ใน เครื่องเดียว โดยปกติผูผลิตจะออกแบบมาใหมีพอรตเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรแบบใชสายจํานวน 4 พอรต แตผูผลิตหลายรายก็ออกอุปกรณที่มีขนาดเล็กขนาดพ็อกเก็ตทีม่ ีปุมสลับโหมดการทํางาน มาใหดว ยซึ่งเหมาะสําหรับการเคลื่อนยายบอยครั้ง กอนเลือกผูใชก็ควรที่จะศึกษารายละเอียดของ Wireless Broadband Router แตละรุนเพื่อใหไดอุปกรณทตี่ รงกับการใชงานมากที่สุด

รูปที่ 12 Wireless Broadband Router ในที่นี้จะยกตัวอยาง Wireless Broadband Router ของบริษัทตางๆ ที่มี Access Point ในตัว พรอมความสามารถในการคนหาเสนทางและพีซีการดที่ใชงานรวมกับเราเตอร จํานวน 19 รุน โดย เราเตอรตั้งแตลําดับ 1- 15 เปนเราเตอรที่สามารถใชงานไดกับมาตรฐาน 802.11g สวนเราเตอร ตั้งแตลําดับ 16-19 เปนเราเตอรที่สามารถใชงานไดกับมาตรฐาน 802.11a และg (ดุสิต นิยะโต, 2548) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 5.1. Wireless Broadband Router รุน Apple AirPort Extreme ซึ่งเปนของบริษัท Apple Computer ใชงานรวมกับการด AirPort Extreme เปนเราเตอรที่ออกแบบมาสําหรับเน็ตเวิรค ขนาดใหญ สามารถตอบสนองตอความตองการของผูใชจากคอมพิวเตอรแบบพีซีและแบบโนตบุค ของแอปเปลไดอยางดีและมีความปลอดภัย นอกจากนีย้ งั เขากันไดกับมาตรฐาน Wi-Fi และ สนับสนุนคอมพิวเตอรแบบพีซีที่ใชงานกับโปรแกรมวินโดวสอีกดวย สามารถหาขอมูลเพิ่มเติม ไดจาก www.apple.com 5.2. Wireless Broadband Router รุน Belkin F5D7230-4 ซึ่งเปนของบริษัท Belkin Corp. ใชงานรวมกับการด F5D6020 เปนเราเตอรที่มีเว็บฟลเตอรในตัวเครื่องทําใหผูใชสามารถ

14

ควบคุมทราฟฟกของการเบราซเว็บไดงาย นอกจากนี้ยังงายตอการติดตั้ง สามารถหาขอมูลเพิ่มเติม ไดจาก www.belkin.com 5.3. Wireless Broadband Router รุน Buffalo AirStation WHR3-G54 ซึ่งเปนของ บริษัท Buffalo Technology (USA) ใชงานรวมกับการด AirStation WLI-CB-G54 เปนเราเตอรที่ ออกแบบเพื่อใหงายตอการติดตั้งความปลอดภัยจึงเหมาะสําหรับผูใชมือใหมที่ไมจําเปนตองมี ความรูดานความปลอดภัยของคอมพิวเตอรและเน็ตเวิรกมากอน สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.buffalotech.com 5.4. Wireless Broadband Router รุน Dell TrueMobile 2300 ซึ่งเปนของบริษัท Dell Inc. ใชงานรวมกับการด TrueMobile 1300 เปนเราเตอรที่ไมตองมีความรูมากนักในการติดตั้ง อินเตอรเฟซในการจัดการงายตอการเขาใชงานและมีการแสดงขอมูลภาพรวมของสถานะแบบ กราฟกสําหรับอุปกรณแลนและอินเตอรเน็ตที่เชื่อมตออยูเปนอยางดี สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมได จาก www.dell.com 5.5. Wireless Broadband Router รุน D-Link AirPlus Xtreme G DI-624 ซึ่งเปน ของบริษัท D-Link Systems Inc. ใชงานรวมกับการด AirPlus Xtreme G DWI-G650 เปนเราเตอรที่ เมื่อทํางานในเทอรโบโหมดและกับทราฟฟกสามารถบีบอัดขอมูลไดมาก สามารถหาขอมูลเพิ่มเติม ไดจาก www.dlink.com 5.6. Wireless Broadband Router รุน Gateway WGR-250 ซึ่งเปนของบริษัท Gateway Inc. ใชงานรวมกับการด WGC-220 เปนเราเตอรที่จากบริษัทที่คอนขางใหมสําหรับ วงการเราเตอรแตก็มีคุณสมบัติหลายๆ อยาง เชน ความงายในการติดตั้ง การออกแบบอินเทอรเฟซ และประสิทธิภาพในการใชงาน สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.gateway.com 5.7. Wireless Broadband Router รุน GigaFast WF717-APR ซึ่งเปนของบริษัท GigaFast Inc. ใชงานรวมกับการด WF727-AEK เปนเราเตอรที่มีอินเทอรเฟสในการจัดการ สามารถตอบสนองไดเปนอยางดีแตยังตองควรปรับปรุงเพราะไมสามารถเชื่อมตอที่ระยะ 120 ฟุต สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.gigafast.com 5.8. Wireless Broadband Router รุน Hawking HWR54G ซึ่งเปนของบริษัท Hawking Technology Inc. ใชงานรวมกับการด HWP54G เปนเราเตอรที่มีอินเทอรเฟสและ คุณสมบัติดีแตยังตองควรปรับปรุงเชนกันเพราะไมสามารถเชื่อมตอที่ระยะ 120 ฟุต สามารถหา ขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.hawkingtech.com 5.9. Wireless Broadband Router รุน IOGear GWA501 ซึ่งเปนของบริษัท IOGear Inc. ใชงานรวมกับการด GWP511 เปนเราเตอรที่มีขอดีหลายหยางคือการออกแบบอินเตอรเฟซที่ดี

15

วิซารดในการติดตั้งที่ใชงานไดงายและยูทลิ ิตี้ของพีซีการดที่ไมซับซอน สามารถหาขอมูลเพิ่มเติม ไดจาก www.iogear.com 5.10. Wireless Broadband Router รุน Linksys Wireless-G WRT54GS ซึ่งเปนของ บริษัท Linksys Group Inc. ใชงานรวมกับการด WPC54GS ถือวาเปนเราเตอรที่มีประสิทธิภาพดี รุนหนึ่งซึ่งประกอบดวคุณสมบัติที่ครบถวนและวิซารดในการติดตั้งที่ใชงานไดงาย สามารถหา ขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.linksys.com 5.11. Wireless Broadband Router รุน Microsoft Wireless Base Station MN-700 ซึ่งเปนของบริษัท Microsoft Corp. ใชงานรวมกับการด MN-720 เปนเราเตอรที่เหมาะสําหรับการ ใชงานในบานเพราะมีประสิทธิภาพในการใชงานระดับหนึ่ง มีฟงกชั่นครบถวนและงายตอการ ติดตั้งเพราะมีทั้งยูทิลิตี้ที่ชวยในการติดตั้งทั้งสําหรับเราเตอรและพีซีการด สามารถหาขอมูล เพิ่มเติมไดจาก www. microsoft.com 5.12. Wireless Broadband Router รุน Netgear WGR624 ซึ่งเปนของบริษัท Netgear Inc. ใชงานรวมกับการด WG511T เปนเราเตอรที่มีคุณสมบัติมากและประสทธิภาพสูง เพราะเทอรโบโหมดที่ออกแบบมาเฉพาะ แตการติดตั้งสามารถทําไดยาก สามารถหาขอมูลเพิ่มเติม ไดจาก www. netgear.com 5.13. Wireless Broadband Router รุน SMC Barricade SMC2804 WBRP-G ซึ่ง เปนของบริษทั SMC Network Inc. ใชงานรวมกับการด EZ Connect SMC 2835W เปนเราเตอรทมี่ ี ประสิทธิภาพดีมาก มีอินเทอรเฟซที่นาใชและงายตอการเรียกฟงกชนั่ ตางๆ มีทางเลือก( Option) ในการตรวจจับผูบุกรุกดวย สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.smc.com 5.14. Wireless Broadband Router รุน U.S Robotics USR8054 ซึ่งเปนของบริษัท U.S Robotics ใชงานรวมกับการด USR5410 เปนเราเตอรที่มีทางเลือก( Option) ของการฟลเตอรท ราฟฟกใหเลือกจํานวนมาก แตการใชงานเครื่องมือในการติดตั้งคอนขางยากและขาดทางเลือก ทางดานความปลอดภัย สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.usr.com 5.15. Wireless Broadband Router รุน ZyXEL Prestige 334W ซึ่งเปนของบริษัท ZyXEL Communications Corp. ใชงานรวมกับการด ZyAIR เปนเราเตอรที่สามารถนํามาใชงานทั้ง ภายในบานและในบริษัท สําหรับการติดตัง้ จะตองใชความรูเกี่ยวกับเน็ตเวิรคซึ่งอาจจะไมสะดวก สําหรับผูใชงานในบานสวนใหญที่ไมใชผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอร สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมได จาก www.zyxel.com 5.16. Wireless Broadband Router รุน D-Link AirPremier AG DI-784 ซึ่งเปน ของบริษัท D-Link Systems Inc. ใชงานรวมกับการด AirPremierv เปนเราเตอรที่สามารถทํางานได

16

หลายโหมด แตการทํางานในเทอรโบโหมดจะมีเสถียรภาพนอยกวาโหมดปกติ เมื่อทํางานใน โหมด a/g จะมีคุณสมบัติพิเศษจํานวนมาก สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.dlink.com 5.17. Wireless Broadband Router รุน Linksys Wireless A+G WRT55AG ซึ่งเปน ของบริษัท Linksys Group Inc. ใชงานรวมกับการด Wireless A+G เปนเราเตอรที่มีอินเตอรเฟซที่ สามารถใชงานไดงายและคูม ือชวยในการติดตั้งซึ่งอํานวยความสะดวกใหการติดตั้งทําไดงายขึ้น แตยังขาดประสิทธิภาพในการรักษาความปลอดภัย สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.linksys.com 5.18. Wireless Broadband Router รุน Netgear FWAGR114 ซึ่งเปนของบริษัท Netgear Inc. ใชงานรวมกับการด WAG511 เปนเราเตอรที่ที่ใชโลหะเปนตัวเครื่อง มีไฟรวอลลที่มี ประสิทธิภาพสูงและมีอินเตอรเฟซที่สามารถใชงานไดงา ย สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.netgear.com 5.19. Wireless Broadband Router รุน SMC EZ SMC2304 WBR-AG ซึ่งเปนของ บริษัท SMC Network Inc. ใชงานรวมกับการด EliteConnect SMC2536W-AG เปนเราเตอรที่มี ตัวเครื่องที่สวยงาม มีอินเทอรเฟซที่นาใชและงายตอการเขาใชฟงกชนั่ ตางๆ มีทางเลือก( Option) ในการตรวจจับผูบุกรุกที่ตั้งคาได สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก www.smc.com 6. Wireless Signal Booter เปนอุปกรณเครือขายไรสายที่ใชเพิ่มระยะทางและประสิทธิภาพ การทํางานของ Access Point โดยการเพิ่มกําลังสงของสัญญาณเพื่อใหไดรัศมีการใชงานที่มากขึ้น กวาเดิม

รูปที่ 13 Wireless Signal Booter 7. Wireless Bridge เปนอุปกรณทอี่ อกแบบมาสําหรับใชเชื่อมตอเครือขาย 2 เครือขายให สื่อสารกันไดซึ่งมีทั้งแบบติดตั้งภายนอกซึ่งใชเชื่อมตอเครือขายระหวางอาคารและแบบที่ติดตั้ง ภายในอาคาร โดย Wireless Bridge มี 2 ลักษณะใหเลือกใช คือ แบบที่ใชเชื่อมตอระหวางจุดตอจุด (Point-to-Point) และแบบจุดตอหลายจุด (Point-To-Multipoint)

17

รูปที่ 14 Wireless Bridge 8. Wireless PrintServer เปนอุปกรณที่ใชสําหรับเชื่อมตอเขากับเครื่องพิมพเพื่อใหมี ความสามารถในแบบไรสายซึ่งมีทั้งรุนที่ออกแบบมาสําหรับใชงานกับเครื่องพิมพที่มีพอรต Parallel พอรต USB หรือทั้งสองพอรตรวมกันดวย

รูปที่ 15 Wireless PrintServer 9. PoE (Power over Ethernet) Adapter เปนอุปกรณที่ออกแบบมาสําหรับแกไขขอยุงยาก ในการเดินสายไฟฟาเพื่อใชงานกับอุปกรณไรสายโดยใชวิธีการจายไฟผานสายนําสัญญาณ UTP ที่ ยังมีคูสายที่ยังไมถูกนํามาใชงานมาทําหนาที่แทนซึ่งอุปกรณPoE Adapter จะมี 2 สวน คือ Power Injector เปนอุปกรณกําเนิดไฟฟาและนําสัญญาณขอมูลจาก Switch Hub เขาไปสายนําสัญญาณสู อุปกรณไรสายอยาง Access Point และอีกอุปกรณเปน Spliter ที่ใชแยกสัญญาณขอมูลและไฟฟา ใหกับ Access Point ผูผลิตหลายรายในปจจุบันออกแบบให Switch สนับสนุนมาตรฐาน IEEE 802.3af (PoE) มาพรอมดวย (“เสริมประสิทธิภาพในเครือขายไรสายดวย PoE” , 2548)

18

รูปที่ 16 Power over Ethernet Adapter ขอคํานึงในการเลือกซื้ออุปกรณที่ใชงานในระบบเครือขายไรสาย การเลือกซื้อผลิตภัณฑสําหรับใชงานกับเครือขายไรสายนั้นมีขอพิจารณา เชนเดียวกับผลิตภัณฑเครือขายที่ใชสายอืน่ ๆ โดยคุณสมบัติที่ควรพิจารณามีดังตอไปนี้ (กวีรัตน เพ็งแจม, 2548) 1. การเลือกมาตรฐานใหเหมาะสมสําหรับการใชงานโดยในปจจุบันมาตรฐานที่ นิยมใชกันมากคือมาตรฐาน IEEE802.11g ซึ่งรองรับอัตราความเร็วสูงสุดในระดับ 54 เมกะบิตตอ วินาที (Mbps) โดยเปนความเร็วที่เพียงพอสําหรับการใชงานโดยทัว่ ๆ ไปในปจจุบนั ไดอยางดีแลว นอกจากนั้นยังสนับสนุนการทํางานรวมกันกับมาตรฐานเดิมอยาง IEEE802.11b ได แตในขณะนี้ ผูผลิตหลายๆ รายตางแขงขันกันผลิตผลิตภัณฑที่สนับสนุนเทคโนโลยี MIMO ออกมามากขึ้น โดยเทคโนโลยี MIMO นี้เปนเทคโนโลยีทใี่ ชเทคนิคการใชตัวสงตัวรับสัญญาณหลายตัวซึ่งทําให การถายโอนขอมูลสามารถทําไดเร็วขึ้นดวยการใชประโยชนจาก Multipath ขอมูลหลายชุดจึงถูกสง และรับไดในเวลาเดียวกันจึงเปนที่คาดหมายกันวาในอนาคตเครือขายไรสายที่มีประสิทธิภาพการ ใชงานที่มากกวา ใหแบนดวดิ ทสูงและมีรศั มีการทํางานที่ดีกวานั้นจะเขามาทดแทนมาตรฐาน IEEE 802.1g เดิม แตอยางไรก็ตามผลิตภัณฑที่จะใชงานคุณสมบัติเหลานี้ไดอยางเต็มพิกัดจะตอง เปนอุปกรณจากชุดเดียวกันซึง่ ปจจุบันอุปกรณเหลานีย้ ังคงมีราคาแพงอยูมาก ดังนัน้ การเลือกใช อุปกรณสําหรับมาตรฐาน IEEE802.11g จึงยังคงเปนทางเลือกที่ดีที่สุดในขณะนี้

รูปที่ 17 ตราสัญลักษณที่แสดงวาผลิตภัณฑสนับสนุนมาตรฐาน IEEE 802.11a/b/g

19

2. การเลือกระบบอินเตอรเฟซที่เหมาะสม สําหรับการดอีเทอรเน็ตไรสายใน ปจจุบันนัน้ มีหลายชนิดใหเลือกใชเชนเดียวกัน สวนเครื่องคอมพิวเตอรแบบโนตบุกก็มีการผนวก รวมคุณสมบัตแิ บบไรสายมาพรอมกับตัวเครื่องแลว หากเครื่องคอมพิวเตอรแบบโนตบุกไมมี คุณสมบัติที่ใชงานกับระบบเครือขายไรสายในตัวเครื่องก็สามารถใช Wireless PCMCIA Card ติดตั้งเขาไปในตัวเครื่องหรือถาตองการใชเครื่องคอมพิวเตอรแบบพีซีรวมกับระบบเครือขายไรสาย ก็ควรเลือกใชการดแบบ USB Adapter ซึ่งราคาอาจจะคอนขางสูงแตสามารถใชงานไดความคุมคา และหลากหลายกวา สําหรับการใชงานเครือ่ งคอมพิวเตอรแบบพีซีกับระบบเครือขายไรสายเพียง อยางเดียวก็ใชอินเทอรเฟซแบบ PCI Card ไดซึ่งสวนใหญจะมีสายสัญญาณและเสาอากาศที่ตั้งบนที่ สูงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการสื่อสารได 3. การเลือกผลิตภัณฑเชื่อมโยงสัญญาณระหวางกัน(Access Point / Wireless Router ) เพราะนอกจากอุปกรณเหลานี้จะสนับสนุนการทํางานในแบบ Ad-Hoc หรือ Peer-to-Peer แลว ระบบเครือขายไรสายก็ยังสามารถใช Access Point เปนจุดเชื่อมตอสัญญาณกับเครือขายใชสาย เพื่อการแชรการใชทรัพยากรรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพและตอบสนองความตองการได มากกวาแบบ Insfrastructure โดยถายังไมมกี ารเชื่อมตออินเทอรเน็ตหรือติดตั้งระบบเครือขายมา กอนก็ควรจะเลือกใชอุปกรณอยาง Wireless Router ที่มีคุณสมบัติในแบบ All-in-One เพราะ สามารถเปนทั้ง Router Switch และ Access Point ในเครือ่ งเดียวซึ่งจะใหความคุมคามากกวาหรือ หากมีการใชงานเครือขายใชสายและไรสายอยูกอนแตตอ งการเพิ่มประสิทธิภาพของการใชงาน ดังนั้นควรเลือกใช Access Point ที่สนับสนุนโหมดการทํางานแบบ Bridge และ Repeater รวมดวย 4. การใชงานระบบรักษาความปลอดภัย สิง่ ที่ตองคํานึงเปนพิเศษในการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑระบบเครือขายไรสายคือตองใหความสนใจในการเขารหัสขอมูลเพราะการสื่อสารไรสาย นั้นเปนการติดตอสื่อสารดวยการใชคลื่นวิทยุที่แพรไปตามบรรยากาศ ทั้งนี้ก็เพื่อปองกันการดัก จับสัญญาณจากผูไมประสงคดี ดังนั้นการเลือกซื้อผลิตภัณฑไรสายจึงตองคํานึงถึงฟงกชันการ เขารหัสที่ใช ซึ่งเทคนิคที่ใชงานโดยทัว่ ๆ ไปสําหรับผูใชตามบาน Wired Equivalent Privacy หรือ WEP ขนาด 64/128-bit รวมกับ MAC Address Filtering นั้นก็เพียงพอแลว แตสําหรับการใชงาน ภายในองคกรนั้นควรใชเทคนิคการตรวจสอบและกําหนดสิทธิ์การใชงานที่สูงกวาโดยเลือกใช WPA (Wi-Fi Protected Privacy) ซึ่งใชคียก ารเขารหัสที่นาเชื่อถือรวมกับเทคนิคการตรวจสอบและ การกําหนดสิทธิ์ในแบบ 2 ฝงหรืออาจจะใชระบบรักษาความปลอดภัยแบบอื่นๆ เชน RADIUS รวม ดวยก็ได 5. เสารับสงสัญญาณของผลิตภัณฑ สําหรับเสาอากาศของการดไรสายนั้นถาเปน การดแบบ PCMCIA และแบบ USB จะเปนเสาอากาศ Built-in มาพรอมตัวการด สวนการดแบบ

20

PCI นั้นจะเปนเสาอากาศแบบ Reverse-SMA Connector ซึ่งสามารถถอดออกได โดยทั่งไปจะเปน ทั้งแบบเสาเดีย่ วทีห่ มุนเขากับตัวการดและอีกแบบคือมีสายนําสัญญาณตอเชื่อมกับเสาที่ตั้งบนพื้น หรือยึดติดกับผนังได สําหรับการเลือกซื้อนั้นควรเลือกซื้อเสาอากาศที่มีสายนําสัญญาณตอเชื่อม กับเสาที่ตั้งบนพื้นหรือยึดติดกับผนังเนื่องจากใหความยืดหยุนในการติดตั้งมากกวาเพราะสามารถ ติดตั้งบนที่สูงๆ ได สวนอุปกรณเชื่อมโยงสัญญาณระหวางกัน อาทิ Access Point หรือ Wireless Router นั้นจะมีเสานําสัญญาณทั้งในแบบเสาเดี่ยวและ 2 เสาซึ่งการเลือกซื้อนั้นควรเลือกซื้อแบบ 2 เสา เนื่องจากใหประสิทธิภาพในการรับสงสัญญาณที่ดีกวาโดยลักษณะของเสานั้นจะมีทั้งในแบบที่ ยึดติดกับเขากับตัวอุปกรณซงึ่ สวนใหญจะพบเห็นในรุนที่ออกแบบมาสําหรับผูใชงานตามบานและ อีกแบบเปนเสาที่สามารถถอดเปลี่ยนไดซึ่งหัวเชื่อมตอนัน้ จะเปนทั้งแบบ Reverse-SMA Conector SMA Conector และแบบ T-Connector ซึ่งถามีความจําเปนที่จะตองเปลีย่ นเสาอากาศควรจะเลือก ซื้อจากทางผูผลิตรายเดียวกันเพื่อใหแนใจวาจะไมซื้อหัวเชื่อมตอผิดประเภท สําหรับชนิดของเสา อากาศที่มีจําหนายจะมี 2 ชนิดหลักก็คือ แบบ Omni-Direction Antenna ซึ่งเปนเสาที่ทุกผูผลิตใหมา กับตัวผลิตภัณฑแลวโดยคุณสมบัติของเสาประเภทนี้คือ การรับและสงสัญญาณในแบบรอบทิศทาง ในลักษณะเปนวงกลมทําใหการกระจายสัญญาณนั้นมีรัศมีโดยรอบครอบคลุมพื้นที่ หากตองการ ใชงานที่มีลักษณะรับสงสัญญาณเปนเสนตรงเพื่อใหไดประสิทธิภาพการรับสงและระยะทางตาม ตองการก็ควรใชเสาแบบ Direction Antenna ซึ่งนิยมใชงานกับผลิตภัณฑประเภท Wireless Bridge สําหรับการสื่อสารในแบบ Point-to-Point สวนการเพิ่มระยะทางการเชื่อมตอใหไดไกลมากยิ่งขึน้ ก็สามารถเลือกใชเสาอากาศ High Gain ที่มีการขยายสัญญาณสูงกวาเสาอากาศที่ทางผูผลิตใหมากับ ตัวอุปกรณโดยมีใหเลือกใชหลายแบบทั้งในแบบที่มีคา Gain 5 Gain 8 Gain 12 Gain 14 หรือ Gain ที่สูงกวาได 6. กําลังสงที่ปรับได สําหรับการใชงานผลิตภัณฑไรสายนั้นการปรับกําลังสง สัญญาณไดเปนคุณสมบัติหนึ่งของผลิตภัณฑโดยกําลังสงสูงสุดจะไมเกิน 100mW หรือ 20dBm ผูผลิตบางรายจะมีผลิตภัณฑที่สนับสนุนกําลังสูงสุดนี้ ซึ่งคากําลังสงที่มากก็แสดงวาสามารถที่จะ แพรสัญญาณไปในระยะทางที่ไกลหรือใหรัศมีที่มากขึ้น แตก็สามารถปรับกําลังสงใหลดต่ําลง เพื่อใหเหมาะสมกับความตองการได โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชงานภายในองคกรที่จะตองใชกําลัง สงใหเหมาะสมกับพื้นที่เนื่องจากกําลังสงสูงๆ อาจจะไปรบกวนสํานักงานขางเคียงและอาจถูก ลักลอบใชงานระบบเครือขายไรสายก็เปนได 7. ความเขากันไดของผลิตภัณฑไรสายเพราะการใชงานระบบเครือขายไรสายให ไดประสิทธิภาพสูงสุดนั้นขึน้ อยูกับความเขากันไดของผลิตภัณฑไรสายดวย หากผลิตภัณฑไร สายของผูผลิตแตละรายไมสามารถทํางานเขากันไดกับผูผลิตรายอื่นก็จะทําใหการใชงานเครือขาย

21

ไรสายดอยประสิทธิภาพลงไป ดังนั้นเพื่อใหการใชงานระบบเครือขายไรสายไดประสิทธิภาพ และความคุมคาที่สุดควรเลือกใชผลิตภัณฑทั้งหมดจากผูผลิตรายเดียวกัน ซีรีสเดียวกันหรือถา เลือกใชผลิตภัณฑตางผูผลิตก็ควรตรวจสอบแนใจวาเลือกใชชิปเซ็ตซึ่งสนับสนุนเทคโนโลยี เดียวกันและกอนการเลือกซื้อควรตรวจสอบความเขากันไดของผูผลิตแตละรายโดยสังเกตไดจาก ตราสัญลักษณที่ผานการรับรองจาก Wi-Fi กอน

รูปที่ 18 ตราสัญลักษณ Wi-Fi ผานการรับรองความเขากันไดของผลิตภัณฑ 8. การอัปเกรดเฟรมแวรเพื่อเพิ่มเติมคุณสมบัติใหมๆ อุปกรณสําหรับระบบ เครือขายไรสายโดยเฉพาะอยางยิ่ง Access Point และ Wireless Router หรือผลิตภัณฑไรสาย ประเภทอื่นๆ ผูผลิตอาจจะเพิ่มเติมคุณสมบัติใหมๆ ภายหลังโดยเฉพาะอยางยิ่งฟงกชันการ เขารหัส อุปกรณที่ผลิตออกมากอนหนานี้จะสนับสนุน WEP, WPA ซึ่งไมเพียงพอสําหรับระบบ รักษาความปลอดภัยทีต่ องการความนาเชื่อถือสูงมากกวาทําใหผูผลิตรายตางๆ มีการออกเฟรมแวร รุนใหมๆ ที่สนับสนุนการทํางานเพิ่มเติมอยางทําใหรองรับ WPA2 ซึ่งเปนฟงกชนั การเขารหัสรุน ใหมลาสุดของอุปกรณไรสายออกมา ผูผลิตจะมีเมนูเชือ่ มโยงเว็บไซตเพื่อใหผใู ชงานไดดาวน โหลดเฟรมแวรรุนใหมมาใชงานได นอกจากขอคํานึงในการเลือกซื้ออุปกรณที่ใชงานในระบบเครือขายไรสายขางตนแลว กอนการเลือกซื้อควรตรวจสอบในรายละเอียดเบื้องตนของผลิตภัณฑดงั นี้ - ความเร็วในการรับสงขอมูล - รัศมีของผลิตภัณฑเครือขายไรสายที่ครอบคลุมถึง - ผลิตภัณฑมคี วามนาเชื่อถือเปนที่ยอมรับ - Access Point หรือผลิตภัณฑไรสายอื่นมีความสามารถในการปรับเปลี่ยนชองสัญญาณ และกําลังสงได

22

- การติดตั้งที่งา ยและสะดวกในการใชงาน - ฟงกชันในการเขารหัสสัญญาณที่ใชเพื่อความปลอดภัย - มีการพัฒนาและมีซอฟตแวรใหดาวนโหลดผานเว็ปไซตของผูผลิต - ผลิตภัณฑมไี ฟแสดงสถานะการทํางาน - ผลิตภัณฑมเี ครื่องหมายแสดงการผานการตรวจสอบมาตรฐานจาก Wi-Fi Alliance เพื่อใหการใชงานระบบเครือขายไรสายไดประสิทธิภาพสูงสุดและตรงกับวัตถุประสงค การใชงาน ดังนั้นกอนที่จะเลือกซื้ออุปกรณที่ใชงานในระบบเครือขายไรสายผูใชควระศึกษา รายละเอี ย ดผลิ ต ภั ณ ฑ แ ต ล ะชนิ ด ผู ผ ลิ ต แต จ ะรายตามข อ แนะนํ า ข า งต น ก็ จ ะช ว ยให ส ามารถ ตัดสินใจเลือกใชอุปกรณตางๆ ไดงายขึ้น การติดตั้งอุปกรณ Access Point / Wireless Router เนื่องจากอุปกรณ Access Point / Wireless Router ที่ทําหนาที่เปนตัวกลางในการ รับและสงขอมูลโดยกระจายสัญญาณโดยผานคลื่นวิทยุซึ่งผูใชหรือผูติดตั้งจะมองไมเห็นคลื่น เหลานี้และการวัดเพื่อตรวจสอบคลื่นสัญญาณก็ทําไดยาก ดังนั้นกอนการติดตั้งควรจะมีการวาง แผนการติดตั้ง (“เชื่อมตอไรสายใหออฟฟศปลอดภัยไรปญหา”, 2548) ซึ่งมีขั้นตอนตางๆ ดังนี้ 1. การวางแผนกอนการติดตั้ง ผูติดตั้งควรที่จะศึกษาโครงสรางของเน็ตเวิรคให เขาใจเพื่อที่จะสามารถติดตั้งเครือขายใหตรงกับความตองการของผูใช การออกแบบโครงสรางของ เน็ตเวิรคควรออกแบบใหมีความซับซอนนอยที่สุดและควรใชเน็ตเวิรคปกติ (เน็ตเวิรคที่ใชสาย) เปนเสนทางหลักในการสื่อสาร สําหรับเน็ตเวิรคไรสายควรใชเปนเพียงชองทางเสริมทั้งนี้เพราะ อีเทอรเน็ตเน็ตเวิรคมีความเร็วสูงกวามาก มีราคาถูกกวาและสามารถตรวจสอบและแกไขปญหาที่ เกิด ขึ้น กับระบบได งา ยกวา นอกจากนี้ในการวางแผนผูติดตั้งควรคํานึงถึงจํ านวนผูใช ความ ชํานาญของผู ใ ชในการใชเ น็ตเวิรคไรสาย ทรัพยากรบนเน็ตเวิรคของผูใ ชซึ่งจะทําใหทราบวา เน็ตเวิรคที่จะติดตั้งควรมีแบนดวิดธเทาใดและควรใช Access Point กี่เครื่องเพื่อที่จะไดสนับสนุน การทํางานใหพอเพียงเพราะถามีทราฟฟกมากการเพิ่ม Access Point ในยานความถี่ที่ตางกันจะ สามารถชวยใหเน็ตเวิรครองรับผูใชไดมากขึ้น 2. การสํารวจพื้นที่การใชงานโดยการกําหนดและเขาไปตรวจสอบพื้นที่ที่จะติดตั้ง เน็ตเวิรคไรสายโดยมีแผนที่ของชั้นแตละชั้นภายในอาคารเปนขอมูลหลัก โดยสิ่งที่จะตองพิจารณา คือพื้นที่ที่ผูใชนั่งทํางานและการเคลื่อนยายในขณะที่ยังเชื่อมตอกับเครือขายอยู เมื่อไดพื้นที่บริการ

23

แลวตองหาทางติดตั้ง Access Point ใหครอบคลุมพื้นที่เหลานั้นซึ่ง Access Point จะตองเชื่อมตอกับ เน็ตเวิรคปกติและมีปลั๊กไฟดวยหรืออาจจะใช PoE (Power over Ethernet) Adapter ก็ได นอกจากนี้ ควรจะตรวจสอบวาในพื้นที่ที่จะติดตั้ง Access Point นั้นมีสัญญาณของเน็ตเวิรคไรสายอยูแลว หรือไมเพราะถาอาจจะทําใหสัญญาณเหลานี้รบกวนกัน สําหรับวิธีการตรวจสอบคือใชเครื่อง คอมพิวเตอรแบบโนตบุกที่มี Adapter ของเน็ตเวิรคไรสายจากนั้นใชซอฟตแวร เชน NetStumbler สามารถดาวนโหลดไดจาก www.netstumbler.com เพื่อตรวจสอบและคนหาสัญญาณการเชื่อมตอ ของเน็ตเวิรคไรสายในพื้นที่ที่ตองการ อยางไรก็ตามซอฟตแวรฟรี NetStumbler นี้จะแสดงแค เน็ตเวิรคที่คนพบ คา SSID แชลแนลและความแรงของสัญญาณเทานั้น แตซอฟตแวรที่มีจําหนาย เชน AirMagnet Surveyor (www.airmagnet.com) หรือ Yellowjacket จาก Berkeley Varitronic Systems (www.bvsystems.com) นั้นสามารถนําขอมูลที่บันทึกไดมาแสดงผลรวมกับแผนที่ รวมทั้ง ยังสามารถแจงเตือนปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได อาทิ การใชชองสัญญาณซ้ําซอนหรือความแรงของ สัญญาณที่ไมเพียงพอ ซอฟตแวรนี้ยังชวยใหการสํารวจ เก็บขอมูลและจัดการชองสัญญาณของ เน็ตเวิรคที่คนพบและจะติดตั้งลงไปสามารถทําไดงาย เมื่อทําการสํารวจตรวจสอบเน็ตเวิรคที่มีอยู แลวตอมาคือการวางแผนกําหนดชองสัญญาณในพื้นที่ที่ตองการซึ่งก็ตองตรวจสอบวาชองสัญญาณ ที่ใชไมซอนทับเน็ตเวิรคขางเคียงซึ่งจะทําใหเกิดสัญญาณรบกวนและสงผลตอประสิทธิภาพของ เน็ตเวิรคดวย 3. การเลือกสถาปตยกรรมของเน็ตเวิรคไรสายซึ่งมี 3 สถาปตยกรรมคือแสตน อโลนหรือสมารต Access Point เอนดทูเอนทที่ทํางานบนสวิตซหรือโซลูชั่นแบบผสมที่ใช Access Pointเชื่อมตอเซิรฟเวอรหรือสวิตซที่ศูนยกลาง - แบบแสตนอโลนหรือสมารต Access Point สามารถรักษาความปลอดภัยและการ พิสูจนตนของเครื่องลูกขายที่เชื่อมตอ ถึงแมจะมีขอดีคือสามารถที่จะติดตั้งและใชงานไดงาย ไม ตองการทางเลือกเสริมแตมีขอจํากัดคือการดูแลรักษา เชน การอัพเดตเฟรมแวรหรือการเปลี่ยนการ ตั้งคาของอุปกรณที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยทําไดไมสะดวก ซึ่งสถาปตยกรรมแบบนี้เหมาะ สําหรับหนยงานหรือองคกรขนาดเล็กที่มีจํานวน Access Point ไมมากนักเพราะสามารถที่จะทํา การแกไขการทํางานของ Access Point แตละเครื่องได - แบบเอนดทูเอนทที่ทํางานบนสวิตซ ซึ่งสวิตซเปนอุปกรณที่รวมฟงกชั่นการ ทํางานหลายๆ อยางไวดวยกันจึงมีความสามารถมากกวา Access Point ปกติสถาปตยกรรมแบบนี้ เหมาะสําหรับธุรกิจหลายประเภทแตมีราคาแพงและคาใชจายสูง นอกจากนี้การติดตั้งแบบนี้มี ความซับซอนมากกวาทั้งในการเดินสายและการหาตําแหนงวางอุปกรณ อยางไรก็ตามอุปกรณบาง รุนก็ออกแบบมาใหมีความยืดหยุนในการติดตั้ง เชน สามารถติดตั้งบนเพดานไดซึ่งแตกตางจาก

24

อุปกรณสําหรับใชในบานและสํานักงานขนาดเล็กที่สวนใหญมักเปนแบบวางบนโตะหรือใชติดกับ ฝาผนัง - แบบผสมที่ใช Access Point เชื่อมตอเซิรฟเวอรหรือสวิตซที่ศูนยกลาง ใชกรณีที่ ตองการความสามารถและฟงกชั่นในการควบคุมเน็ตเวิรคไรสายมากกวาปกติแตไมตองการใชแบบ เอนดทูเอนทที่ทํางานบนสวิตซเพราะมีคาใชจายสูงโดยจะตองเชื่อมตอ Access Point เขากับ เซิ ร ฟ เวอร ห รื อ สวิ ต ซ ที่ ศู น ย ก ลางทํ า งานซึ่ ง จะช ว ยให ส ามารถจั ด การเน็ ต เวิ ร ค ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพขณะเดียวกันก็ชวยรักษาความปลอดภับในการทํางานของAccess Point ดวย 4. การคํานึงถึงพื้นที่และชองสัญญาณ สําหรับการติดตั้ง Access Point จะตองทํา การติดตั้งยังจุดที่สามารถกระจายสัญญาณไดทั่วถึงเปนวงกวางและมีสิ่งกีดขวาง เชน ตูเก็บเอกสาร ผนัง เฟอรนิเจอรสํานักงานหรือเพดานของชั้นอาคาร เปนตน เพราะสิ่งเหลานี้จะมีผลตอสัญญาณ ความแรงคลื่นวิทยุหรืออาจจะดูดซับคลื่นวิทยุที่จะสงไปถึงเครื่องลูกขายใหลดระดับความแรงของ สัญญาณลงซึ่งอาจจะใชวิธีการแกปญหาคือเพิ่มความแรงในการสงสัญญาณของ Access Point โดย ใชเสาอากาศที่มีคา Gain ที่สูงขึ้น นอกจากนี้สัญญาณจาก Access Point แตละเครื่องอาจจะ ครอบคลุมพื้นที่ในชั้นบนและชั้นลางของอาคารหรืออาจจะทะลุกําแพงเขาไปยังหองตางๆหรือนอก อาคารซึ่งจะทําใหเกิดปญหาคือการรบกวนสัญญาณของเน็ตเวิรคที่อยูติดกันและความปลอดภัย เพราะสัญญาณที่ทะลุออกไปปนอกอาคารซึ่งผูอื่นสามารถใชได สําหรับปญหานี้มีวิธีแกไขคือถา สัญญาณจาก Access Point มีรัศมีที่ไกลเกินไปก็ปรับลดระดับความแรงของการสงสัญญาณลง นอกจากนี้ควรคํานึงถึงจํานวนของลูกขายที่ใชไมใหมีความหนาแนนจนเกินไปดวยโดยทั่วไปแลว Access Point 1 เครื่องไมควรใหบริการลูกขายมากกวา 25 เครื่องอยางไรก็ตามถาจําเปนตอง ใหบริการเครื่องลูกขายจํานวนมากในพื้นที่จํากัดก็สามารถเพิ่มจํานวน Access Point โดยกําหนดให Access Point แตละตัวใชชองสัญญาณที่แตกตางกันเพื่อเพิ่มแบนดวิทธใหกับการเชื่อมตอ 5. การจัดการเน็ตเวิรคไรสายไมวาจะเปนการดูแลความปลอดภัย การติดตามการ ใช การมอนิเตอรประสิทธิและการอัพเกรดอุปกรณ เฟรมแวรและซอฟตแวรนับสิทธิภาพและการ อัพเกรดอุปกรณเปนสิ่งที่ตองทําอยางตอเนือ่ ง สําหรับผลิตภัณฑสําเร็จรูปบางรุนที่มีฟงกชั่น ระดับสูงสามารถขยายขนาดไดและมีราคาแพงแตมีความยืดหยุนในการจัดการระบบความปลอดภัย เชน ตรวจจับผูบุกรุกและตรวจสอบพฤติกรรมที่ผิดปกติ แตอยางไรก็ตามสําหรับองคกรที่มี งบประมาณจํากัด ทางเลือกของการติดตั้งเน็ตเวิรคไรสายคือใช Access Point แบบแสตนอโลน รวมกับซอฟตแวรและฮารดแวรสําหรับการจัดการเพิ่มเติม

25

ขอดีของการใชงานระบบเครือขายไรสาย ปจจุบันการใชงานระบบเครือขายไรสายกําลังเปนที่นิยมอยางกวางในองคกรหรือ หนวยงานตางๆ ทั้งนี้เพราะระบบเครือขายไรสายมีขอดีหลายประการ (นัฐธวัช จําปาเงิน, 2547 ; มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2548 ; มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 2548) ดังนี้ 1. ความยืดหยุนในการใชงาน (Installation flexibility) ในปจจุบันมีผูใชงานเครื่อง คอมพิวเตอรแบบพกพาหรือโนตบุคกันเปนสวนใหญเนื่องจากคอมพิวเตอรแบบโนตบุคมีขนาดเล็ก ลงจนสามารถนําติดตัวไปใชที่ตาง ๆ ได แตการนําคอมพิวเตอรแบบโนตบุคตอกับเน็ตเวิรคมีสาย ทําไดไมสะดวก อีกทั้งสภาพการทํางานเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลาทําใหผูใชอยูกับที่ เชน การนํา คอมพิวเตอรแบบโนตบุคเขาหองประชุม การปรึกษาหารือระหวางกลุมยอย ถาใชเน็ตเวิรคที่เปน ระบบสายจะยุงยากในการปรับเปลี่ยน แตสําหรับเน็ตเวิรคไรสายจะประกอบดวย การดไคลแอนต ซึ่งเปนแผงวงจรขนาดเล็กที่ตอเขากับโนตบุคเทานั้นและสวนที่เปน Access Point ซึ่งเปนจุด เชื่อมตอที่นําไปวางไวที่ใดก็ไดหรือจะติดยึดกับฝาผนัง ฝา เพดาน หรือจะเคลื่อนยายไปที่ใดก็ได โดยดานหนึ่งรับสัญญาณวิทยุ อีกดานหนึ่งเปนสายตอเชื่อมเขาสูระบบเครือขาย การติดตั้งเน็ตเวิรค ไรสายจึงทําไดงายกวามาก ดังนั้นหากหองมุดมีเคื่องคอมพิวเตอรใหบริการจํานวนจํากัดก็สามารถ เพิ่มจุดบริการเครือขายคอมพิวเตอรไดโดยอนุญาตใหผูใชหองสมุดนําเครื่องคอมพิวเตอรแบบ โนตบุคของตนเองเขามาใชบริการสืบคนขอมูลผานระบบเครือขายไรสายในหงสมุดไดโดยอิสระ ภายในบริเวณที่มีสัญญาณครอบคลุม 2. ความคลองตัว (Mobility improves productivity and service) ในบางครั้งการเคลื่อนยาย ของผูใชอาจไมเฉพาะเจาะจงอยูในที่ทํางานอยางเดียวอาจครอบคลุมไปยังที่ตาง ๆ เชน เจาหนาที่ หองสมุดสามารถสํารวจทรัยากรสารนิเทศภายในหองสมุดแบบระบบออนไลนผานเครื่อง คอมพิวเตอรแบบโนตบุคกับเครื่องอานบารโคด สวนผูใชหองสมุดสามารถยายจากทีน่ ั่งไดโดย สัญญาณเครือขายจะไมหยุดชะงัก เปนตน 3. การขยายเครือขาย (Scalability) ระบบเครือขายแบบไรสายทําใหเครือขายขององคกร สามารถปรับขนาดและความเหมาะสมไดงา ยไมยุงยากในเรื่องการเดินสายสื่อสารซึ่งมีปญหาใน เรื่องสถานที่ การปรับปรุงสถานที่เพื่อเดินสายสัญญาณเปนเรื่องไมพึงปรารถนา 4. การติดตั้งงายและรวดเร็ว(Installation speed and simplicity) ระบบเครือขายไรสาย สามารถครอบคลุมพื้นที่เล็ก ๆ โดยมีการเชือ่ มโยงระหวางอาคารไดดวยระบบแบบจุดไปจุด ทําให ดําเนินการไดเร็วและสะดวกตอการติดตั้งเพราะไมตองเดินสายไฟ สายเคเบิลหรือสายสื่อสารขอมูล

26

5. ลดคาใชจายโดยรวมในระยะยาว (Reduced cost of ownership) ในตอนแรกอาจจะตอง ลงทุนคอนขางสูงเพราะอุปกรณที่ใชกับระบบเครือขายไรสายมีราคาสูงแตเมื่อตองการขยาย เครือขายก็เพียงแคซื้ออุกรณอีกเครื่องมาติดตั้งโดยไมตองเสียคาใชจายในการเดินสายสัญญาณ 6. สามารถใชไดกับอุปกรณการสื่อสารที่หลากหลาย (Multiple equipment) อุปกรณการ สื่อสารเหลานี้เปนทางผานทีท่ ําใหผูใชติดตอกับระบบเน็ตเวิรคได (จาตุรงค หลาสมบูรณ, 2548 ; ทัศนัย ตั้งคุณานนท, 2548 ; มโนมัย ไชโย, 2548 ; “LifeDrive กับแรงขับเคลื่อนใหมในโลกของ พีดีเอ”, 2548 ) ซึ่งไดแก - เครื่องคอมพิวเตอรแบบพีซีหรือเครื่องคอมพิวเตอรแบบโนตบุคที่มีคุณสมบัติใชงานได กับระบบเครือขายไรสาย - PDA หรือ Pocket PC เปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กเทาฝามือ สามารถใชงานได เชนเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอรทั่วไปไมวาจะเปนทํางานกับเอกสาร ดูหนัง ฟงเพลง เลนเกม แชร ภาพถาย ทองเว็บไซต เปนตน แตอยางไรก็ตามการใชงานยังไมสะดวกเทาเครื่องคอมพิวเตอร ขนาดปกติ - โทรศัพทมือถือที่รองรับการทํางานกับระบบเครือขายไรสาย ในปจจุบันแบงเปน 2ระบบ ใหญคือ GSM และ CDMA ซึ่งในระบบ GSM ยังแบงอีกเปน2 แพลตฟอรมคือ Pocket PC2003 และ Symbian ตัวอยางของโทรศัพทมือถือที่ทํางานไดกบั ระบบเครือขายไรสายคือ Nokia 9500 - อุปกรณอื่นๆ เชน Printer Fax กลองโทรทัศนวงจรปด ฯ ที่ออกแบบใหรองรับการทํางาน กับระบบเครือขายไรสาย

ขอจํากัดของการใชงานระบบเครือขายไรสาย ถึงแมวาระบบเครือขายไรสายมีขอดีหลายประการ แตอยางไรก็ตามกอนที่ผูใชจะตัดสินใจ เลือกใชงานระบบเครือขายไรสายควรคํานึงถึงขอจํากัด (อมรรัตน ศรีสุรภานนท, 2548) ดังนี้ 1. คาใชจายสูงในการติดตั้งครั้งแรกเพราะปจจุบันอุปกรณที่ใชเปนสวนประกอบของระบบ เครือขายไรสายไมวาจะเปน Access Point Wireless Router หรือ Wireless Network Adapter ฯลฯ มีราคาคอนขางสูง แตอยางไรก็ตามในอนาคตราคาของอุปกรณเหลานี้มีแนวโนมวาจะลดลงเพราะ เกิดการแขงขันกันของบริษทั ผูผลิตผลิตภัณฑเหลานี้ซึ่งเปนผลดีกับผูบริโภคซึ่งสามารถที่จะเลือก อุปกรณตางๆ ที่ใชกับระบบเครือขายไรสายใหเหมาะสมกับการใชงานและงบประมาณที่มีอยู

27

2. ระบบการรักษาความปลอดภัยของขอมูลเพราะการสื่อสารขอมูลในระบบเครือขายไร สายใชสัญญาณวิทยุ ดังนัน้ อาจจะมีการหลุดลอดของขอมูลหรือการทําลายจากผูไมหวังดี ดังนัน้ ผูใชควรที่จะระมัดระวังและเห็นความสําคัญของระบบการรักษาความปลอดภัยในการใชงานดวย

แนวโนมของระบบเครือขายไรสายในอนาคต จากอดีตถึงปจจุบันเทคโนโลยีระบบเครือขายไรสายมีการพัฒนาที่รวดเร็วและมีแนวโนมที่ จะเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ อยางไมหยุดยั้ง ทั้งนี้เพราะวาบริษัทผูผลิตอุปกรณที่ใชเปนสวนประกอบ ของระบบเครือขายไรสายตางก็พัฒนาผลิตภัณฑของตนไมวาจะเปนเรื่องการรักษาความปลอดภัย ความคุมคาในการลงทุนและเทคโนโลยีใหมที่อํานวยความสะดวกแกผูใชใหกาวหนากวาบริษัท คูแขง ดังนั้นในอนาคตอันใกลนี้อาจจะมีผลิตภัณฑรุนใหมที่มีความสามารถและประสิทธิภาพ ตอบสนองความตองการของผูใชไดมากยิ่งขึ้นซึ่งปรากฏการณที่บริษัทผูผลิตอุปกรณก็แขงขันกัน ผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีของตนนี้สงผลทําใหราคาของอุปกรณเหลานี้มีแนวโนมที่จะลดตามไป ดวย สําหรับทิศทางในการพัฒนาเทคโนโลยีระบบเครือขายไรสาย ไดแก การพัฒนาในเทคนิค การแปลงสั ญ ญาณที่ ใ ช รั บ ส ง ข อ มู ล เป น คลื่ น วิ ท ยุ แ ละการพั ฒ นาเทคโนโลยี ฮ าร ด แวร ใ น ระดั บ พื้ น ฐาน เป น ต น นอกจากนี้ ต ลาดของระบบเรื อ ข า ยไร ส ายได มุ ง ความสนใจไปที่ ภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากการทํางานในโรงงานมีความจําเปนที่พนักงานจะตองเคลื่อนยายการ ทํางานในโรงงานตามที่ตางๆ ไมเพียงเทานั้นตลาดเหลานี้ยังรวมถึงธุรกิจการคาปลีกและโกดังหรือ คลังสินคาซึ่งพนักงานตองมีอุปกรณขนาดมือถือสําหรับใชเก็บขอมูลและบริหารบัญชีรายการสินคา คงคลังดวย อยางไรก็ตามแนวโนมเหลานี้ก็แสดงใหเห็นวาผูคนสวนใหญกําลังหันมาใหความ สนใจกับการใชงานระบบเครือขายไรสายกันมากขึ้นๆ ดังที่ Gartner Group ไดทําการวิจัยใน องคกรโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมคอมพิวเตอรซึ่งผลการวิจัยพบวา “การลงทุนลงไปใน เครื่องคอมพิวเตอรแบบพีซีที่ตั้งโตะในที่ทํางานจะถูกเพิกเฉยเพราะวาผูคนจะใชเวลานอยลงที่จะอยู ที่โตะทํางาน” (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 2548) และมีการทํานายวาในป 2009 การเชื่อมตอระบบ เครือขายตามบานเรือนและออฟฟศจะมีการใชงานระบบเครือขายไรสายกวา 50 เปอรเซ็นต (“กาว ตอไปสําหรับระบบไรสาย”, 2548)

28

การใชงานระบบเครือขายไรสาย : กรณีศึกษาสํานักวิทยบริการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกอตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2521 มีหนาที่เปน ศูนยกลางการใหบริการทางวิชาการของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประกอบดวยหนวยงานบริการ คือ หอสมุดกลาง ศูนยเอกสารประเทศไทย ศูนยโสตทัศนศึกษากลาง ศูนยบริการสารสนเทศ นานาชาติและศูนยการเรียนรูทางไกลซึ่งหนวยงานดังกลาวมีพันธกิจที่สําคัญคือบุกเบิก แสวงหา สรรสร า งและเผยแพร อ งค ค วามรูทั้ ง ในด า นวิ ช าการและวิจั ย โดยการบริ ห ารจั ด การและการ ใหบริการทางวิชาการที่มีคุณภาพเพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาคมจุฬาฯ (จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2548) สถาบันวิทยบริการจึงไดติดตั้งระบบเครือขายไรสายเพื่อสงเสริมใหเกิด บรรยากาศการคนควาวิจัยและใหบริการแกสมาชิกหรือผูมารับบริการ ณ อาคารมหาธีรราชานุสรณ โดยผูรับบริการสามาถนําเครื่องคอมพิวเตอรแบบโนตบุคหรือ PDA ของตนเองมาเชื่อมตอกับ เครือขายหลักที่มหาวิทยาลัยจัดเตรียมไวใหเพื่อการคนควาวิจัยผานระบบออนไลนตางๆ ไดใน หลายพื้นที่ของอาคารที่มีสัญญาณอยางเปนอิสระมากยิ่งขึ้น โครงการนํารองในระยะแรกของการ ใหบริการระบเครือขายไรสายที่สถาบันวิทยบริการจัดเตรียมไวใหบริการ ไดแก 1. ผลิตภัณฑเชื่อมโยงสัญญาณ (Access Point) จํานวน 6 เครื่อง สามารถใหบริการไดตาม มาตรฐาน IEEE 802.11b และมาตรฐาน IEEE 802.11g (ความเร็วสูงสุด 54 เมกะบิตตอวินาทีและ 11 เมกะบิตตอวินาที) โดยใชคลื่นสัญญาณวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ 2. การดเครือขายไรสาย ( Wireless Notebook Adapter) เปนการดแบบ PCMCIA ที่ใชกับ เครื่องคอมพิวเตอรแบบโนตบุคเทานั้น จํานวน 20 การด โดยการเขาใชระบบเครือขายไรสาย จะตองใชการดนี้ซึ่งสามารถใชงานไดที่ความเร็วสูงสุด 54 เมกะบิตตอวินาที การใหบริการระบบเครือขายไรสายนี้ สถาบันวิทยบริการไดจัดเตรียม Access Point ติดตั้ง ไว 6 จุด ครอบคลุมพื้นที่ที่ใหบริการอานหนังสือภายในอาคารมหาธีรราชานุสรณ จํานวน 4 ชั้น ไดแก ชั้นที่1 ชั้นที่ 2 ชั้นที่ 4 และชั้นที่ 5 ผูใชสามารถเบิกยืมการดเครือขายไรสายไดเชนเดียวกับ หนังสือที่จุดบริการจาย-รับบริเวณชั้นที่ 1 ซึ่งการใชงานระบบเครือขายไรสายตําแหนงที่ผูใช ทํางานตองอยูในบริเวณรัศมี 50 เมตรจาก Access Point สําหรับผูใชที่ตองการนําเครื่อง คอมพิวเตอรแบบโนตบุคของตนที่รองรับการทํางานกับระบบเครือขายไรสายมาใชระบบเครือขาย ไรสายภายในสถาบันวิทยบริการจะตองลงทะเบียนการดเครือขายไรสาย โดยระบบออนไลนผาน ทางเว็บไซต http://www.it.chula.ac.th ซึ่งดูแลโดยสํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยเพื่อเปนการแจงยืนยันและระบุผูใช ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอรของผูใชประสบ

29

ปญหาดานความมั่นคงของระบบเครือขายเจาหนาที่ของสํานักเทคโนโลยีสารสนเทศจะสามารถ ติดตอสอบถามกลับไปยังผูใชไดถูกตอง สําหรับการดเครือขายไรสายที่ทางสถาบันวิทยบริการ จัดเตรียมไวใหบริการไดทําการลงทะเบียนแลวทุกการด หลังจากทําการลงทะเบียนเรียบรอยแลว ผูใชก็สามารถนําเครื่องคอมพิวเตอรของตนมาใชระบบเครือขายไรสายภายในพื้นที่ที่กําหนดไว ภายในอาคารสถาบันวิทยบริการ (อมรรัตน ศรีสุรภานนท, 2548) นอกจากนี้ผูใชยังสามารถนํา คอมพิวเตอรเครื่องนั้นไปใชบริการระบบเครือขายไรสายภายในบริเวณอื่นๆ ที่มีระบบเครือขายไร สายหรือที่เรียกวาระบบเครือขายนิราศรัย (NirasNet) ซึ่งสํานักเทคโนโลยีสารสนเทศจัดเตรียมไว ใหบริการในชุมชนตางๆ ทั่วมหาวิทยาลัยได (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548)

สรุป ทุกวันนี้ระบบเครือขายไรสายเขามามีบทบาทในการดํารงชีวิตประจําวันมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากปจจุบันการเขาถึงขอมูลเปนสิ่งจําเปน บุคคลที่มีขอมูลมากกวาและไดรบั ขอมูลเร็วกวาก็ จะเปนผูไดเปรียบในการแขงขันหรือการตัดสินใจในเรื่องตางๆ ดังนั้นระบบเครือขายไรสายที่ สามารถอํานวยความสะดวก รวมทั้งมีความรวดเร็วในการติดตอสื่อสารถึงกันเปนจึงอีกทางเลือก หนึ่งขององคกรและสํานักงานที่ประสบปญหาในการใชระบบเครือขายแบบใชสาย หองสมุดก็ เปนอีกองคกรหนึ่งที่นําระบบเครือขายไรสายมาจัดใหบริการภายในหองสมุดซึ่งเปนแนวทางหนึ่งที่ นาสนใจในการสงเสริมบรรยากาศการศึกษา การคนควาวิจัยและการหาความรูภายในหองสมุดได เปนอยางดี ดังนั้นหองสมุดหลายๆ แหงซึง่ รวมถึงสํานักวิทยบริการจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยก็ไดมี การนําระบบเครือขายไรสายมาจัดใหบริการภายในหองสมุดดวยเชนกัน แตอยางไรก็ตามกอนที่ หองสมุดเหลานี้จะนําระบบเครือขายมาติดตั้งเจาหนาทีแ่ ละผูที่เกี่ยวของควรที่จะศึกษารายละเอียด เกี่ยวกับประเภทของอุปกรณที่ใชในระบบเครือขายไรสายเพราะอุปกรณแตละชนิดหรือแตละ ผูผลิตมีคุณสมบัติและขีดความสามารถที่แตกตางกัน ขัน้ ตอนและวิธกี ารติดตั้งอุปกรณ รวมถึง รายละเอียดในการใชงานอื่นๆ เปนขอมูลเบื้องตนกอนจะทําการตัดสินใจ นอกจากนีค้ วรจะคํานึงถึง ความปลอดภัยของระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่ใชรวมกับองคกรตนสังกัด เนื่องจากอาจจะมีผไู ม ประสงคดีแอบแฝงเขามากอกวนในระบบเครือขายคอมพิวเตอรหลักที่ใชอยู ดังนั้นวิธีการปองกัน คือในการติดตัง้ ระบบเครือขายไรสายหองสมุดควรดําเนินงานรวมกับหนวยงานผูดแู ลระบบ เครือขายหลักขององคกรซึ่งจะชวยใหการใหบริการระบบเครือขายไรสายของหองสมุดดําเนินไป ดวยความราบรื่นและสามารถใหบริการแกผูใชหองสมุดไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด

30

บรรณานุกรม ภาษาไทย กวีรัตน เพ็งแจม. “อิสระแหงการเชื่อมโยง อิสระไปกับโลกไรสาย.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www.buycoms.com/upload/coverstory/121/Wireless.html 2548. สืบคนเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2548. “กาวตอไปสําหรับระบบไรสาย.” Business.com 16,180(ก.พ. 2547) : 124-125. จาตุรงค หลาสมบูรณ. “Mobile 2005 : อนาคตแหงคอมพิวเตอรแบบพกพา.” PC magazine 11,1 (ม.ค. 2548) : 101-104 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. “การใชงานเครือขายนิราศรัย.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www.it.chula.ac.th/nirasnet/manual.html 2548. สืบคนเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2548. -----------------------------. พระเกี้ยว : คูมือสําหรับนิสิตตลอดการศึกษาในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548. “เชื่อมตอไรสายใหออฟฟศปลอดภัยไรปญ  หา.” PC magazine 11,8 (ส.ค. 2548) : 57-69. ดุสิต นิยะโต. “เทคโนโลยี G สํากรับทุกคน.” PC magazine 10,7 (ก.ค. 2548) : 60-86. “ไดเวลาถอดปลั๊กระบบเครือขาย.” PC magazine 11,8 (ส.ค. 2548) : 72-89. ทัศนัย ตั้งคุณานนท. “Prepare yourself to the cyberman : คุณ...พรอมจะเปนมนุษยออนไลนหรือ ยัง .” Business.com 16,180(ก.พ. 2547) : 128-130. “เทคโนโลยีโฮมเน็ตเวิรก.” PC magazine 10,7 (ก.ค. 2548) : 87-103.

31

นัฐธวัช จําปาเงิน. “Wireless LAN Technology.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก www.bu.ac.th/NewsandInform/bunews/2547/Mar47/it.html 2547 .สืบคนเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2548 มโนมัย ไชโย. “Inside Notebooks.” PC magazine 11,8 (ส.ค. 2548) : 91-100. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. “Wireless LAN เครือขายเจนเนอเรชั่นใหม.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www.ku.ac.th/e-magazine/june45/it/lan.html 2545. สืบคนเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2548. มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต. “ระบบเครือขายไรสาย.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www.rbac.ac.th/e_news/e_news/wireless.htm 2548. สืบคนเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2548. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ. “ระบบเครือขายไรสาย.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://ccs.wu.ac.th/wireless/wir.php 2548. สืบคนเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2548. “LifeDrive กับแรงขับเคลื่อนใหมในโลกของพีดีเอ.” PC magazine 11,10 (ต.ค. 2548) : 45-46. “เสริมประสิทธิภาพในเครือขายไรสายดวย PoE (Power over Ethernet).” PC magazine 11,8 (ส.ค. 2548) : 70-71. อมรรัตน ศรีสุรภานนท. “ระบบเครือขายคอมพิวเตอรไรสายในสถาบันวิทยบริการ จุฬาฯ.” ขาวสารหองสมุดในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 20,1-2(ม.ค.-มิ.ย. 2547) :1-6. “แอ็กเซสพอยนตไรสายสําหรับธุรกิจระดับเอ็นเตอรไพรส” PC magazine 11,8 (ส.ค. 2548) : 6569.

32

ภาษาอังกฤษ Atheros Comunications, inc.“802.11 Wireless LAN Performance.” [Online]. Available : http://www.wlana.org/pdf/highspeed.pdf 2003. Retrieval 11 December 2005. Wireless LAN Association. “High-Speed Wireless LAN Options 802.11a and 802.11g.” [Online]. Available : http://www.wlana.org/pdf/highspeed.pdf 2004. Retrieval 11 December 2005.

More Documents from "yuth nara"

November 2019 59
November 2019 44
Di-624_qig_v1.00
November 2019 51
Sarai
November 2019 41
November 2019 20
November 2019 21