ศัพท์ไอทีน่ารู้captcha

  • Uploaded by: yuth nara
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View ศัพท์ไอทีน่ารู้captcha as PDF for free.

More details

  • Words: 170
  • Pages: 1
ศัพท์ไอทีน่ารู้: CAPTCHA โดย นายเกาเหลา อัพเดต 5 กรกฎาคม 2007 เวลา 10:13 น.

สัง่พิมพ์ บอกเพ่ ือน เร่ ืองท่ีเก่ียวข้อง แสดงความคิดเห็น สมัครสมาชิกนิตยสาร ปรับขนาดตัวอักษร

หลายวันก่อนมีผู้ใช้คนหน่ ึงสอบถามเข้ามาว่า เวลาท่ีเข้าไปโพสต์กระทู้ท่ีช่ืนชอบในบางเว็บไซต์ ทำาไมต้องมีช่องให้พิมพ์ตัว อักษรประหลาดๆทุกตัวตามท่ีปรากฏอยู่ในกราฟฟิ กท่ีแสดงขึ้นมาด้วย มิฉะนัน ้ ระบบจะไม่ยอมจัดเก็บข้อความท่ีโพสต์เข้าไปได้ ซ่ ึงพักหลังพบหลายเว็บไซต์จะทำาเช่นนี้ นายเกาเหลาชอบคำาถามท่เี กิดจากความสงสัยในลักษณะนีม ้ ากๆเลยครับ เพราะมันทำาให้เราต้องค้นคว้าและได้ความรู้ใหม่ๆ มากขึ้น ส่ิงท่ีผู้ใช้คนนีเ้ห็น หรือแม้แต่เพ่ ือนๆท่ีกำาลังอ่านบทความนีอ ้ ยู่ ก็อาจจะเคยพบเห็นด้วยเหมือนกัน แต่ก็ทำาตาม โดย ไม่ได้สงสัยว่า "ทำาไม ?" รู้แค่ว่าทำาตามแล้วมันก็จะทำาได้ เจ้าส่ิงท่ีเห็นนีเ้รียกว่าการทดสอบด้วย CAPTCHA ครับ CAPTCHA ออกสียงว่า แคปช่า ช่ ือเรียกมันแปลกๆไม่คุ้นหูเลย แต่มันกำาลังได้รับความนิยมมากขึ้นเร่ ือยๆ ความจริงคำาว่า CAPTCHA ย่อมาจาก Completely Automated Public Turing Computer and Humans Apart แปลให้ เข้าใจง่ายๆก็คือ กลไกอัตโนมัติท่ีใช้ทดสอบเพ่ อ ื ให้ทราบว่า มนุษย์ หรือ คอมพิวเตอร์ กำาลังดำาเนินกิจกรรมนัน ้ ๆ ฮืม...ฟั งดู ภาษายังเป็ นทางการอยู่ดีนะครับ สรุปแล้วก็คือ มันเป็ นการทดสอบการตอบสนองโดยใช้ทดสอบกับระบบคอมพิวเตอร์ เพ่ ือ ตัดสินใจว่าผู้ใช้หรือผู้ท่ีกำาลังติดต่อกับเว็บเซิร์ฟเวอร์ เป็ นมนุษย์หรือไม่? นัน ่ เอง ในกรณีของผู้ใช้รายนีท ้ ่ีสอบถามเข้ามา ส่ิงท่ีเขาเห็นบนหน้าเว็บก็คือ CAPTCHA นัน ่ เอง ตัวอย่างเช่น

ซ่ ึงเพ่ อ ื นๆอาจจะเคยพบเห็นกราฟฟิ กหน้าตาประมาณนี ห ้ รือยุ่งเหยิงกว่านีบ ้ นเว็บไซต์ชอปปิ้ งออน เว็บไซต์อย่าง MySpace เจ้า CAPTCHA ทำาให้การใช้งาน หรือจัดการกับเว็บไซต์ดูยุ่งเหยิง แต่มันช่วยให้การใช้เน็ตของคุณ ปลอดภัยด้วย วัตถุประสงค์สำาคัญของมันก็เพ่ ือความปลอดภัยโดยเฉพาะเว็บไซต์ท่ีต้องมีการป้ อนข้อมูลส่วนตัว เน่ ืองจาก แฮกเกอร์ส่วนใหญ่จะใช้ส่ิงท่ีเรียกว่า "บอตส์" (bots) ในการโจมตีผู้ใช้ ซ่ ึงบอตท่ีว่านีส ้ ามารถสร้างขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ แต่ เน่ ืองจากคอมพิวเตอร์ไม่สามารถแก้ปัญหาการทดสอบด้วย CAPTCHA ได้ จะต้องอาศัยมนุษย์ท่ีเพ่งดูกราฟฟิ กยุ่งเหยิงเหล่า นี แ ้ ละแกะตัวอักษรออกมาเพ่ อ ื พิมพ์ยืนยันอีกทีทำาให้ผู้ใช้ปลอดภัยจากบอตเหล่านีไ้ปโดยปริยาย ดังนัน ้ แม้การทดสอบนีจ้ะทำาให้เพ่ อ ื นๆรู้สึกยุ่งยากบ้าง แต่นายเกาเหลารู้สึกปลอดภัยกว่า เม่ อ ื เวลาเห็นพวกมัน เพราะฉะนัน ้ ของดีๆอย่างนี อ ้ ย่าไปเบ่ ือพวกมันเลยนะครับ

Related Documents

Captcha
June 2020 4
Captcha
December 2019 3
Picture Captcha
November 2019 4
Data Captcha
June 2020 5
Captcha Presentation
April 2020 1

More Documents from ""

November 2019 59
November 2019 44
Di-624_qig_v1.00
November 2019 51
Sarai
November 2019 41
November 2019 20
November 2019 21