รายการตรวจสอบ_กรมโยธาธิการ

  • Uploaded by: Surapoll K.
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View รายการตรวจสอบ_กรมโยธาธิการ as PDF for free.

More details

  • Words: 11,018
  • Pages: 204
โครงการอบรมหลักสูตร “ผูตรวจสอบอาคาร” ตามกฎหมายตรวจสอบสภาพอาคาร

ศูนยเทคโนโลยีความปลอดภัยสําหรับอาคารและ โรงงานอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

สารบัญ เนื้อหา 1. 2. 3. 4. 5. 6.

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบประจําป แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

หนา 1 22 51 72 91 103

1. แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และ คูมือดูแล

1 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

แผนปฏิบัตกิ ารตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร ประจําป และคูมือการดูแลบํารุงรักษาอาคาร สําหรับเจาของอาคาร ( ผูด ูแลอาคาร )

สวนที่ 1 ขอบเขตของการตรวจบํารุงรักษาอาคาร และอุปกรณประกอบของอาคาร 1.1 ในแผนการตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารนี้ การตรวจสอบอาคาร หมายถึง การตรวจสอบสภาพอาคารดานความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ ประกอบตาง ๆ ของอาคาร โดยผูตรวจสอบอาคาร ตามมาตรา 32 ทวิ แหงพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ.2522 การตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร หมายถึง การบํารุงรักษาอาคาร และ ระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร โดยเจาของอาคาร หรือผูดูแลอาคาร ผูตรวจสอบอาคาร หมายถึง ผูซงึ่ ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม หรือผูซึ่งไดรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ตามกฎหมายวาดวยการนั้น แลวแตกรณี ซึ่งไดขึ้น ทะเบียนเปนผูต รวจสอบอาคารตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เจาของอาคาร หมายถึง ผูท ี่มีสิทธิ์เปนเจาของอาคาร หรือ ผูจัดการนิติบุคคลอาคารชุดในกรณีเปน อาคารชุด ผูดูแลอาคาร หมายถึง เจาของอาคารหรือ ผูทที่ ี่ไดรับมอบหมายจากเจาของอาคารใหมีหนาที่ตรวจสอบ การบํารุงรักษาอาคาร และระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร แผนการตรวจสอบอาคาร หมายถึง แผนการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของ อาคาร สําหรับผูตรวจสอบอาคาร แผนการตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร หมายถึง แผนการตรวจบํารุง รักษาอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคารที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนดใหกับเจาของอาคาร หรือผูดูแลอาคาร แบบแปลนอาคาร หมายถึง แบบแปลนของอาคารที่ตองตรวจสอบ ซึ่งอยางนอยตองประกอบดวย แปลนพื้นทุกชัน้ และแสดงตําแหนงของอุปกรณดับเพลิง เสนทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ 1.2 เจาของอาคาร หรือผูดูแลอาคารที่ไดรับมอบหมายจากเจาของอาคารมีหนาที่ตรวจสอบการ บํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร รวมทัง้ การตรวจสอบสมรรถนะของ ระบบและอุปกรณตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยจากอัคคีภัยของอาคาร ตามที่ผูตรวจสอบอาคาร ไดกําหนดไว และจัดใหมีการทดสอบการทํางานของระบบ และอุปกรณ การซอมอพยพหนีไฟ• การบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร•การอบรมพนักงานดานความปลอดภัยในระหวางป

หนาที่ 1

2 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

แลวรายงานผลการตรวจสอบตอเจาพนักงานทองถิน่ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาํ หนดใน กฎกระทรวงเกีย่ วกับการตรวจสอบอาคาร กรณีที่เปนอาคารชุดใหผูจัดการนิติบุคคลอาคารชุดมีอํานาจหนาที่ในการจัดใหมีและดําเนินการ เพื่อตรวจสอบอาคารแทนเจาของหองชุด ทั้งในสวนที่เปนทรัพยสวนบุคคลและทรัพยสวนกลาง 1.3 ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแผนการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร ไวตามแผนการตรวจสอบอาคารประจําป ใหเจาของอาคารและหรือผูดูแลอาคารใชเปนแนวทางการ ปฏิบัติ ผูต รวจสอบอาคารสามารถแกไขเปลี่ยนแปลงแผนการตรวจสอบนี้ไดตามความเหมาะสม 1.4 การตรวจสอบบํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคารใหเปนไปตามแผนการ ตรวจการตรวจสอบบํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคารฉบับนี้ และคูมือ การตรวจบํารุงรักษาอาคารที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนด

หนาที่ 2

3 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 2 แผนการตรวจบํารุงรักษาอาคาร และอุปกรณ ประกอบของอาคาร ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแผนการตรวจสอบบํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร ดังนี้ 2.1 ใหเจาของอาคาร หรือผูดูแลอาคารที่ไดรับมอบหมายจากเจาของอาคารมีหนาที่ตรวจสอบการ บํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร จัดใหมีการทดสอบการทํางาน ของระบบและอุปกรณ•การซอมอพยพหนีไฟ•การบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยใน อาคาร•การอบรมพนักงานดานความปลอดภัยในระหวางปตามที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนด 2.2 เจาของหรือผูดูแลอาคารตองตรวจบํารุงรักษาอยางสม่าํ เสมอตามคูมอ ื ที่ผูตรวจสอบอาคารได จัดทําไว และบันทึกขอมูลการตรวจบํารุงรักษาตามระยะเวลาที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนด 2.3 ในการดําเนินการตรวจสอบบํารุงรักษาใหใชแบบรายละเอียดการตรวจที่ผูตรวจสอบอาคารจัดไว 2.4 ชวงเวลา และความถี่ของการตรวจบํารุงรักษา ฯ การทดสอบการทํางานของระบบและอุปกรณ• การซอมอพยพหนีไฟ•การบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร•การอบรมพนักงาน ดานความปลอดภัยใหเปนไปตามแผนการตรวจสอบที่ผตู รวจสอบอาคารกําหนด 2.5 ใหเจาของอาคาร หรือผูดูแลอาคารจะตองจัดเตรียมแบบแปลนอาคารเพื่อการตรวจสอบ และผล การตรวจบํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคารไวใหผูตรวจสอบอาคาร ประจําปสามารถใชประกอบการตรวจสอบอาคารประจําป ไดตลอดเวลาที่ผูตรวจสอบกําหนด ตามแผนการตรวจสอบอาคารประจําป

หนาที่ 3

4 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 3 รายละเอียดที่ตองตรวจบํารุงรักษาอาคาร และ อุปกรณประกอบของอาคาร เจาของอาคาร หรือผูดูแลอาคาร ตองทําการตรวจบํารุงรักษาอาคาร หรืออุปกรณประกอบ ตาง ๆ ของอาคาร ในเรื่องดังตอไปนี้ (1) การตรวจสอบบํารุงรักษาตัวอาคารดานความมัน่ คงแข็งแรง ดังนี้ (ก) การตอเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร (ข) การเปลี่ยนแปลงน้าํ หนักบรรทุกบนพืน้ อาคาร (ค) การเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร (ง) การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคาร (จ) การชํารุดสึกหรอของอาคาร (ฉ) การวิบัติของโครงสรางอาคาร (ช) การทรุดตัวของฐานรากอาคาร (2) การตรวจบํารุงรักษาระบบและอุปกรณประกอบของอาคาร ดังนี้ (ก) ระบบบริการและอํานวยความสะดวก (1) ระบบลิฟต (2) ระบบบันไดเลื่อน (3) ระบบไฟฟา (4) ระบบปรับอากาศ (ข) ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม (1) ระบบประปา (2) ระบบระบายน้าํ เสียและระบบบําบัดน้าํ เสีย (3) ระบบระบายน้าํ ฝน (4) ระบบจัดการมูลฝอย (5) ระบบระบายอากาศ (6) ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง (ค) ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย หนาที่ 4

5 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

(1) บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ (2) เครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน (3) ระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควัน (4) ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน (5) ระบบลิฟตดับเพลิง (6) ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม (7) ระบบการติดตั้งอุปกรณดับเพลิง (8) ระบบการจายน้ําดับเพลิง เครื่องสูบน้ําดับเพลิง และหัวฉีดน้ําดับเพลิง (9) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ (10) ระบบปองกันฟาผา (3) การตรวจสอบสมรรถนะของระบบ และอุปกรณตางๆ เพื่ออพยพผูใชอาคาร (1) สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ (2) สมรรถนะเครือ่ งหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน (3) สมรรถนะระบบแจงสัญญาณเหตุเพลิงไหม (4 ) การดําเนินการตามแผนการบริหารจัดการความปลอดภัยในอาคาร ( ก ) แผนการปองกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร ( ข ) แผนการซอมอพยพผูใชอาคาร ( ค ) แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร ( ง )แผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร

หนาที่ 5

6 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 4 แนวทางการตรวจบํารุงรักษาอาคาร และ อุปกรณประกอบของอาคารประจําป . ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแนวทางการตรวจบํารุงรักษาอาคาร และอุปกรณประกอบของอาคาร ประจําปดังนี้ 1.เจาของอาคารตองจัดหา หรือจัดทําแบบแปลนอาคารเพื่อใชสําหรับการตรวจสอบอาคารจัดเก็บไว ที่อาคารเพื่อใหผูตรวจสอบสามารถใชประกอบการตรวจสอบอาคารได แบบแปลนของอาคารที่ ตองตรวจสอบอยางนอยตองประกอบดวยแปลนพืน้ ทุกชั้น แสดงตําแหนงของอุปกรณดับเพลิง เสนทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ 2. เจาของอาคาร หรือนิติบุคคลอาคารชุดตองจัดใหมีการตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบ ของอาคารตามคูมือปฏิบัติของผูผลิต หรือผูติดตั้งระบบและอุปกรณของอาคาร และตามแผนการ ตรวจบํารุงรักษาฉบับนี้ และจัดใหมีการบันทึกขอมูลการตรวจบํารุงรักษาอาคารตามชวงระยะเวลา ที่ผูตรวจสอบกําหนดใหผูตรวจสอบใชประกอบในการตรวจสอบอาคารประจําป 3. เจาของอาคาร หรือนิติบุคคลอาคารชุดตองนํารายงานผลการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณ ประกอบของอาคารที่ผูตรวจสอบจัดทํา แจงตอเจาพนักงานทองถิ่นเพื่อใหออกหนังสือรับรองการ ตรวจสอบอาคารทุกป โดยจะตองเสนอภายในสามสิบวันกอนวันที่ใบรับรองการตรวจอาคารฉบับ เดิมจะมีอายุครบหนึง่ ป 4.กรณีที่เจาของอาคาร หรือผูดูแลอาคารพบวาสภาพของอาคารหรืออุปกรณประกอบตาง ๆ ของ อาคารมีการชํารุด เสียหาย ตองแกไข ผิดปกติ หรือ ใชงานไมได เจาของอาคาร หรือ ผูดูแลอาคารจะตองบันทึกรายละเอียดแตละรายการใหชัดเจน และแจงผลใหผูตรวจสอบทราบ

หนาที่ 6

7 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 5 ชวงเวลา และความถี่ในการตรวจบํารุงรักษา อาคารและ อุปกรณประกอบของอาคาร สําหรับเจาของอาคาร ( ผูดูแลอาคาร ) 1. ความถี่ในการตรวจบํารุงรักษาอาคารดานความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ

รายการตรวจบํารุงรักษา

1

การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงตัวอาคาร

2

การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้น อาคาร การเปลี่ยนแปลงสภาพการใชอาคาร

3

5

การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสราง หรือวัสดุ ตกแตงอาคาร การชํารุดสึกหรอของอาคาร

6

การวิบัติของโครงสรางอาคาร

7

การทรุดตัวของฐานรากอาคาร

4

2 1 3 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

หนาที่ 7

1 ป

หมายเหตุ

8 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

2. ความถี่ในการตรวจบํารุงรักษาระบบบันไดหนีไฟและทางหนีไฟของอาคาร ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ

รายการตรวจบํารุงรักษา

1 1.1

ระบบบันไดหนีไฟ สภาพราวจับ และราวกันตก

1.2

อุปสรรคกีดขวางตลอดเสนทางของ บันไดหนีไฟ การปด - เปดประตู เขา – ออกบันได หนีไฟ

1.3

2 2.1 2.2 2.3

2 1 3 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

1 ป

หมายเหตุ

ทางหนีไฟ ความสองสวางของแสงไฟบนเสนทาง หนึไฟ อุปสรรคกีดขวางตลอดเสนทางจนถึง เสนทางออกสูภายนอกอาคาร การปด – เปดประตูตลอดเสนทาง

3

เครื่องหมายและไฟปายทางออก ฉุกเฉิน สภาพและการทํางานของเครื่องหมาย และไฟปายทางออกฉุกเฉิน

4

แบบแปลนเพื่อการดับเพลิง แบบแปลนพื้นทุกชั้นของอาคารเพื่อการ ดับเพลิง

หนาที่ 8

9 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

3. ความถี่ในการตรวจบํารุงรักษาระบบไฟฟา ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมของอาคาร ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ

รายการตรวจบํารุงรักษา

1

ระบบไฟฟาแรงสูง

1.1

สายอากาศ

1.2

สายใตดิน

2

หมอแปลงไฟฟา

3

ระบบไฟฟาแรงต่ํา

3.1

แรงต่ําภายนอกอาคาร

3.2

แผงสวิตซนอกอาคาร

3.3

แรงต่ําภายในอาคาร

3.4

แผงสวิตซเมน

3.5

สายปอน

3.6

แผงสวิตซยอย

3.7

วงจรยอยและอุปกรณไฟฟา

3.8

สายปอนสําหรับระบบประกอบอาคาร

4

เครื่องกําเนิดไฟฟา

5

ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน

6

ปายทางออกฉุกเฉิน

7

ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม

8

ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา

2 1 3 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

หนาที่ 9

1 ป

หมายเหตุ

10 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

4. ความถี่ในการตรวจบํารุงรักษาระบบเครื่องกลของอาคาร ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ

รายการตรวจบํารุงรักษา

1 1.1

ระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย เครื่องทําน้ําเย็น

1.2

ระบบควบคุมระบบปรับอากาศ

1.3

ระบบไฟฟาของระบบปรับอากาศ

1.4

หอผึ่งน้ํา ( COOLING TOWER )

1.5

เครื่องสงลมเย็น แผงกรองอากาศ

1.6

ทอสงลมเย็นและอุปกรณระบบ

1.7

ปมน้ําเย็นและปมน้ําระบายความรอน

1.8

ระบบทอน้ําเย็นและทอน้ําระบายความ รอนพรอมอุปกรณประกอบ

2 2.1

ระบบปรับอากาศแบบแยกสวน การทํางานและการจับยึดของชุด CONDENSING UNIT การทํางานและการจับยึดของชุด FANCOIL UNIT แผงกรองอากาศ ระบบไฟฟาของระบบปรับอากาศ

2.2 2.3

2 1 3 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

หนาที่ 10

1 ป

หมายเหตุ

11 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

ลําดับ

รายการตรวจบํารุงรักษา

3 3.1

ระบบระบายอากาศ พัดลมระบายอากาศ

3.2

ระบบไฟฟาของระบบระบายอากาศ

3.3

การทํางานของระบบอัดอากาศบันได หนีไฟ

4 4.1

ระบบลิฟต ลิฟตดับเพลิง การทํางานของลิฟต และลิฟตดับเพลิง

4.2

อุปกรณดานความปลอดภัย

4.3

อุปกรณการใหความชวยเหลือ

4.4

การทํางานของระบบอัดอากาศโถงหนา ลิฟตดับเพลิง

5 5.1

ระบบบันไดเลื่อน การทํางานของบันไดเลื่อน

5.2

อุปกรณดานความปลอดภัย

5.3

ระบบไฟฟาของบันไดเลื่อน

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ความถี่ในการตรวจสอบ

2 1 3 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

หนาที่ 11

1 ป

หมายเหตุ

12 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

5. ความถี่ในการตรวจบํารุงรักษาระบบสุขาภิบาลและระบบดับเพลิงของอาคาร

ลําดับ

รายการตรวจบํารุงรักษา

1

ระบบประปา ถังเก็บน้ําใตดิน/บนดิน/บนดาดฟา อาคาร - สภาพถังและฝาเปด – ปดถังเก็บน้ํา - สภาพทอน้ําเขา - ออก จากถังเก็บน้ํา - สภาพประตูน้ําเขา - ออก จากถังเก็บ น้ํา - การปองกันหนูและแมลงสาบเขาถัง เก็บน้ํา เครื่องสูบน้ําและหองเครื่องสูบ - สภาพความสะอาดในหองเครื่องสูบ - สภาพการทํางานของเครื่อง-สูบน้ํา เสียงดัง, สั่นสะเทือน, รั่วซึม - สภาพการทํางานระบบควบคุมเครื่อง สูบน้ํา - ระบบไฟฟาของเครื่องสูบน้ํา - สภาพทอสงจายน้ํา - สภาพอุปกรณประกอบเครื่องสูบน้ํา เชน ประตูน้ํา ระบบทอประปา - การรั่วซึมของทอประปา - สภาพประตูน้ําของระบบประปา

1.1

1.2

1.3

ความถี่ในการตรวจสอบ

2 1 3 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

หนาที่ 12

1 ป

หมายเหตุ

13 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ

รายการตรวจบํารุงรักษา

1

ระบบประปา ถังเก็บน้ําใตดิน/บนดิน/บนดาดฟา อาคาร - สภาพถังและฝาเปด – ปดถังเก็บน้ํา - สภาพทอน้ําเขา - ออก จากถังเก็บน้ํา - สภาพประตูน้ําเขา - ออก จากถังเก็บ น้ํา - การปองกันหนูและแมลงสาบเขาถัง เก็บน้ํา เครื่องสูบน้ําและหองเครื่องสูบ - สภาพความสะอาดในหองเครื่องสูบ - สภาพการทํางานของเครื่อง-สูบน้ํา เสียงดัง, สั่นสะเทือน, รั่วซึม - สภาพการทํางานระบบควบคุมเครื่อง สูบน้ํา - ระบบไฟฟาของเครื่องสูบน้ํา - สภาพทอสงจายน้ํา - สภาพอุปกรณประกอบเครื่องสูบน้ํา เชน ประตูน้ํา ระบบทอประปา - การรั่วซึมของทอประปา - สภาพประตูน้ําของระบบประปา

1.1

1.2

1.3

2 1 3 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

หนาที่ 13

1 ป

หมายเหตุ

14 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ 2 2.1

2.2

2.3

รายการตรวจบํารุงรักษา

2 1 3 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

1 ป

หมายเหตุ

ระบบระบายน้ําในอาคาร ทอระบายน้ําเสีย - สภาพทอและการยึดแขวนทอ - การรั่วซึมของทอ - การอุดตันในทอ - สภาพอุปกรณประกอบการระบายน้ํา - ที่ดักกลิ่น - ชองรับน้ํา (FD.) - ชองเปดลางทอ (CO.) -สภาพชองทอ - กลิ่นและความอับชื้น - การปองกันหรือกําจัดหนูและ แมลงสาบในชองทอ -- การปองกันควันและไฟลามในชองทอ ทอระบายน้ําฝน - สภาพทอและการยึดแขวนทอ - การอุดตันในทอ - การรั่วซึมของทอ - สภาพอุปกรณประกอบ - ชองรับน้ํา (RD.) เครื่องสูบน้ําเสียและบอสูบ (ถามี) - สภาพบอสูบ -

- สภาพบอสูบ - สภาพการทํางานของเครื่องสูบน้ําเสีย - การทํางานของระบบควบคุม - ระบบไฟฟาของเครื่องสูบ หนาที่ 14

15 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ

รายการตรวจบํารุงรักษา

1

ระบบประปา ถังเก็บน้ําใตดิน/บนดิน/บนดาดฟา อาคาร - สภาพถังและฝาเปด – ปดถังเก็บน้ํา - สภาพทอน้ําเขา - ออก จากถังเก็บน้ํา - สภาพประตูน้ําเขา - ออก จากถังเก็บ น้ํา - การปองกันหนูและแมลงสาบเขาถัง เก็บน้ํา เครื่องสูบน้ําและหองเครื่องสูบ - สภาพความสะอาดในหองเครื่องสูบ - สภาพการทํางานของเครื่อง-สูบน้ํา เสียงดัง, สั่นสะเทือน, รั่วซึม - สภาพการทํางานระบบควบคุมเครื่อง สูบน้ํา - ระบบไฟฟาของเครื่องสูบน้ํา - สภาพทอสงจายน้ํา - สภาพอุปกรณประกอบเครื่องสูบน้ํา เชน ประตูน้ํา ระบบทอประปา - การรั่วซึมของทอประปา - สภาพประตูน้ําของระบบประปา

1.1

1.2

1.3

2 1 3 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

หนาที่ 15

1 ป

หมายเหตุ

16 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 6 ผลการตรวจสอบสภาพอาคาร และอุปกรณ ตาง ๆ ของอาคารโดยเจาของอาคาร ( ผูดูแลอาคาร ) สวนที่ 6 เปนผลการตรวจสอบการบํารุงรักษาอาคาร และอุปกรณประกอบตาง ๆ ของ อาคารตามที่เจาของอาคาร หรือ ผูดูแลอาคารสามารถสังเกตไดดวยสายตา ไมรวมถึงการทดสอบที่ใช เครื่องมือพิเศษเฉพาะ การตรวจสอบการบํารุงรักษาอาคาร และอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร เจาของอาคาร หรือ ผูดูแลอาคารสอบจะตองพิจารณาตามรายละเอียดในคูมือรายละเอียดนี้ ที่ผูตรวจสอบอาคารไดกําหนด ไว และความถี่ในการตรวจไมนอยกวา ทีผ่ ูตรวจสอบอาคารไดกําหนดไว เนื่องจากอาคารที่เขาขายตองตรวจสอบมีหลายประเภท และมีขอกําหนดในดานความ ปลอดภัยของระบบตาง ๆ ทีเ่ ขมงวดแตกตางกัน ซึ่งรายการที่กาํ หนดบางรายการเปนรายการที่กาํ หนดไว สําหรับอาคารสูง และอาคารขนาดใหญพเิ ศษ ดังนัน้ ในกรณีที่เปนอาคารประเภทอื่นที่ ไมมีระบบความปลอดภัยเขมงวดเชนเดียวกับอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ หรือกรณีเปนอาคารเกา ใหเจาของอาคาร หรือ ผูดูแลอาคารระบุในหมายเหตุทา ยรายการที่ตรวจสอบแตละรายการใหชัดเจน กรณีที่ พบวาสภาพของอาคารหรืออุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคารมีการชํารุด เสียหาย ตองแกไข ผิดปกติ หรือ ใชงานไมได เจาของอาคาร หรือ ผูดูแลอาคารจะตองบันทึกรายละเอียดแตละรายการให ชัดเจน และแจงผลใหผูตรวจสอบทราบ

หนาที่ 16

17 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 7 สรุปผลการตรวจสอบบํารุงรักษาอาคาร และ อุปกรณ ตาง ๆ ของอาคารโดยเจาของอาคาร ( ผูดูแลอาคาร ) สวนที่ 7 เปนสรุปผลการตรวจสอบบํารุงรักษาตัวอาคาร ระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร รวมทัง้ การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณตาง ๆ ที่เกีย่ วของกับความปลอดภัยจาก อัคคีภัยของอาคาร ตามที่ผตู รวจสอบอาคารไดกําหนดไว

หนาที่ 17

18 of 202

ลําดับที่ ี่

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ใช ใชไ ไมไ มีการแกไขแลว ด ด

รายการตรวจสอบ

1

การตรวจบํารุงรักษาอาคารความมั่นคง แข็งแรงของอาคาร 1.1 การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงตัวอาคาร 1.2 การเปลี่ยนแปลงน้าํ หนักบรรทุกบนพืน้ อาคาร 1.3 การเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร 1.4 การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอ สรางหรือวัสดุตกแตง อาคาร 1.5 การชํารุดสึกหรอของอาคาร 1.6 การวิบัตขิ องโครงสรางอาคาร 1.1 การทรุดตัวของฐานรากอาคาร

2

การตรวจสอบบํารุงรักษาระบบและอุปกรณ ประกอบตาง ๆ ของอาคาร 2.1 ระบบบันไดหนีไฟและทางหนีไฟของอาคาร - ระบบบันไดหนีไฟ - ทางหนีไฟ - เครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน - แบบแปลนเพือ่ การดับเพลิง 2.2 ระบบไฟฟา ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม - ระบบไฟฟาแรงสูง - หมอแปลงไฟฟา - ระบบไฟฟาแรงต่ํา - เครื่องกําเนิดไฟฟา - ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน - ปายทางออกฉุกเฉิน - ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม - ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา

หนาที่ 18

หมายเหตุ

19 of 202

ลําดับที่ ี่

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ใช ใชไ ไมไ มีการแกไขแลว ด ด

รายการตรวจสอบ

หมายเหตุ

2.3 ระบบเครื่องกลของอาคาร - ระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย - ระบบปรับอากาศแบบแยกสวน - ระบบระบายอากาศ - ระบบลิฟต ลิฟตดับเพลิง - ระบบบันไดเลื่อน 2.4 ระบบสุขาภิบาลของอาคาร - ระบบประปา - ระบบระบายน้าํ ในอาคาร - ระบบระบายน้าํ ภายนอกอาคาร - บอบําบัดน้าํ เสีย - ระบบจัดการมูลฝอย - ระบบดับเพลิง 3

การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและ อุปกรณตาง ๆ 3.1 สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ 3.2 สมรรถนะเครื่องหมายและไฟปายทางออก ฉุกเฉิน 3.3 สมรรถนะระบบแจงสัญญาณเหตุเพลิงไหม

4

การตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพือ่ ความ ปลอดภัยในอาคาร 4.1 แผนการปองกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร 4 .2 แผนการซอมอพยพผูใชอาคาร 4.3 แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัย ในอาคาร 4.4 แผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร หนาที่ 19

20 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลอาคารประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ลายมือชื่อ……………………………………………….เจาของอาคาร หรือ ผูดูแลอาคาร ( ………………………………………………) วัน เดือน ป ที่ตรวจ ………………………………………

หนาที่ 20

21 of 202

2. แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการ ตรวจสอบประจําป

22 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 1 ขอบเขตของการตรวจสอบอาคาร และ รายละเอียดที่ตองตรวจสอบ 1.1 ในแผนการตรวจสอบอาคารและรายละเอียดการตรวจสอบอาคารประจําปฉบับนี้ การตรวจสอบอาคาร หมายถึง การตรวจสอบสภาพอาคารดานความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ ประกอบตาง ๆ ของอาคาร ตามมาตรา 32 ทวิ แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ผูตรวจสอบอาคาร หมายถึง ผูซงึ่ ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม หรือผูซึ่งไดรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ตามกฎหมายวาดวยการนั้น แลวแตกรณี ซึ่งไดขึ้น ทะเบียนเปนผูต รวจสอบอาคารตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เจาของอาคาร หมายถึง ผูท ี่มีสิทธิ์เปนเจาของอาคาร ผูดูแลอาคาร หมายถึง เจาของอาคารหรือ ผูทที่ ี่ไดรับมอบหมายจากเจาของอาคารใหมีหนาที่ตรวจสอบ การบํารุงรักษาอาคาร และระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร เจาพนักงานทองถิ่น หมายถึง (1) นายกเทศมนตรี สําหรับในเขตเทศบาล (2) นายกองคการบริหารสวนจังหวัด สําหรับในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด (3) ประธานกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบล สําหรับในเขตองคการบริหารสวนตําบล (4) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร สําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร (5) ปลัดเมืองพัทยา สําหรับในเขตเมืองพัทยา (6) ผูบริหารทองถิ่นขององคการปกครองทองถิ่นอืน่ ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด สําหรับในเขตราชการ สวนทองถิ่นนัน้ แผนการตรวจสอบอาคาร หมายถึง แผนการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของ อาคาร สําหรับผูตรวจสอบอาคาร แบบแปลนอาคาร หมายถึง แบบแปลนของอาคารที่ตองตรวจสอบ ซึ่งอยางนอยตองประกอบดวย แปลนพื้นทุกชัน้ และแสดงตําแหนงของอุปกรณดับเพลิง เสนทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ 1.2 หนาที่ความรับผิดชอบของผูเกี่ยวของ 1.2.1 ผูตรวจสอบอาคาร มีหนาที่ตรวจสอบ สังเกต ทํารายงาน วิเคราะห ทางดานความมั่นคงแข็งแรง และระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสนิ ของผูใชสอยอาคารโดยแจง เจาของอาคารเพื่อรายงานผลดังกลาวตอเจาพนักงานทองถิ่น ผูตรวจสอบตองตรวจสอบตามหลัก วิชาชีพ และตามมาตรฐานการตรวจสอบสภาพอาคารของกฎหมายควบคุมอาคารหรือ หนาที่1

23 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

มาตรฐานสากลตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ณ สถานที่ วัน และเวลาทีท่ ําการตรวจสอบ แลวจัดทํารายงานผล การตรวจสอบอาคารใหกับเจาของอาคาร ผูตรวจสอบอาคารตองจัดใหมี ( 1 ) แบบรายละเอียดการตรวจสอบอาคาร สําหรับผูตรวจสอบอาคารใชในการตรวจสอบใหญ ทุก ๆ 5 ป และการตรวจสอบอาคารประจําป ( 2 ) แผนปฏิบัติการการตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร รวมทั้งคูม ือปฏิบัติ การตามแผนใหแกเจาของอาคารเพือ่ เปนแนวทางการตรวจบํารุงรักษาและ การบันทึกขอมูล การตรวจบํารุงรักษาอาคาร ( 3 ) แผนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารประจําป รวมทัง้ แนวทางการตรวจ สอบตามแผนดังกลาวใหแกเจาของอาคารเพื่อประโยชนในการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ ประกอบของอาคารประจําป 1.2.2 เจาของอาคาร หรือผูดูแลอาคารที่ไดรับมอบหมายจากเจาของอาคารมีหนาที่ตรวจสอบการ บํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร รวมทัง้ การตรวจสอบสมรรถนะของ ระบบและอุปกรณตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยจากอัคคีภัยของอาคาร ตามที่ผูตรวจสอบอาคาร ไดกําหนดไว และจัดใหมีการทดสอบการทํางานของระบบ และอุปกรณ การซอมอพยพหนีไฟ• การบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร•การอบรมพนักงานดานความปลอดภัยในระหวางป แลวรายงานผลการตรวจสอบตอเจาพนักงานทองถิน่ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาํ หนดใน กฎกระทรวงเกีย่ วกับการตรวจสอบอาคาร กรณีที่เปนอาคารชุดใหผูจัดการนิติบุคคลอาคารชุดมีอํานาจหนาที่ในการจัดใหมีและดําเนินการ เพื่อตรวจสอบอาคารแทนเจาของหองชุด ทั้งในสวนที่เปนทรัพยสวนบุคคลและทรัพยสวนกลาง 1.2.3 เจาพนักงานทองถิ่น มีหนาที่ตามกฎหมายในการพิจารณาผลการตรวจสอบสภาพอาคารที่ เจาของอาคารเสนอเพือ่ พิจารณาออกใบรับรองการตรวจสอบอาคาร หรือดําเนินการตามอํานาจหนาที่ ตามกฎหมายตอไป 1.3 ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแผนการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร ไวตามแผนการตรวจสอบฉบับนี้ ใหเจาของอาคารและหรือผูดูแลอาคารใชเปนแนวทางการปฏิบัติ ผูตรวจสอบอาคารสามารถแกไขเปลี่ยนแปลงแผนการตรวจสอบนีไ้ ดตามความเหมาะสม 1.4 การตรวจสอบบํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคารใหเปนไปตามแผนการ ตรวจการตรวจสอบบํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร และคูมือการตรวจ บํารุงรักษาอาคารที่ผตู รวจสอบอาคารกําหนด

หนาที่2

24 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

1.5 ผูตรวจสอบอาคารตองไมดําเนินการตรวจสอบอาคาร ดังตอไปนี้ ( 1 ) อาคารทีผ่ ูตรวจสอบหรือคูสมรส พนักงานหรือตัวแทนของผูตรวจสอบเปนผูจัดทําหรือ รับผิดชอบในการออกแบบ รายการประกอบแบบแปลน หรือรายการคํานวณสวนตาง ๆ ของ โครงสรางอาคาร การควบคุมงาน การกอสราง หรือการติดตั้งอุปกรณประกอบของอาคาร ( 2 ) อาคารทีผ่ ูตรวจสอบหรือคูสมรสเปนเจาของหรือมีสว นรวมในการบริหารจัดการอาคาร

1. 6 ขอบเขตในการตรวจสอบอาคารของผูตรวจสอบอาคาร การตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร อาจมีขอจํากัดตาง ๆ ที่ ไมสามารถตรวจสอบไดตามที่กาํ หนดและตามที่ตองการได ดังนัน้ จึงจําเปนตองกําหนดขอบเขตของผู ตรวจสอบ ดังนี้ “ผูตรวจสอบมีหนาที่ตรวจสอบ สังเกต ทํารายงาน วิเคราะห ทางดานความมัน่ คงแข็งแรง และระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสนิ ของผูใชสอยอาคารโดยแจงเจาของ อาคารเพื่อรายงานผลดังกลาวตอเจาพนักงานทองถิน่ ผูตรวจสอบตองตรวจสอบตามหลักวิชาชีพ และตามมาตรฐานการตรวจสอบสภาพอาคาร ของกฎหมายควบคุมอาคารหรือมาตรฐานสากลตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ณ สถานที่ วัน และเวลาทีท่ ําการ ตรวจสอบตามที่ระบุในรายงานและติดตามตรวจสอบระหวางปภายหลังการตรวจสอบใหญ ตามชวงเวลา และความถี่ตามทีก่ ําหนดไวในแผนการตรวจสอบอาคารประจําปที่ผูตรวจสอบกําหนด”

1.7. รายละเอียดในการตรวจสอบ 1.7.1 รายละเอียดที่ตองตรวจสอบ ผูตรวจสอบตองตรวจสอบ และทํารายงานการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณตาง ๆ ของ อาคาร ดังตอไปนี้ 1.7.1.1 การตรวจสอบตัวอาคาร ใหตรวจสอบความมัน่ คงแข็งแรงของอาคาร ดังนี้ (1) การตอเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร (2) การเปลี่ยนแปลงน้าํ หนักบรรทุกบนพืน้ อาคาร (3) การเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร (4) การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคาร (5) การชํารุดสึกหรอของอาคาร (6) การวิบัติของโครงสรางอาคาร (7) การทรุดตัวของฐานรากอาคาร

หนาที่3

25 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

1.7.1.2 การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร 1.7.1.2.1 ระบบบริการและอํานวยความสะดวก (1) ระบบลิฟต (2) ระบบบันไดเลื่อน (3) ระบบไฟฟา (4) ระบบปรับอากาศ 1.7.1.2.2 ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม (1) ระบบประปา (2) ระบบระบายน้าํ เสียและระบบบําบัดน้าํ เสีย (3) ระบบระบายน้าํ ฝน (4) ระบบจัดการมูลฝอย (5) ระบบระบายอากาศ (6) ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง 1.7.1.2.3 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย (1) บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ (2) เครื่องหมายและไฟปายบอกทางออกฉุกเฉิน (3) ระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควัน (4) ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน (5) ระบบลิฟตดับเพลิง (6) ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม (7) ระบบการติดตั้งอุปกรณดับเพลิง (8) ระบบการจายน้ําดับเพลิง เครื่องสูบน้ําดับเพลิง และหัวฉีดน้ําดับเพลิง (9) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ (10) ระบบปองกันฟาผา (11) แบบแปลนอาคารเพื่อการดับเพลิง 1.7.1.3 การตรวจสอบสมรรถนะของระบบ และอุปกรณตาง ๆ เพือ่ การอพยพ ดังนี้ (1) สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ (2) สมรรถนะเครือ่ งหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน (3) สมรรถนะระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม

หนาที่4

26 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

1.7.1.4 การตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยในอาคาร ดังนี้ (1) แผนการปองกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร (2) แผนการซอมอพยพผูใชอาคาร (3) แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร (4) แผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร 1.7.2 ลักษณะบริเวณที่ตองตรวจสอบ ผูตรวจสอบจะตรวจสอบ รายงาน และประเมินลักษณะบริเวณทีน่ อกเหนือจากอาคาร ดังตอไปนี้ (1) ทางเขาออกของรถดับเพลิง (2) ที่จอดรถดับเพลิง (3) สภาพของรางระบายน้ํา 1.7.3 ลักษณะบริเวณที่ไมตอ งตรวจสอบ (1) การตรวจสอบพื้นทีท่ ี่มคี วามเสีย่ งภัยสูงตอผูตรวจสอบ (2) การตรวจสอบที่อาจทําใหอาคารหรือวัสดุอุปกรณหรือทรัพยสินเกิดความเสียหาย 1.7.4 การตรวจสอบระบบโครงสราง 1.7.4.1 ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา ทํารายงาน และประเมินโครงสรางตาม รายละเอียดดังตอไปนี้ (1) สวนของฐานราก (2) ระบบโครงสราง (3) ระบบโครงหลังคา 1.7.4.2 สภาพการใชงานตามที่เห็น การสั่นสะเทือนของพืน้ การแอนตัวของพื้น คาน หรือ ตง และการเคลื่อนตัวในแนวราบ 1.7.4.3 การเสื่อมสภาพของโครงสรางทีจ่ ะมีผลกระทบตอความมัน่ คงแข็งแรงของระบบ โครงสรางของอาคาร 1.7.4.4 ความเสียหายและอันตรายของโครงสราง เชน ความเสียหายเนื่องจากอัคคีภัย ความเสียหายจากการแอนตัวของโครงขอหมุน และการเอียงตัวของผนัง เปนตน 1.7.5 การตรวจสอบระบบบริการและอํานวยความสะดวก 1.7.5.1 ระบบลิฟต ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพื้นฐานเทานัน้ จะไม รวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบอุปกรณระบบลิฟต (2) ตรวจสอบการทํางานของลิฟต หนาที่5

27 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

(3) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผา นมา 1.7.5.2 ระบบบันไดเลือ่ น ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพื้นฐานเทานั้น จะไม รวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบอุปกรณระบบของบันไดเลื่อน (2) ตรวจสอบการทํางานของบันไดเลื่อน (3) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผา นมา 1.7.5.3 ระบบไฟฟา 1.7.5.3.1.ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา เครื่องมือหรือเครื่องวัดชนิดพกพาทํา รายงานและประเมินระบบไฟฟาและบริภัณฑไฟฟา ดังนี้ (1) สภาพสายไฟฟา ขนาดกระแสของสาย จุดตอสาย และอุณหภูมิขั้วตอสาย (2) ทอรอยสาย รางเดินสาย และรางเคเบิล (3) ขนาดเครื่องปองกันกระแสเกินและพิกัดตัดกระแสของบริภัณฑประธาน แผง ยอย และแผงวงจรยอย (4) เครื่องตัดไฟรั่ว (5) การตอลงดินของบริภัณฑ ขนาดตัวนําตอลงดิน และความตอเนื่องลงดินของ ทอรอยสาย รางเดินสาย รางเคเบิล (6) รายการอืน่ ตามตารางรายการตรวจสอบ 1.7.5.3.2 ผูตรวจสอบไมตองตรวจสอบในลักษณะดังนี้ (1) วัดหรือทดสอบแผงสวิตซ ทีต่ องใหสายวัดสัมผัสกับบริภัณฑในขณะทีแ่ ผง สวิตซนนั้ มีไฟหรือใชงานอยู (2) ทดสอบการใชงานอุปกรณปอ งกันกระแสเกิน (3) ถอดออกหรือรื้อบริภัณฑไฟฟา นอกจากเพียงเปดฝาแผงสวิตซ แผง ควบคุม เพือ่ ตรวจสภาพบริภัณฑ 1.7.5.4 ระบบปรับอากาศ ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา เครื่องมือหรือเครื่องชนิดพกพาทํารายงานและ ประเมิน ระบบปรับอากาศ ดังนี้ (1) อุปกรณเครื่องเปาลมเย็น (AHU) (2) สภาพทางกายภาพของเครือ่ งเปาลมเย็น (3) สภาพการกระจายลมเย็นที่เกิดขึ้น (4) ระบบไฟฟาของระบบปรับอากาศ (5) สภาพของอุปกรณและระบบควบคุม หนาที่6

28 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

1.7.6 ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา เครื่องมือและเครื่องวัดชนิดพกพาทํารายงานและ ประเมินระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม ดังนี้ (1) สภาพทางกายภาพและการทํางานของเครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในระบบ ประปา ระบบบําบัดน้าํ เสียและระบายน้ําเสีย ระบบระบายน้าํ ฝน ระบบจัดการ ขยะมูลฝอย ระบบระบายอากาศ และระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง (2) ความสะอาดของ ถังเก็บน้ําประปา 1.7.7 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา ทํารายงานและประเมินความปลอดภัยดานอัคคีภัย ดังตอไปนี้ 1.7.7.1 บันไดหนีไฟ ทางหนีไฟ เครื่องหมาย และไฟปายบอกทางออกฉุกเฉิน ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมเครื่องมือวัดพืน้ ฐาน เชน ตลับเมตร เปนตน โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบสภาพราวจับ และราวกันตก (2) ตรวจสอบความสองสวางของแสงไฟ บนเสนทาง (3) ตรวจสอบอุปสรรคสิ่งกีดขวาง ตลอดเสนทางจนถึงเสนทางออกสูภายนอก อาคาร (4) ตรวจสอบการปด – เปดประตู ตลอดเสนทาง (5) ตรวจสอบปายเครื่องหมายสัญลักษณ1.7.7.2 ระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควัน ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบและทดสอบดวยสายตา พรอมเครื่องมือวัดพื้นฐาน เทานั้น จะไมรวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครือ่ งมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยาง นอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบสภาพอุปกรณ พรอมระบบอุปกรณควบคุมการทํางาน (2) ทดสอบการทํางานวาสามารถใชไดทันที่ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทัง้ แบบ อัตโนมัติ และแบบที่ใชมือ รวมทัง้ สามารถทํางานไดตอเนื่อง โดยไมหยุด ชะงักขณะเกิดเพลิงไหม (3) การรั่วไหลของอากาศภายในชองบันไดแบบปดทึบทีม่ ีระบบพัดลม อัดอากาศ รวมทั้งการออกแรงผลักประตูเขาบันไดขณะพัดลมอัดอากาศ ทํางาน (4) ตรวจสอบชองเปด เพื่อการระบายควันจากชองบันไดและอาคาร รวมถึงชอง ลมเขาเพื่อเติมอากาศเขามาแทนที่ดวย หนาที่7

29 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

(5) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผา นมา 1.7.7.3 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพืน้ ฐานเทานัน้ จะไม รวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบสภาพและความพรอมของแบตเตอรี่ เพื่อสตารทเครื่องยนต (2) ตรวจสอบสภาพและความพรอมของระบบจายน้ํามันเชือ้ เพลิง เครื่องยนต และปริมาณน้าํ มันที่สํารองไว (3) ตรวจสอบการทํางานของระบบไฟฟาสํารอง ทั้งแบบอัตโนมัติและแบบที่ใชมือ (4) ตรวจสอบการระบายอากาศ ขณะเครื่องยนตทํางาน (5) ตรวจสอบวงจรระบบจายไฟฟา ใหแกอปุ กรณชวยเหลือชีวิต และที่สาํ คัญอื่น ๆ วามีความมัน่ คงในการจายไฟฟาดีขณะเกิดเพลิงไหมในอาคาร (6) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผา นมา 1.7.7.4 ระบบลิฟตดับเพลิง ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพื้นฐานเทานัน้ จะไม รวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบตามเกณฑทั่วไปของลิฟต (2) ตรวจสอบสภาพโถงปลอดควันไฟ รวมทัง้ ชวงเปดตาง ๆ และประตู (3) ตรวจสอบอุปกรณระบบปองกันอัคคีภัยตาง ๆ ภายในโถงปลอดควันไฟ (4) ตรวจสอบการปองกันน้าํ ไหลลงสูชองลิฟต (5) ตรวจสอบการทํางานของลิฟตดับเพลิง รวมทั้งสัญญาณกระตุนจากระบบแจง เหตุเพลิงไหม และการทํางานของระบบอัดอากาศ (ถามี) 1.7.7.5 ระบบแจงเหตุเพลิงไหม ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพืน้ ฐานเทานัน้ จะไม รวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิดอุปกรณตรวจจับเพลิงไหม ในแตละหอง/ พื้นที่ ครอบคลุมครบถวน (2) ตรวจสอบอุปกรณแจงเหตุดวยมือ, อุปกรณแจงเหตุตาง ๆครอบคลุมครบถวน ตําแหนงของแผงควบคุมและแผงแสดงผลเพลิงไหม (3) ตรวจสอบการทํางานของอุปกรณระบบฉุกเฉินตาง ๆ ที่ใชสัญญาณกระตุน ระบบแจงเหตุเพลิงไหม (4) ตรวจสอบความพรอมในการแจงเหตุทั้งแบบอัตโนมัติ และแบบที่ใชมือของ ระบบแจงเหตุเพลิงไหม หนาที่8

30 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

(5) ตรวจสอบขั้นตอนการแจงเหตุอัตโนมัติ และชวงเวลาแตละขั้นตอน (6) ตรวจสอบแหลงจายไฟฟาใหแผงควบคุม (7) ตรวจสอบการแสดงผลของระบบแจงเหตุเพลิงไหม (8) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผา นมา 1.7.7.6 ระบบการติดตั้งอุปกรณดบั เพลิง ระบบการจายน้าํ ดับเพลิง เครือ่ งสูบน้ํา ดับเพลิงและหัวฉีดน้ําดับเพลิง และ ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพืน้ ฐานเทานั้น จะไม รวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิดอุปกรณและระบบดับเพลิง ในแตละหอง/ พื้นที่ และครอบคลุมครบถวน (2) ตรวจสอบการทํางานของอุปกรณและระบบทั้งแบบอัตโนมัติและแบบที่ใชมือ รวมความพรอมใชงานตลอดเวลา (3) ตรวจสอบการทํางานอุปกรณระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการปลอยสาร ดับเพลิง อาทิ การแจงเหตุ การเปด – ปดลิ้นกัน้ ไฟหรือควัน เปนตน (4) ตรวจสอบขัน้ ตอนการดับเพลิงแบบอัตโนมัติ และชวงเวลาแตละขั้นตอน (5) ตรวจสอบความถูกตองตามที่กําหนดของแหลงจายไฟฟาใหแผงควบคุม แหลงน้ําดับเพลิง ถังสารดับเพลิง (6) ตรวจสอบความดันน้าํ และการไหลของน้าํ ในจุดที่ไกลหรือสูงที่สุด (7) ตรวจสอบการแสดงผลของระบบดับเพลิง (8) ตรวจการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา 1.7.7.7 ระบบปองกันฟาผา (1) ตรวจสอบระบบตัวนําลอฟา ตัวนําตอลงดินครอบคลุมครบถวน (2) ตรวจสอบระบบรากสายดิน (3) ตรวจสอบจุดตอประสานศักย (4) ตรวจสอบ การดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา 1.7.7.8 แบบแปลนอาคารเพื่อการดับเพลิง (1) ตรวจสอบแบบแปลนของอาคารเพื่อใชสําหรับการดับเพลิง (2) ตําแหนงทีเ่ ก็บแบบแปลน

หนาที่9

31 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 2 แผนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบ ของอาคาร ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแผนการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร ดังนี้ 1.การตรวจสอบใหญทุก 5 ป 1.1 การตรวจสอบใหญใหดําเนินการทุก 5 ป หากเปนการตรวจสอบครั้งแรกกําหนดใหดําเนินการ ตรวจสอบใหญ การดําเนินการตรวจสอบตองดําเนินการโดยผูตรวจสอบอาคาร ใชแบบ รายละเอียดการตรวจสอบอาคารที่ผูตรวจสอบอาคารจัดทําขึ้น 1.2 ใหเจาของอาคารเปนผูจัดหาแบบแปลนอาคารสําหรับการตรวจสอบจัดเก็บไวที่อาคารเพื่อให ผูตรวจสอบสามารถใชประกอบการตรวจสอบอาคารได 2.การตรวจสอบประจําป 2.1 การตรวจสอบประจําปใหดําเนินการทุกปในระหวางการตรวจสอบใหญ ดําเนินการตรวจสอบ โดยผูตรวจสอบอาคาร ใชแบบรายละเอียดการตรวจสอบอาคารที่ผูตรวจสอบจัดทําขึ้น 2.2 เจาของอาคารตองจัดเก็บแบบแปลนไวที่อาคารในที่ซึ่งผูต รวจสอบสามารถนํามาใชประกอบ การตรวจสอบอาคารไดสะดวก 2.3 ชวงเวลา และความถี่ในการตรวจสอบประจําปของผูตรวจสอบอาคารใหเปนไปตามแผนการ ตรวจสอบที่ผตู รวจสอบอาคารกําหนด 3.การตรวจสอบบํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร 3.1 ใหเจาของอาคาร หรือผูดูแลอาคารที่ไดรับมอบหมายจากเจาของอาคารมีหนาที่ตรวจสอบการ บํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร จัดใหมีการทดสอบการทํางาน ของระบบและอุปกรณ•การซอมอพยพหนีไฟ•การบริหารจัดการเกีย่ วกับความปลอดภัยใน อาคาร•การอบรมพนักงานดานความปลอดภัยในระหวางป 3.2 เจาของหรือผูดูแลอาคารตองตรวจบํารุงรักษาอยางสม่าํ เสมอตามคูมอ ื ที่ผูตรวจสอบอาคารได จัดทําไว และบันทึกขอมูลการตรวจบํารุงรักษาตามระยะเวลาที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนด 3.3 การดําเนินการตรวจสอบบํารุงรักษาใหใชแบบรายละเอียดการตรวจทีผ่ ูตรวจสอบอาคารจัดไวให 3.4 ชวงเวลา และความถี่ของการตรวจบํารุงรักษา ฯ การทดสอบการทํางานของระบบและอุปกรณ• การซอมอพยพหนีไฟ•การบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร•การอบรมพนักงาน ดานความปลอดภัยใหเปนไปตามแผนการตรวจสอบที่ผตู รวจสอบอาคารกําหนด

หนาที่10

32 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 3 แนวทางการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ ประกอบของอาคารประจําป . ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแนวทางการตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารประจําป ดังนี้ 1. ผูตรวจสอบทําการตรวจสอบอาคารครั้งแรกเปนการตรวจสอบใหญ 2. หลังจากการตรวจสอบใหญครั้งแรกแลว เจาของอาคารประเภทตามทีก่ ฎหมายกําหนด ตองจัดหา ผูตรวจสอบซึ่งขึ้นทะเบียนกับกรมโยธาธิการและผังเมืองมาเปนผูตรวจสอบอาคารประจําป 3. เจาของอาคารตองจัดหา หรือจัดทําแบบแปลนอาคารเพื่อใชสําหรับการตรวจสอบอาคารจัดเก็บไว ที่อาคารเพื่อใหผูตรวจสอบสามารถใชประกอบการตรวจสอบอาคารได แบบแปลนของอาคารที่ ตองตรวจสอบอยางนอยตองประกอบดวยแปลนพืน้ ทุกชั้น แสดงตําแหนงของอุปกรณดับเพลิง เสนทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ 4. เจาของอาคาร หรือนิติบุคคลอาคารชุดตองจัดใหมีการตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบ ของอาคารตามคูมือปฏิบัติของผูผลิต หรือผูติดตั้งระบบและอุปกรณของอาคาร และตามแผนการ ตรวจบํารุงรักษาที่ผูตรวจสอบกําหนด และจัดใหมีการบันทึกขอมูลการตรวจบํารุงรักษาอาคารตาม ชวงระยะเวลาที่ผูตรวจสอบกําหนด 5. ผูตรวจสอบอาคารกําหนดการตรวจสอบอาคารประจําป 4. ในการตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารไมวา จะเปนการตรวจสอบใหญหรือการ ตรวจสอบประจําป ใหผูตรวจสอบจัดทํารายงานผลการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบ ของอาคารทีท่ าํ การตรวจสอบใหกับเจาของอาคาร 5. กรณีที่อาคารที่ทาํ การตรวจสอบเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ และไดรับการยกเวนไม ตองปฏิบัติตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 ( พ.ศ.2535 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ.2522 และอาคารชุมนุมคน การเสนอแนะใหแกไขปรับปรุงระบบความปลอดภัยเกี่ยวกับ อัคคีภัยในอาคารที่ทาํ การตรวจสอบดังกลาว ผูตรวจสอบจะกําหนดใหมีไมนอยกวาที่กาํ หนดไวใน กฎกระทรวงฉบับที่ 47 ( พ.ศ.2540 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 6. เจาของอาคาร หรือนิติบคุ คลอาคารชุดตองนํารายงานผลการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณ ประกอบของอาคารที่ผูตรวจสอบจัดทํา แจงตอเจาพนักงานทองถิ่นเพื่อใหออกหนังสือรับรองการ ตรวจสอบอาคารทุกป โดยจะตองเสนอภายในสามสิบวันกอนวันที่ใบรับรองการตรวจอาคารฉบับ เดิมจะมีอายุครบหนึง่ ป 7. เจาของอาคาร หรือนิติบุคคลอาคารชุดตองจัดใหมีการตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบ หนาที่11

33 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ของอาคารตามคูมือปฏิบัติของผูผลิต หรือผูติดตั้งระบบและอุปกรณของอาคาร และตามแผนการ ตรวจบํารุงรักษาที่ผูตรวจสอบกําหนด และจัดใหมีการบันทึกขอมูลการตรวจบํารุงรักษาอาคารตาม ชวงระยะเวลาที่ผูตรวจสอบกําหนดใหผูตรวจสอบใชประกอบในการตรวจสอบอาคารประจําป

หนาที่12

34 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 4 ชวงเวลา และความถี่ในการตรวจสอบประจําป ของผูตรวจสอบอาคาร

ลําดับ ที่

1.

2

ทุก 4 เดือน

รายการที่ตรวจ

ทุก 6 ประจําป เดือน

หมายเหตุ

การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร 1.1 การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงตัวอาคาร 1.2 การเปลี่ยนแปลงน้าํ หนักบรรทุกบนพืน้ อาคาร 1.3 การเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร 1.4 การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตง อาคาร 1.5 การชํารุดสึกหรอของอาคาร 1.6 การวิบัติของโครงสรางอาคาร 1.7 การทรุดตัวของฐานรากอาคาร การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร 2.1 ระบบริการและอํานวยความสะดวก 2.1.1 ระบบลิฟต 2.1.2 ระบบบันไดเลื่อน 2.1.3 ระบบไฟฟา 2.1.4 ระบบปรับอากาศ

หนาที่13

35 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

ลําดับ ที่

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ทุก 4 เดือน

รายการที่ตรวจ

ทุก 6 ประจําป เดือน

หมายเหตุ

2.2 ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม 2.2.1 ระบบประปา 2.2.2 ระบบระบายน้ําเสียและระบบบําบัดน้ําเสีย 2.2.3 ระบบระบายน้ําฝน 2.2.4 ระบบจัดการมูลฝอย 2.2.5 ระบบระบายอากาศ 2.2.6 ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง 2.3 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย 2.3.1 บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ 2.3.2 เครื่องหมายและไฟปายบอกทางออก ฉุกเฉิน 2.3.3 ระบบระบายควันและควบคุมการ แพรกระจายควัน 2.3.4 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน 2.3.5 ระบบลิฟตดับเพลิง 2.3.6 ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม 2.3.7 ระบบการติดตั้งอุปกรณดับเพลิง 2.3.8 ระบบการจายน้ําดับเพลิง เครื่องสูบน้ํา ดับเพลิงและหัวฉีดน้ําดับเพลิง 2.3.9 ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ 2.3.10 ระบบปองกันฟาผา 2.3.11 แบบแปลนเพื่อการดับเพลิง

หนาที่14

36 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

ลําดับ ที่

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ทุก 4 เดือน

รายการที่ตรวจ

3

การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและ อุปกรณตาง ๆ 3.1 สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ 3.2 สมรรถนะเครื่องหมายและไฟปายทางออก ฉุกเฉิน 3.3 สมรรถนะระบบแจงสัญญาณเหตุเพลิงไหม

4

การตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพื่อ ความปลอดภัยในอาคาร

ทุก 6 ประจําป เดือน

หมายเหตุ

4 .1 แผนการปองกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร 4 .2 แผนการซอมอพยพผูใชอาคาร 4.3 แผนการบริหารจัดการเกีย่ วกับความปลอดภัย ในอาคาร 4.4 แผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร

หนาที่15

37 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 5 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารและ อุปกรณประกอบของอาคารประจําป 5.1 ขอมูลทั่วไปของอาคาร ขอมูลทั่วไปของอาคารที่ผูตรวจสอบตองลงบันทึกในหัวขอตาง ๆ และอาจเพิม่ เติมไดเพื่อใหขอมูล สมบูรณยิ่งขึ้น ในบางรายการจะตองประสานงานกับเจาของอาคารและผูดูแลอาคารเพื่อใหไดขอมูลเหลานั้น

1 ขอมูลอาคารและสถานที่ตั้งอาคาร ชื่ออาคาร………………………………………………………………………………………… ตั้งอยูเลขที… ่ …………..ตรอก/ซอย………………………….ถนน……………………………. ตําบล/แขวง…………………………….อําเภอ/เขต……………………………….……………. จังหวัด…………………………………………………………………….…………….………. รหัสไปรษณีย………………..โทรศัพท…………………………โทรสาร…………………….. ไดรับใบอนุญาตกอสรางจากเจาพนักงานทองถิน่ เมื่อวันที… ่ ...เดือน……….……พ.ศ……...… มีแบบแปลนเดิม ไมมี แบบแปลนเดิม ( กรณีที่ไมมีแบบแปลนหรือแผนผังรายการเกี่ยวกับการกอสรางอาคาร ใหเจาของ อาคารจัดหาหรือจัดทําแบบแปลนสําหรับใชในการตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร ให กับผูตรวจสอบอาคาร ) อยูในบังคับตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ออกตามความ พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ไมอยูในบังคับตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ออกตามความ พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 เพราะ ไดรับใบอนุญาตกอสรางอาคารกอนกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 มีผลบังคับใช ไมเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ เปนอาคารประเภทควบคุมการใช ไดรับใบอนุญาตเปดใชอาคารจากเจาพนักงานทองถิน่ เมื่อวันที… ่ …..เดือน………….พ.ศ. ………. ไมเปนอาคารประเภทควบคุมการใช

หนาที่16

38 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

แผนที่และเสนทางเขา – ออก ของอาคารโดยสังเขป

หมายเหตุ ขอมูลที่แสดงในแผนผัง (ถามี) ใหระบุตําแหนงเปนสัญลักษณ ดังนี้ 1 แทน หัวจายน้ําดับเพลิงรอบอาคาร 2 แทน หัวรับน้ําดับเพลิง 3 แทน เครื่องสูบน้ําดับเพลิง 4 แทน หองเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองฉุกเฉิน 5 แทน แหลงน้ําอืน่ ๆ เชน สระวายน้ํา 6 แทน อื่น ๆ (ระบุ) ………………………………………………………….

หนาที่17

39 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

วัน/เดือน/ป ทีต่ รวจสอบ........................................ชวงเวลาทีต่ รวจสอบ..................................................

รูปถายอาคารในวัน เวลาที่ตรวจสอบ

หนาที่18

40 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

2. ชื่อเจาของอาคาร ผูครอบครองอาคาร และผูอ อกแบบอาคาร 2.1 เจาของอาคาร ชื่อ……………………….………………………………………………………………….……….. สถานที่ติดตอเลขที่….……..หมูท ี่..............ตรอก/ซอย................................................................ ถนน..………………….…………ตําบล/แขวง………………….อําเภอ/เขต……..……………….…….….. จังหวัด………………………...รหัสไปรษณีย……………….โทรศัพท…………..…...………………..……. โทรสาร………………………อีเมล..........................................................................................................

2.2 ผูครอบครองอาคาร ชื่อ…………………………………………………………..………………………………..……….. สถานที่ติดตอเลขที่…………..หมูท ี่.............ตรอก/ซอย................................................................ ถนน..……………………….……ตําบล/แขวง………………….อําเภอ/เขต……..………………………….. จังหวัด………………………...รหัสไปรษณีย……………….โทรศัพท…………..…...………………………. โทรสาร……………………..อีเมล...........................................................................................................

2.3 ผูออกแบบดานสถาปตยกรรม ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที.่ ..................................

2.4 ผูออกแบบดานวิศวกรรมโครงสราง ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที.่ ..................................

2.5 ผูออกแบบดานวิศวกรรมเครื่องกล ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที.่ .................................

2.6 ผูออกแบบดานวิศวกรรมไฟฟา ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที.่ ..................................

2.7 ผูอ อกแบบดานวิศวกรรมสุขาภิบาล ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที.่ ................................. หนาที่19

41 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

3 ประเภทของอาคารและขอมูลสิ่งกอสราง (สามารถระบุมากกวา 1 ขอได) 3.1 ประเภทของอาคาร อาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษ อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร โรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรม ที่มีจาํ นวนหองพักตัง้ แต 80 หองขึ้นไป สถานบริการตามกฎหมายวาดวยสถานบริการ ที่มีพนื้ ที่ตั้งแต 200 ตารางเมตรขึ้นไป อาคารชุด หรือ อาคารอยูอาศัยรวมที่มีพนื้ ที่ตั้งแต 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป โรงงานตามกฎหมายวาดวยโรงงานที่มีความสูงมากกวา 1 ชั้น และมีพื้นที่ใชสอย ตัง้ แต 5,000 ตารางเมตรขึ้นไป ปายทีม่ ีความสูงจากฐานรากตั้งแต 15 เมตรขึ้นไป หรือมีพื้นทีต่ ั้งแต 50 ตารางเมตรขึ้นไป อื่น ๆ (ระบุ) .……………………………………………………………………….

3.2 ประเภทอาคารตามลักษณะโครงสราง (ระบุ)……………………………………………………………………………………………… …………….……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….

3.3 ขอมูลอาคาร จํานวนชั้นของอาคารเหนือพื้นดิน …………… ชั้น จํานวนชัน้ ใตดิน ……………ชั้น ถนนเขาสูอาคารกวาง ………………เมตร อืน่ ๆ (ระบุ)…………………………………………………………………………….……. …………………………………………………………………………………………………….…..…… ……………………………………………………………………………………………………….…….. ……………………………………………………………………………………………………………...

หนาที่20

42 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

4. ลักษณะการใชงานหรือการประกอบกิจกรรมของอาคาร ตามที่ไดรับอนุญาตใหใชเปน...................................................................................................... การใชงานปจจุบนั ใชเปน............................................................................................................

5. การเก็บรักษาประเภทของวัตถุหรือเชื้อเพลิงที่อาจเปนอันตราย วัตถุติดไฟ ประเภท……………..ปริมาณ……………สถานทีเ่ ก็บ……………………………….. วัตถุอันตราย ประเภท……………..ปริมาณ……………สถานทีเ่ ก็บ……………………………….. วัตถุเชื้อเพลิง ประเภท…………......ปริมาณ……………สถานทีเ่ ก็บ………………………………. น้ํามันเชื้อเพลิงประเภท………….….ปริมาณ……………สถานทีเ่ ก็บ…………………………….… กาซ ประเภท……………..ปริมาณ……………สถานทีเ่ ก็บ……………………………….. สารเคมี ประเภท……………..ปริมาณ……………สถานทีเ่ ก็บ……………………………….. อื่น ๆ (ระบุ) …………………………..………………………….…….………………………………

หนาที่21

43 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

5.2 ผลการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณตาง ๆ ของอาคาร สวนที่ 5.2 เปนผลการตรวจสอบสภาพอาคาร และอุปกรณตาง ๆ ของอาคารตามที่ตรวจสอบได ดวยสายตา หรือตรวจพรอมกับใชเครื่องมือวัดพืน้ ฐาน เชนตลับเมตร เปนตน หรือเครื่องมือชนิดพกพา เทานั้น จะไมรวมถึงการทดสอบที่ใชเครื่องมือพิเศษเฉพาะ การตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร ผูตรวจสอบจะตองพิจารณาตาม หลักเกณฑ หรือมาตรฐานทีไ่ ดกําหนดไวในกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ ที่ใชบังคับอยูในขณะที่มกี ารกอสรางอาคารนั้น และคํานึงถึงหลักเกณฑ หรือมาตรฐานความปลอดภัยของ สถาบันทางราชการ สภาวิศวกร หรือสภาสถาปนิก โดยจะตรวจตามรายการที่กาํ หนดในสวนนี้ประกอบกับ รายละเอียดการตรวจสอบบํารุงรักษาอาคารที่เจาของอาคารหรือผูดูแลอาคารไดดําเนินการตรวจสอบไวแลว ตามที่ผูตรวจสอบกําหนด เนือ่ งจากอาคารที่เขาขายตองตรวจสอบมีหลายประเภท และมีขอกําหนดในดานความปลอดภัย ของระบบตาง ๆ ที่เขมงวดแตกตางกัน ซึ่งรายการที่กาํ หนดบางรายการเปนรายการที่กําหนดไวสําหรับอาคาร สูง และอาคารขนาดใหญพเิ ศษ ดังนัน้ ในกรณีที่เปนอาคารประเภทอื่นที่ไมมีระบบความปลอดภัยเขมงวด เชนเดียวกับอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ หรือกรณีเปนอาคารเกา ใหผูตรวจสอบระบุในหมายเหตุ ทายรายการทีต่ รวจสอบแตละรายการใหชัดเจน ผูตรวจสอบอาคารประจําปจะตองตรวจสอบสภาพอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของ อาคารแตละรายการตามความถีท่ ี่ผูตรวจสอบกําหนด จํานวนครั้งที่ตรวจสอบในแตละปจะขึ้นอยูก ับความถี่ ในการตรวจสอบ เชน ความถี่ในการตรวจสอบทุก ๆ 4 เดือน จํานวนครั้งที่ตองตรวจสอบในแตละปเทากับ 3 ครั้ง ( รอบ 4 เดือน 8 เดือน และ 12 เดือน )

หนาที่22

44 of 202

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 1

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ใชไมได

ใชได

ใชไมได

ใชได

หมายเหตุ ใชไมได

รายการตรวจสอบ ใชได

ลําดับที่

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

1 การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของ

อาคาร 1.1 การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงตัว อาคาร 1.2 การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบน พื้นอาคาร 1.3 การเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร 1.4 การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือ วัสดุตกแตงอาคาร 1.5 การชํารุดสึกหรอของอาคาร 1.6 การวิบัติของโครงสรางอาคาร 1.7 การทรุดตัวของฐานรากอาคาร

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

หนาที่23

45 of 202

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 1

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ใชไมได

ใชได

ใชไมได

ใชได

หมายเหตุ ใชไมได

รายการตรวจสอบ ใชได

ลําดับที่

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

2 การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบ

ตาง ๆ ของอาคาร 2.2 ระบบริการและอํานวยความสะดวก 2.1.1 ระบบลิฟต 2.1.2 ระบบบันไดเลื่อน 2.1.3 ระบบไฟฟา 2.1.4 ระบบปรับอากาศ 2.2 ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม 2.2.1 ระบบประปา 2.2.2 ระบบระบายน้ําเสียและระบบ บําบัดน้ําเสีย 2.2.3 ระบบระบายน้ําฝน 2.2.4 ระบบจัดการมูลฝอย 2.2.5 ระบบระบายอากาศ 2.2.6 ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและ เสียง 2.3 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย 2.3.1 บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ 2.3.2 เครื่องหมายและไฟปายบอก ทางออกฉุกเฉิน 2.3.3 ระบบระบายควันและควบคุมการ แพรกระจายควัน 2.3.4 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน 2.3.5 ระบบลิฟตดับเพลิง

หนาที่24

46 of 202

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 1

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ใชไมได

ใชได

ใชไมได

ใชได

หมายเหตุ ใชไมได

รายการตรวจสอบ ใชได

ลําดับที่

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

2.3.6 ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม 2.3.7 ระบบการติดตั้งอุปกรณดับเพลิง 2.3.8 ระบบการจายน้ําดับเพลิง เครื่อง สูบน้ํา ดับเพลิงและหัวฉีดน้ําดับเพลิง 2.3.9 ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ 2.3.10 ระบบปองกันฟาผา 2.3.11 แบบแปลนเพื่อการดับเพลิง

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… หนาที่25

47 of 202

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 1

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ใชไมได

ใชได

ใชไมได

ใชได

หมายเหตุ ใชไมได

รายการตรวจสอบ ใชได

ลําดับที่

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

3 การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและ อุปกรณตาง ๆ 3.1 สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนี ไฟ 3.2 สมรรถนะเครื่องหมายและไฟปาย ทางออกฉุกเฉิน 3.3 สมรรถนะระบบแจงสัญญาณเหตุ เพลิงไหม

4 การตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพื่อ

ความปลอดภัยในอาคาร 4 .1 แผนการปองกันและระงับอัคคีภัยใน อาคาร 4 .2 แผนการซอมอพยพผูใชอาคาร 4.3 แผนการบริหารจัดการเกีย่ วกับความ ปลอดภัยในอาคาร 4.4 แผนการบริหารจัดการของผู ตรวจสอบอาคาร

หนาที่26

48 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… สรุปความเห็นของผูต รวจสอบอาคาร………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………………. เจาของอาคาร ผูจัดการ/ นิติบุคคลอาคารชุด (………………………………) ผูครอบครองอาคาร หรือผูไดรับมอบหมาย ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรโยธาผูตรวจสอบระบบโครงสราง (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน… … … . ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรไฟฟาผูต รวจสอบระบบไฟฟา (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน… … … .

หนาที่27

49 of 202

แผนการตรวจสอบอาคารและคูมือการตรวจสอบอาคารประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรเครื่องกลผูตรวจสอบระบบเครื่องกล (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน… … … . ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรผูตรวจสอบระบบสุขาภิบาล (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน… … … . ลงชื่อ………………………………………… สถาปนิกผูตรวจสอบอาคาร (ถามี) (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน… … … . ลงชื่อ………………………………………… ผูตรวจสอบอาคาร ( … … … … … … … … … … … … เลขที่ทะเบียนผูตรวจสอบ… … … … … … … … … … วันที่……………………………………………….

หนาที่28

50 of 202

) .

3. แผนการตรวจสอบปายและคูมือการ ตรวจสอบประจําป

51 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 1 ขอบเขตของการตรวจสอบ และ รายละเอียดที่ตองตรวจสอบ 1.1 ในแผนการตรวจสอบและรายละเอียดการตรวจสอบปายประจําปฉบับนี้ “ปาย” หมายถึง แผนปายและสิ่งที่สรางขึน้ สําหรับติดหรือตั้งปาย การตรวจสอบปาย หมายถึง การตรวจสอบสภาพปาย หรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย ในดาน ความมัน่ คงแข็งแรง และระบบอุปกรณประกอบของปาย ตามมาตรา 32 ทวิ แหงพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ผูตรวจสอบอาคาร หมายถึง ผูซงึ่ ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม หรือผูซึ่งไดรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ตามกฎหมายวาดวยการนั้น แลวแตกรณี ซึ่งไดขึ้น ทะเบียนเปนผูต รวจสอบอาคารตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เจาของปาย หมายถึง ผูท ี่มสี ิทธิ์เปนเจาของปายหรือสิ่งที่สรางขึน้ สําหรับติดหรือตั้งปาย ผูดูแลปาย หมายถึง เจาของปาย หรือ ผูทที่ ี่ไดรับมอบหมายจากเจาของปายใหมหี นาที่ตรวจสอบการ บํารุงรักษาปาย และระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ เจาพนักงานทองถิ่น หมายถึง (1) นายกเทศมนตรี สําหรับในเขตเทศบาล (2) นายกองคการบริหารสวนจังหวัด สําหรับในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด (3) ประธานกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบล สําหรับในเขตองคการบริหารสวนตําบล (4) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร สําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร (5) ปลัดเมืองพัทยา สําหรับในเขตเมืองพัทยา (6) ผูบริหารทองถิ่นขององคการปกครองทองถิ่นอืน่ ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด สําหรับในเขตราชการ สวนทองถิ่นนัน้ แผนการตรวจสอบ หมายถึง แผนการตรวจสอบสภาพปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย าร และอุปกรณประกอบตาง ๆ ที่จัดทําขึ้นสําหรับ สําหรับผูต รวจสอบอาคาร แบบแปลนปาย หมายถึง แบบแปลนของปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย ที่ตอ งตรวจสอบ 1.2 หนาที่ความรับผิดชอบของผูเกี่ยวของ

หนาที่1

52 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

1.2.1 ผูตรวจสอบอาคาร มีหนาที่ตรวจสอบ ทํารายงานทางดานความมัน่ คงแข็งแรง และระบบตาง ๆ ที่ เกี่ยวของเพื่อความปลอดภัย แจงกับเจาของอาคาร ผูต รวจสอบตองตรวจสอบตามหลักวิชาชีพ และตามมาตรฐานการตรวจสอบสภาพอาคารของกฎหมายควบคุมอาคาร หรือมาตรฐานสากล ตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ณ สถานที่ วัน และเวลาทีท่ ําการตรวจสอบ ผูตรวจสอบอาคารตองจัดใหมี ( 1 ) แบบรายละเอียดการตรวจสอบปาย สําหรับผูตรวจสอบอาคารใชในการตรวจสอบใหญ ทุก ๆ 5 ป และการตรวจสอบปายประจําป ( 2 ) แผนปฏิบัติการการตรวจบํารุงรักษาปาย และอุปกรณประกอบของปาย รวมทัง้ คูมือปฏิบัติ การตามแผนใหแกเจาของปายเพื่อเปนแนวทางการตรวจบํารุงรักษาและ การบันทึกขอมูล การตรวจบํารุงรักษา ( 3 ) แผนการตรวจสอบประจําป รวมทัง้ แนวทางการตรวจสอบตามแผนดังกลาวใหแกเจาของปาย เพื่อประโยชนในการตรวจสอบประจําป 1.2.2 เจาของปาย หรือผูดูแลปายที่ไดรับมอบหมายจากเจาของปายมีหนาที่ตรวจสอบบํารุงรักษา ปาย และอุปกรณประกอบ รวมทัง้ การตรวจสอบสมรรถนะของปาย ตามที่ผูตรวจสอบอาคารไดกําหนด ไว และจัดใหมีการทดสอบการทํางานของระบบ อุปกรณ•ในระหวางป แลวรายงานผลการตรวจสอบ ตอเจาพนักงานทองถิน่ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขทีก่ ําหนดในกฎกระทรวงเกี่ยวกับการ ตรวจสอบอาคาร 1.2.3 เจาพนักงานทองถิ่น มีหนาที่ตามกฎหมายในการพิจารณาผลการตรวจสอบสภาพปายที่ เจาของอาคารเสนอเพือ่ พิจารณาออกใบรับรองการตรวจสอบอาคาร หรือดําเนินการตามอํานาจหนาที่ ตามกฎหมายตอไป

1.3 ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแผนการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณประกอบของปายไวตาม แผนการตรวจสอบฉบับนี้ ใหเจาของปาย และหรือผูดูแลปายใชเปนแนวทางการปฏิบัติ ผูตรวจสอบอาคารสามารถแกไขเปลี่ยนแปลงแผนการตรวจสอบนีไ้ ดตามความเหมาะสม 1.4 การตรวจสอบบํารุงรักษาปาย และระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปายใหเปนไปตามแผนการ ตรวจการตรวจสอบบํารุงรักษา และคูม ือการตรวจบํารุงรักษาปายที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนด 1.5 ผูตรวจสอบอาคารตองไมดําเนินการตรวจสอบปาย ดังตอไปนี้ ( 1 ) ปายที่ผูตรวจสอบหรือคูสมรส พนักงานหรือตัวแทนของผูตรวจสอบเปนผูจัดทําหรือรับผิดชอบ ในการออกแบบ รายการประกอบแบบแปลน หรือรายการคํานวณสวนตาง ๆ ของโครงสราง การ ควบคุมงาน การกอสราง หรือการติดตั้งอุปกรณประกอบของปาย หนาที่2

53 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

( 2 ) ปายที่ผูตรวจสอบหรือคูสมรสเปนเจาของหรือมีสวนรวมในการบริหารจัดการ

1. 6 ขอบเขตในการตรวจสอบปายของผูตรวจสอบอาคาร การตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย อาจมีขอจํากัดตาง ๆ ที่ไม สามารถตรวจสอบไดตามทีก่ ําหนดและตามที่ตองการได ดังนัน้ จึงจําเปนตองกําหนดขอบเขตของผู ตรวจสอบ ดังนี้ “ผูตรวจสอบมีหนาที่ตรวจสอบ สังเกต ทํารายงาน วิเคราะห ทางดานความมัน่ คงแข็งแรง และระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสนิ ผูตรวจสอบตองตรวจสอบตามหลักวิชาชีพ และตามมาตรฐานการตรวจสอบสภาพอาคาร ของกฎหมายควบคุมอาคารหรือมาตรฐานสากลตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ณ สถานที่ วัน และเวลาทีท่ ําการ ตรวจสอบตามที่ระบุในรายงานและติดตามตรวจสอบระหวางปภายหลังการตรวจสอบใหญ ตามชวงเวลา และความถี่ตามทีก่ ําหนดไวในแผนการตรวจสอบประจําปที่ผูตรวจสอบกําหนด”

1.7. รายละเอียดในการตรวจสอบ 1.7.1 รายละเอียดที่ตองตรวจสอบ ผูตรวจสอบตองตรวจสอบ และทํารายงานการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณตาง ๆ ของปาย ดังตอไปนี้ 1.7.1.1 การตรวจสอบตัวปาย ใหตรวจสอบความมัน่ คงแข็งแรงของอาคาร ดังนี้ (1) การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงขนาดของปาย (2) การเปลี่ยนแปลงน้าํ หนักของแผนปาย (3) การเปลี่ยนสภาพการใชงานของปาย (4) การเปลี่ยนแปลงวัสดุของปาย (5) การชํารุดสึกหรอของปาย (6) การวิบัติของสิง่ ที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (7) การทรุดตัวของฐานรากของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (กรณีปายที่ตงั้ บน พื้นดิน) 1.7.1.2 การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย (1) ระบบไฟฟาแสงสวาง (2) ระบบปองกันฟาผา (3) ระบบและอุปกรณประกอบอื่น ๆ 1.7.2 ลักษณะบริเวณที่ไมตอ งตรวจสอบ (1) การตรวจสอบพื้นทีท่ ี่มคี วามเสีย่ งภัยสูงตอผูตรวจสอบ หนาที่3

54 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

(2) การตรวจสอบที่อาจทําใหอาคารหรือวัสดุอุปกรณหรือทรัพยสินเกิดความเสียหาย

1.7.3 การตรวจสอบระบบโครงสราง 1.7.3.1 ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา ทํารายงาน และประเมินโครงสรางตาม รายละเอียดดังตอไปนี้ (1) สวนของฐานราก (ถามี) (2) ระบบโครงสราง (3) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของระบบ โครงสรางอาคาร (4) ความเสียหายและอันตรายของโครงสราง เชน ความเสียหายเนื่องจากอัคคีภัย ความ เสียหายจากการแอนตัวของโครงขอหมุน เปนตน 1.7.3.2 สภาพการใชงานตามที่เห็น 1.7.4 การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย 1.7.4.1 ระบบไฟฟา 1.7.4.1.1 ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา เครื่องมือหรือเครื่องวัดชนิดพกพาทํา รายงานและประเมินระบบไฟฟาและบริภัณฑไฟฟา ดังนี้ (1) สภาพสายไฟฟา ขนาดกระแสของสาย จุดตอสาย และอุณหภูมิขั้วตอสาย (2) ทอรอยสาย รางเดินสาย และรางเคเบิล (3) ขนาดเครื่องปองกันกระแสเกินและพิกัดตัดกระแสของบริภัณฑประธาน แผง ยอย และแผงวงจรยอย (4) เครื่องตัดไฟรั่ว (5) การตอลงดินของบริภัณฑ ขนาดตัวนําตอลงดิน และความตอเนื่องลงดินของ ทอรอยสาย รางเดินสาย รางเคเบิล (6) รายการอืน่ ตามตารางรายการตรวจสอบ 1.7.4.1.2 ผูตรวจสอบไมตองตรวจสอบในลักษณะดังนี้ (1) วัดหรือทดสอบแผงสวิตซ ทีต่ องใหสายวัดสัมผัสกับบริภัณฑในขณะทีแ่ ผง สวิตซนนั้ มีไฟหรือใชงานอยู (2) ทดสอบการใชงานอุปกรณปอ งกันกระแสเกิน (3) ถอดออกหรือรื้อบริภัณฑไฟฟา นอกจากเพียงเปดฝาแผงสวิตซ แผง ควบคุม เพือ่ ตรวจสภาพบริภัณฑ 1.7.4.2 ระบบปองกันฟาผา หนาที่4

55 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

(1) ตรวจสอบระบบตัวนําลอฟา ตัวนําตอลงดินครอบคลุมครบถวน (2) ตรวจสอบระบบรากสายดิน (3) ตรวจสอบจุดตอประสานศักย (4) ตรวจสอบ การดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา 1.7.4.3 ระบบอุปกรณประกอบอื่น ๆ ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา ทํารายงานและประเมินความปลอดภัยของ อุปกรณประกอบตาง ๆ ดังตอไปนี้ (1) สภาพบันไดขึ้นลง (2) สภาพราวจับ และราวกันตก (3) อุปกรณประกอบอื่นตามที่เห็นสมควร

หนาที่5

56 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 2 แผนการตรวจสอบปายและอุปกรณประกอบ ของปาย ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแผนการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ดังนี้ 1.การตรวจสอบใหญทุก 5 ป 1.1 การตรวจสอบใหญใหดําเนินการทุก 5 ป หากเปนการตรวจสอบครั้งแรกกําหนดใหดําเนินการ ตรวจสอบใหญ การดําเนินการตรวจสอบตองดําเนินการโดยผูตรวจสอบอาคาร ใชแบบ รายละเอียดการตรวจสอบปายที่ผูตรวจสอบอาคารจัดทําขึ้น 1.2 ใหเจาของปายเปนผูจัดหาแบบแปลนสําหรับการตรวจสอบ เพื่อใหผูตรวจสอบสามารถใช ประกอบการตรวจสอบปายได 2.การตรวจสอบประจําป 2.1 การตรวจสอบประจําปใหดําเนินการทุกปในระหวางการตรวจสอบใหญ ดําเนินการตรวจสอบ โดยผูตรวจสอบอาคาร ใชแบบรายละเอียดการตรวจสอบปาย ประจําปที่ผูตรวจสอบจัดทําขึ้น 2.2 เจาของปายตองจัดเก็บแบบแปลนไวในที่ซงึ่ ผูตรวจสอบสามารถนํามาใชประกอบใน การตรวจสอบปายไดสะดวก 2.3 ชวงเวลา และความถี่ในการตรวจสอบประจําปของผูตรวจสอบอาคารใหเปนไปตามแผนการ ตรวจสอบที่ผตู รวจสอบอาคารกําหนด 3.การตรวจสอบบํารุงรักษาและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย 3.1 ใหเจาของปาย หรือผูดูแลปายที่ไดรับมอบหมายจากเจาของปายมีหนาที่ตรวจสอบบํารุงรักษา ปายและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย จัดใหมกี ารทดสอบการทํางาน ของระบบและอุปกรณ•ในระหวางป 3.2 เจาของหรือผูดูแลปายตองตรวจบํารุงรักษาอยางสม่าํ เสมอตามคูมือที่ผูตรวจสอบอาคารได จัดทําไว และบันทึกขอมูลการตรวจบํารุงรักษาตามระยะเวลาที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนด 3.3 การดําเนินการตรวจสอบบํารุงรักษาใหใชแบบรายละเอียดการตรวจทีผ่ ูตรวจสอบอาคารจัดไวให 3.4 ชวงเวลา และความถี่ของการตรวจบํารุงรักษา ฯ การทดสอบการทํางานของระบบและอุปกรณ• ใหเปนไปตามแผนการตรวจสอบที่ผตู รวจสอบอาคารกําหนด

หนาที่6

57 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 3 แนวทางการตรวจสอบปายและอุปกรณ ประกอบของปายประจําป . ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแนวทางการตรวจสอบปายและอุปกรณประกอบของปายประจําป ดังนี้ 1. ผูตรวจสอบทําการตรวจสอบอาคารครั้งแรกเปนการตรวจสอบใหญ 2. หลังจากการตรวจสอบใหญครั้งแรกแลว เจาของปายตามที่กฎหมายกําหนด ตองจัดหา ผูตรวจสอบ ซึ่งขึ้นทะเบียนกับกรมโยธาธิการและผังเมืองมาเปนผูตรวจสอบปายประจําป 3. เจาของปายตองเปนผูจดั หา หรือจัดทําแบบแปลนของปายเพื่อใชสําหรับการตรวจสอบจัดเก็บไว เพื่อใหผูตรวจสอบใชประกอบการตรวจสอบปายได 4. เจาของปายตองจัดใหมกี ารตรวจบํารุงรักษาปายและอุปกรณประกอบของปายตามคูมือปฏิบัติของ ผูผลิต หรือผูติดตั้งระบบและอุปกรณของปาย และตามแผนการตรวจบํารุงรักษาที่ผูตรวจสอบ กําหนด และจัดใหมีการบันทึกขอมูลการตรวจบํารุงรักษาปายตามชวงระยะเวลาที่ผูตรวจสอบ กําหนด 5. ในการตรวจสอบปายและอุปกรณประกอบของปายไมวา จะเปนการตรวจสอบใหญหรือการ ตรวจสอบประจําป ใหผูตรวจสอบจัดทํารายงานผลการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณประกอบ ของปายที่ทาํ การตรวจสอบใหกับเจาของปาย 6. เจาของปายตองนํารายงานผลการตรวจสอบสภาพปาย และอุปกรณประกอบของปายที่ผตู รวจสอบ จัดทํา แจงตอเจาพนักงานทองถิน่ เพื่อใหออกหนังสือรับรองการตรวจสอบปายทุกป โดยจะตองเสนอ ภายในสามสิบวันกอนวันที่ใบรับรองการตรวจสอบฉบับเดิมจะมีอายุครบหนึ่งป

หนาที่7

58 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 4 ชวงเวลา และความถี่ในการตรวจสอบประจําป ของผูตรวจสอบอาคาร 1. ความถี่ในการตรวจบํารุงรักษาปายดานความมัน่ คงแข็งแรงของปาย ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ

รายการตรวจบํารุงรักษา

1

การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุง ขนาดของปาย

2

การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักของแผน

2 1 4 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

1 ป

หมายเหตุ

ปาย 3

การเปลี่ยนแปลงสภาพการใชงาน

ของปาย 4

การเปลี่ยนแปลงวัสดุของปาย

5

การชํารุดสึกหรอของปาย

6

การวิบัติของสิ่งที่สรางขึน้ สําหรับติด

หรือตั้งปาย 7

การทรุดตัวของฐานรากของสิ่งที่สราง

ขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (กรณี ปายที่ตงั้ บนพืน้ ดิน)

หนาที่8

59 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

2. ความถี่ในการตรวจบํารุงรักษาระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ 1.

รายการตรวจบํารุงรักษา

2 1 4 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

1 ป

หมายเหตุ

ระบบไฟฟาแสงสวาง

(1) สภาพสายไฟฟา (2) สภาพทอรอยสาย รางเดินสาย และรางเคเบิล (3) สภาพเครื่องปองกันกระแสเกิน (4) สภาพเครื่องตัดไฟรั่ว (5) การตอลงดินของบริภัณฑ ตัวนําตอลงดิน และความตอเนื่อง ลงดินของทอรอยสาย รางเดินสาย รางเคเบิล 2

ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา

(1) ตรวจสอบระบบตัวนําลอฟา ตัวนําตอลงดิน (2) ตรวจสอบระบบรากสายดิน (3) ตรวจสอบจุดตอประสานศักย 3

ระบบอุปกรณประกอบอื่น ๆ (ถามี)

(1) สภาพบันไดขึ้นลง (2) สภาพราวจับ และราวกันตก (3) อุปกรณประกอบอื่นตามที่ เห็นสมควร

หนาที่9

60 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

สวนที่ 5

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

ขอมูลทั่วไปของปาย

ขอมูลทั่วไปของปายที่ผูตรวจสอบตองลงบันทึกในหัวขอตาง ๆ และอาจเพิม่ เติมไดเพื่อใหขอมูล สมบูรณยิ่งขึ้น ในบางรายการจะตองประสานงานกับเจาของปายและผูด ูแลปายเพื่อใหไดขอมูลเหลานัน้ 5.1 ขอมูลปายและสถานที่ตั้งปาย ชื่อปาย ( ถามี )……..………………………………………………………………………………… ตั้งอยูเลขที… ่ …………..ตรอก/ซอย……………………………….ถนน……………………………. ตําบล/แขวง………………………………...อําเภอ/เขต……………………………….……………. จังหวัด………………………………………………………………………….…………….………. รหัสไปรษณีย………………..โทรศัพท…………………………โทรสาร………..………………….. ไดรับใบอนุญาตกอสรางจากเจาพนักงานทองถิน่ เมื่อวันที… ่ ...เดือน………..….……พ.ศ……...… มีแบบแปลนเดิม ไมมี แบบแปลนเดิม ( กรณีที่ไมมีแบบแปลนหรือแผนผังรายการเกี่ยวกับการกอสราง ใหเจาของ ปายจัดหาหรือจัดทําแบบแปลนสําหรับใชในการตรวจสอบปายและอุปกรณประกอบของปาย ให กับผูตรวจสอบอาคาร ) ไมมีขอมูลการไดรับใบอนุญาตกอสรางจากเจาพนักงานทองถิน่ อายุของปาย …………………….………………..………………………….……………. ป

หนาที่10

61 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

แผนที่แสดงตําแหนงที่ตั้งของปายโดยสังเขป

วัน/เดือน/ป ทีต่ รวจสอบ ........................................ บันทึกโดย .................................................. หนาที่11

62 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

รูปถายปาย

วัน/เดือน/ป ทีต่ รวจสอบ ........................................ บันทึกโดย .................................................. หนาที่12

63 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

รูปแบบและขนาดของแผนปาย และสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายโดยสังเขป

วัน/เดือน/ป ทีต่ รวจสอบ ........................................ บันทึกโดย .................................................. หนาที่13

64 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

ปายที่ติดตั้งบนพืน้ ดิน ปายบนดาดฟาอาคาร ปายบนหลังคา ปายบนสวนหนึ่งสวนใดของอาคาร อื่น ๆ (โปรดระบุ) ……………..…………………………………… 5.3 ชื่อเจาของหรือผูครอบครองปาย และผูออกแบบดานวิศวกรรมโครงสราง

5.2 ประเภทของปาย

ปายที่ติดตัง้ บนพื้นดิน 5.3.1 ชื่อผลิตภัณฑโฆษณาหรือขอความในปาย …………..…………………………………………………… 5.3.2 เจาของหรือผูครอบครองปาย ชื่อ ………………………..……………………………..………………………………………………….….……….. สถานที่ติดตอเลขที่………………..หมูที่ ....................................ตรอก/ซอย........................................................... ถนน ..………………….…. ตําบล/แขวง …………….…..……. อําเภอ/เขต………..…...............………….…….….. จังหวัด ………………..……รหัสไปรษณีย ……………..……... โทรศัพท ………………………...………..…..……. โทรสาร…………………… อีเมล........................................................................................................................

5.3.3 ผูออกแบบดานวิศวกรรมโครงสราง ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที่.................................................

ปายบนดาดฟา บนหลังคา บนสวนหนึ่งสวนใดของอาคาร หรืออื่นๆ 5.3.1 ชื่อผลิตภัณฑโฆษณาหรือขอความในปาย ……………..………………………………………………… 5.3.2 เจาของหรือผูครอบครองปาย ชื่อ ………………………..……………………………..………………………………………………….….……….. สถานที่ติดตอเลขที่………………..หมูที่ .....................................ตรอก/ซอย.......................................................... ถนน ..………………….…. ตําบล/แขวง …………….…..……. อําเภอ/เขต………..…...............………….…….….. จังหวัด ………………..……รหัสไปรษณีย …………..……..…. โทรศัพท ………………………...………..…..……. โทรสาร…………………… อีเมล........................................................................................................................

5.3.3 เจาของหรือผูครอบครองอาคารที่ปายตั้งอยู ชื่อ ……………………..……………………………..…………………………………………………….….……….. สถานที่ติดตอเลขที่………………..หมูที่ ......................................ตรอก/ซอย......................................................... ถนน ..………………….…. ตําบล/แขวง …………….…..……. อําเภอ/เขต………..…...............………….…….….. จังหวัด ………………..……รหัสไปรษณีย …………..……..…. โทรศัพท ………………………...………..…..……. โทรสาร…………………… อีเมล........................................................................................................................

5.3.4 ผูออกแบบดานวิศวกรรมโครงสราง ชื่อ………………………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที่……….................................... หนาที่14

65 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

5.4 ประเภทของวัสดุและรายละเอียดของแผนปาย (สามารถระบุมากกวา 1 ขอได) 5.4.1 ประเภทวัสดุของสิง่ ที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย เหล็กโครงสรางรูปพรรณ ไม สเตนเลส คอนกรีตเสริมเหล็ก อืน่ ๆ (ระบุ) .…………………………………………………………………………………………………. 5.4.2 รายละเอียดของแผนปาย วัสดุของปาย (โปรดระบุ) …………………...………………….………… จํานวนดานทีต่ ิดปาย ปาย (โปรดระบุจํานวนดาน) ….………………… การเจาะชองเปดในปาย มี ไมมี อื่น ๆ (โปรดระบุ) …………………………………………….

หนาที่15

66 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 6 ผลการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณตาง ๆ ของปาย สวนที่ 6 เปนผลการตรวจสอบสภาพปาย และอุปกรณตาง ๆ ของปายตามที่ตรวจสอบไดดวย สายตา หรือตรวจพรอมกับใชเครื่องมือวัดพื้นฐาน เชนตลับเมตร เปนตน หรือเครื่องมือชนิดพกพาเทานั้น จะไมรวมถึงการทดสอบที่ใชเครื่องมือพิเศษเฉพาะ การตรวจสอบปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ผูตรวจสอบจะตองพิจารณาตาม หลักเกณฑ หรือมาตรฐานทีไ่ ดกําหนดไวในกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ ที่ใชบังคับอยูในขณะที่มกี ารกอสรางปายนัน้ และคํานึงถึงหลักเกณฑ หรือมาตรฐานความปลอดภัยของ สถาบันทางราชการ สภาวิศวกร หรือสภาสถาปนิก โดยจะตรวจตามรายการที่กาํ หนดในสวนนี้ประกอบกับ รายละเอียดการตรวจสอบบํารุงรักษาปายที่เจาของปายหรือผูดูแลปายไดดําเนินการตรวจสอบไวแลวตามที่ผู ตรวจสอบกําหนด ผูตรวจสอบปายประจําปจะตองตรวจสอบสภาพปายและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย แตละรายการตามความถีท่ ผี่ ูตรวจสอบกําหนด จํานวนครั้งที่ตรวจสอบในแตละปตามความถี่ในการ ตรวจสอบ คือ ตรวจสอบทุก ๆ 6 เดือน จํานวนครั้งที่ตองตรวจสอบในแตละปเทากับ 2 ครั้ง ( รอบ 6 เดือน และ 12 เดือน )

หนาที่16

67 of 202

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 1

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

ใชไมได

ใชได

หมายเหตุ ใชไมได

รายการตรวจสอบ ใชได

ลําดับที่

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

1 การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของ

ปาย 1.1 การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงขนาด ของปาย 1.2 การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักของแผนปาย 1.3 การเปลี่ยนสภาพการใชงานของปาย 1.4 การเปลี่ยนแปลงวัสดุของปาย 1.5 การชํารุดสึกหรอของปาย 1.6 การวิบัติของของสิ่งที่สรางขึน้ สําหรับ ติดหรือตั้งปาย 1.7 การทรุดตัวของฐานรากของสิ่งที่สราง ขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (กรณีปาย ที่ต้งั บนพืน้ ดิน)

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… หนาที่17

68 of 202

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 1

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

ใชไมได

ใชได

หมายเหตุ ใชไมได

รายการตรวจสอบ ใชได

ลําดับที่

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

2 การตรวจสอบบํารุงรักษาระบบและ

อุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย 2.1 ระบบไฟฟาแสงสวาง (1) สภาพสายไฟฟา (2) สภาพทอรอยสาย รางเดินสาย และ รางเคเบิล (3) สภาพเครื่องปองกันกระแสเกิน (4) สภาพเครื่องตัดไฟรั่ว (5) การตอลงดินของบริภัณฑ ตัวนําตอ ลงดิน และ ความตอเนื่องลงดินของทอรอยสาย ราง เดินสาย รางเคเบิล 2.2 ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา (1) ตรวจสอบระบบตัวนําลอฟา ตัวนําตอ ลงดิน (2) ตรวจสอบระบบรากสายดิน (3) ตรวจสอบจุดตอประสานศักย 2.3 ระบบอุปกรณประกอบอื่น ๆ (ถามี) (1) สภาพบันไดขึ้นลง (2) สภาพราวจับ และราวกันตก (3) อุปกรณประกอบอื่นตามที่เห็นสมควร

หนาที่18

69 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

หนาที่19

70 of 202

แผนการตรวจสอบปายและคูมือการตรวจสอบประจําป

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูต รวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 7 สรุปผลการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณตาง ๆ  สรุปผลการตรวจสอบปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

1 2 3 4 5 6

สิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย

ใชได

ใช ไมได

มีการแกไข แลว

หมายเหตุ

แผนปาย ระบบไฟฟา แสงสวาง

ระบบปองกันฟาผา อุปกรณประกอบอื่น ๆ อื่นๆ

สรุปความเห็นของผูต รวจสอบอาคาร………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ………………………………… เจาของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย/ผูครอบครองปาย (………………………………) หรือผูรับมอบหมาย ลงชื่อ ………………………………… เจาของอาคารที่ปายตั้งอยู (ถามี) (………………………………) หรือผูรับมอบหมาย ลงชื่อ ………………………………… วิศวกรโยธาผูตรวจสอบระบบโครงสราง (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน………. ลงชื่อ ………………………………… วิศวกรไฟฟาผูตรวจสอบระบบไฟฟา (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน………. ลงชื่อ ………………………………… วิศวกรเครื่องกลผูตรวจสอบระบบเครื่องกล (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน………. ลงชื่อ………………………………… ผูตรวจสอบอาคาร (………………………………) เลขที่ทะเบียนผูตรวจสอบ…………………………. วันที่…………………………… หนาที่20

71 of 202

4. รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการ ตรวจสอบใหญ

72 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 1 ขอบเขตของการตรวจสอบ และ รายละเอียดที่ตองตรวจสอบ 1.1 ในรายละเอียดการตรวจสอบปาย สําหรับการตรวจสอบใหญ ฉบับนี้ “ปาย” หมายถึง แผนปายและสิ่งที่สรางขึน้ สําหรับติดหรือตั้งปาย การตรวจสอบปาย หมายถึง การตรวจสอบสภาพปาย หรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย ในดาน ความมัน่ คงแข็งแรง และระบบอุปกรณประกอบของปาย ตามมาตรา 32 ทวิ แหงพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ผูตรวจสอบอาคาร หมายถึง ผูซงึ่ ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม หรือผูซึ่งไดรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ตามกฎหมายวาดวยการนั้น แลวแตกรณี ซึ่งไดขึ้น ทะเบียนเปนผูต รวจสอบอาคารตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เจาของปาย หมายถึง ผูท ี่มสี ิทธิ์เปนเจาของปายหรือสิ่งที่สรางขึน้ สําหรับติดหรือตั้งปาย ผูดูแลปาย หมายถึง เจาของปาย หรือ ผูทที่ ี่ไดรับมอบหมายจากเจาของปายใหมหี นาที่ตรวจสอบการ บํารุงรักษาปาย และระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ เจาพนักงานทองถิ่น หมายถึง (1) นายกเทศมนตรี สําหรับในเขตเทศบาล (2) นายกองคการบริหารสวนจังหวัด สําหรับในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด (3) ประธานกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบล สําหรับในเขตองคการบริหารสวนตําบล (4) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร สําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร (5) ปลัดเมืองพัทยา สําหรับในเขตเมืองพัทยา (6) ผูบริหารทองถิ่นขององคการปกครองทองถิ่นอืน่ ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด สําหรับในเขตราชการ สวนทองถิ่นนัน้ แผนการตรวจสอบ หมายถึง แผนการตรวจสอบสภาพปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย และอุปกรณประกอบตาง ๆ ที่จัดทําขึน้ สําหรับ สําหรับผูตรวจสอบอาคาร แบบแปลนปาย หมายถึง แบบแปลนของปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย ที่ตอ งตรวจสอบ 1.2 หนาที่ความรับผิดชอบของผูเกี่ยวของ

หนาที่1

73 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

1.2.1 ผูตรวจสอบอาคาร มีหนาที่ตรวจสอบ ทํารายงานทางดานความมัน่ คงแข็งแรง และระบบตาง ๆ ที่ เกี่ยวของเพื่อความปลอดภัย แจงกับเจาของอาคาร ผูต รวจสอบตองตรวจสอบตามหลักวิชาชีพ และตามมาตรฐานการตรวจสอบสภาพอาคารของกฎหมายควบคุมอาคาร หรือมาตรฐานสากล ตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ณ สถานที่ วัน และเวลาทีท่ ําการตรวจสอบ ผูตรวจสอบอาคารตองจัดใหมี ( 1 ) แบบรายละเอียดการตรวจสอบปาย สําหรับผูตรวจสอบอาคารใชในการตรวจสอบใหญ ทุก ๆ 5 ป และการตรวจสอบปายประจําป ( 2 ) แผนปฏิบัติการการตรวจบํารุงรักษาปาย และอุปกรณประกอบของปาย รวมทัง้ คูมือปฏิบัติ การตามแผนใหแกเจาของปายเพื่อเปนแนวทางการตรวจบํารุงรักษาและ การบันทึกขอมูล การตรวจบํารุงรักษา ( 3 ) แผนการตรวจสอบประจําป รวมทัง้ แนวทางการตรวจสอบตามแผนดังกลาวใหแกเจาของปาย เพื่อประโยชนในการตรวจสอบประจําป 1.2.2 เจาของปาย หรือผูดูแลปายที่ไดรับมอบหมายจากเจาของปายมีหนาที่ตรวจสอบบํารุงรักษา ปาย และอุปกรณประกอบ รวมทัง้ การตรวจสอบสมรรถนะของปาย ตามที่ผูตรวจสอบอาคารไดกําหนด ไว และจัดใหมีการทดสอบการทํางานของระบบ อุปกรณ•ในระหวางป แลวรายงานผลการตรวจสอบ ตอเจาพนักงานทองถิน่ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขทีก่ ําหนดในกฎกระทรวงเกี่ยวกับการ ตรวจสอบอาคาร 1.2.3 เจาพนักงานทองถิ่น มีหนาที่ตามกฎหมายในการพิจารณาผลการตรวจสอบสภาพปายที่ เจาของอาคารเสนอเพือ่ พิจารณาออกใบรับรองการตรวจสอบอาคาร หรือดําเนินการตามอํานาจหนาที่ ตามกฎหมายตอไป

1.3 ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแผนการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณประกอบของปายไวตาม แผนการตรวจสอบฉบับนี้ ใหเจาของปาย และหรือผูดูแลปายใชเปนแนวทางการปฏิบัติ ผูตรวจสอบอาคารสามารถแกไขเปลี่ยนแปลงแผนการตรวจสอบนีไ้ ดตามความเหมาะสม 1.4 การตรวจสอบบํารุงรักษาปาย และระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปายใหเปนไปตามแผนการ ตรวจการตรวจสอบบํารุงรักษา และคูม ือการตรวจบํารุงรักษาปายที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนด 1.5 ผูตรวจสอบอาคารตองไมดําเนินการตรวจสอบอาคาร ดังตอไปนี้ ( 1 ) ปายที่ผูตรวจสอบหรือคูสมรส พนักงานหรือตัวแทนของผูตรวจสอบเปนผูจัดทําหรือรับผิดชอบ ในการออกแบบ รายการประกอบแบบแปลน หรือรายการคํานวณสวนตาง ๆ ของโครงสราง การ ควบคุมงาน การกอสราง หรือการติดตั้งอุปกรณประกอบของปาย หนาที่2

74 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

( 2 ) ปายที่ผูตรวจสอบหรือคูสมรสเปนเจาของหรือมีสวนรวมในการบริหารจัดการ

1. 6 ขอบเขตในการตรวจสอบปายของผูตรวจสอบอาคาร การตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย อาจมีขอจํากัดตาง ๆ ที่ไม สามารถตรวจสอบไดตามทีก่ ําหนดและตามที่ตองการได ดังนัน้ จึงจําเปนตองกําหนดขอบเขตของผู ตรวจสอบ ดังนี้ “ผูตรวจสอบมีหนาที่ตรวจสอบ สังเกต ทํารายงาน วิเคราะห ทางดานความมัน่ คงแข็งแรง และระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสนิ ผูตรวจสอบตองตรวจสอบตามหลักวิชาชีพ และตามมาตรฐานการตรวจสอบสภาพอาคาร ของกฎหมายควบคุมอาคารหรือมาตรฐานสากลตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ณ สถานที่ วัน และเวลาทีท่ ําการ ตรวจสอบตามที่ระบุในรายงานและติดตามตรวจสอบระหวางปภายหลังการตรวจสอบใหญ ตามชวงเวลา และความถี่ตามทีก่ ําหนดไวในแผนการตรวจสอบประจําปที่ผูตรวจสอบกําหนด”

1.7. รายละเอียดในการตรวจสอบ 1.7.1 รายละเอียดที่ตองตรวจสอบ ผูตรวจสอบตองตรวจสอบ และทํารายงานการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณตาง ๆ ของปาย ดังตอไปนี้ 1.7.1.1 การตรวจสอบตัวปาย ใหตรวจสอบความมัน่ คงแข็งแรงของอาคาร ดังนี้ (1) การตอเติมดัดแปลงปรับปรุงขนาดของปาย (2) การเปลี่ยนแปลงน้าํ หนักของแผนปาย (3) การเปลี่ยนสภาพการใชงานของปาย (4) การเปลี่ยนแปลงวัสดุของปาย (5) การชํารุดสึกหรอของปาย (6) การวิบัติของสิง่ ที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (7) การทรุดตัวของฐานรากของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (กรณีปายที่ตงั้ บน พื้นดิน) 1.7.1.2 การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย (1) ระบบไฟฟาแสงสวาง (2) ระบบปองกันฟาผา (3) ระบบและอุปกรณประกอบอื่น ๆ 1.7.2 ลักษณะบริเวณที่ไมตอ งตรวจสอบ (1) การตรวจสอบพื้นทีท่ ี่มคี วามเสีย่ งภัยสูงตอผูตรวจสอบ หนาที่3

75 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

(2) การตรวจสอบที่อาจทําใหอาคารหรือวัสดุอุปกรณหรือทรัพยสินเกิดความเสียหาย

1.7.3 การตรวจสอบระบบโครงสราง 1.7.3.1 ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา ทํารายงาน และประเมินโครงสรางตาม รายละเอียดดังตอไปนี้ (1) สวนของฐานราก (ถามี) (2) ระบบโครงสราง (3) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของระบบ โครงสรางอาคาร (4) ความเสียหายและอันตรายของโครงสราง เชน ความเสียหายเนื่องจากอัคคีภัย ความ เสียหายจากการแอนตัวของโครงขอหมุน เปนตน 1.7.3.2 สภาพการใชงานตามที่เห็น 1.7.4 การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย 1.7.4.1 ระบบไฟฟา 1.7.4.1.1 ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา เครื่องมือหรือเครื่องวัดชนิดพกพาทํา รายงานและประเมินระบบไฟฟาและบริภัณฑไฟฟา ดังนี้ (1) สภาพสายไฟฟา ขนาดกระแสของสาย จุดตอสาย และอุณหภูมิขั้วตอสาย (2) ทอรอยสาย รางเดินสาย และรางเคเบิล (3) ขนาดเครื่องปองกันกระแสเกินและพิกัดตัดกระแสของบริภัณฑประธาน แผง ยอย และแผงวงจรยอย (4) เครื่องตัดไฟรั่ว (5) การตอลงดินของบริภัณฑ ขนาดตัวนําตอลงดิน และความตอเนื่องลงดินของทอ รอยสาย รางเดินสาย รางเคเบิล (6) รายการอืน่ ตามตารางรายการตรวจสอบ 1.7.4.1.2 ผูตรวจสอบไมตองตรวจสอบในลักษณะดังนี้ (1) วัดหรือทดสอบแผงสวิตซ ทีต่ องใหสายวัดสัมผัสกับบริภัณฑในขณะทีแ่ ผง สวิตซนนั้ มีไฟหรือใชงานอยู (2) ทดสอบการใชงานอุปกรณปอ งกันกระแสเกิน (3) ถอดออกหรือรื้อบริภัณฑไฟฟา นอกจากเพียงเปดฝาแผงสวิตซ แผง ควบคุม เพือ่ ตรวจสภาพบริภัณฑ 1.7.4.2 ระบบปองกันฟาผา หนาที่4

76 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

(1) ตรวจสอบระบบตัวนําลอฟา ตัวนําตอลงดินครอบคลุมครบถวน (2) ตรวจสอบระบบรากสายดิน (3) ตรวจสอบจุดตอประสานศักย (4) ตรวจสอบ การดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา 1.7.4.3 ระบบอุปกรณประกอบอื่น ๆ ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา ทํารายงานและประเมินความปลอดภัยของ อุปกรณประกอบตาง ๆ ดังตอไปนี้ (1) สภาพบันไดขึ้นลง (2) สภาพราวจับ และราวกันตก (3) อุปกรณประกอบอื่นตามที่เห็นสมควร

หนาที่5

77 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 2 ขอมูลทั่วไปของปาย ขอมูลทั่วไปของปายที่ผูตรวจสอบตองลงบันทึกในหัวขอตาง ๆ และอาจเพิม่ เติมไดเพื่อใหขอมูล สมบูรณยิ่งขึ้น ในบางรายการจะตองประสานงานกับเจาของปายและผูด ูแลปายเพื่อใหไดขอมูลเหลานัน้ 5.1 ขอมูลปายและสถานที่ตั้งปาย ชื่อปาย ( ถามี )……..………………………………………………………………………………… ตั้งอยูเลขที… ่ …………..ตรอก/ซอย……………………………….ถนน……………………………. ตําบล/แขวง………………………………...อําเภอ/เขต……………………………….……………. จังหวัด………………………………………………………………………….…………….………. รหัสไปรษณีย………………..โทรศัพท…………………………โทรสาร………..………………….. ไดรับใบอนุญาตกอสรางจากเจาพนักงานทองถิน่ เมื่อวันที… ่ ...เดือน………..….……พ.ศ……...… มีแบบแปลนเดิม ไมมี แบบแปลนเดิม ( กรณีที่ไมมีแบบแปลนหรือแผนผังรายการเกี่ยวกับการกอสราง ใหเจาของ ปายจัดหาหรือจัดทําแบบแปลนสําหรับใชในการตรวจสอบปายและอุปกรณประกอบของปาย ให กับผูตรวจสอบอาคาร ) ไมมีขอมูลการไดรับใบอนุญาตกอสรางจากเจาพนักงานทองถิน่ อายุของปาย …………………….………………..………………………….……………. ป

หนาที่6

78 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

แผนที่แสดงตําแหนงที่ตั้งของปายโดยสังเขป

หนาที่7

79 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

วัน/เดือน/ป ทีต่ รวจสอบ ........................................ บันทึกโดย ..................................................

รูปถายปาย

หนาที่8

80 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

วัน/เดือน/ป ทีต่ รวจสอบ ........................................ บันทึกโดย ..................................................

รูปแบบและขนาดของแผนปาย และสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายโดยสังเขป

หนาที่9

81 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

วัน/เดือน/ป ทีต่ รวจสอบ ........................................ บันทึกโดย .................................................. 5.2 ประเภทของปาย ปายที่ติดตั้งบนพืน้ ดิน ปายบนดาดฟาอาคาร หนาที่10

82 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ปายบนหลังคา ปายบนสวนหนึ่งสวนใดของอาคาร อื่น ๆ (โปรดระบุ) ……………..…………………………………… 5.3 ชื่อเจาของหรือผูครอบครองปาย และผูออกแบบดานวิศวกรรมโครงสราง ปายที่ติดตัง้ บนพื้นดิน 5.3.1 ชื่อผลิตภัณฑโฆษณาหรือขอความในปาย …………..…………………………………………………… 5.3.2 เจาของหรือผูครอบครองปาย ชื่อ ………………………..……………………………..………………………………………………….….……….. สถานที่ติดตอเลขที่………………..หมูที่ ....................................ตรอก/ซอย........................................................... ถนน ..………………….…. ตําบล/แขวง …………….…..……. อําเภอ/เขต………..…...............………….…….….. จังหวัด ………………..……รหัสไปรษณีย ……………..……... โทรศัพท ………………………...………..…..……. โทรสาร…………………… อีเมล........................................................................................................................

5.3.3 ผูออกแบบดานวิศวกรรมโครงสราง ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที่.................................................

ปายบนดาดฟา บนหลังคา บนสวนหนึ่งสวนใดของอาคาร หรืออื่นๆ 5.3.1 ชื่อผลิตภัณฑโฆษณาหรือขอความในปาย ……………..………………………………………………… 5.3.2 เจาของหรือผูครอบครองปาย ชื่อ ………………………..……………………………..………………………………………………….….……….. สถานที่ติดตอเลขที่………………..หมูที่ .....................................ตรอก/ซอย.......................................................... ถนน ..………………….…. ตําบล/แขวง …………….…..……. อําเภอ/เขต………..…...............………….…….….. จังหวัด ………………..……รหัสไปรษณีย …………..……..…. โทรศัพท ………………………...………..…..……. โทรสาร…………………… อีเมล........................................................................................................................

5.3.3 เจาของหรือผูครอบครองอาคารที่ปายตั้งอยู ชื่อ ……………………..……………………………..…………………………………………………….….……….. สถานที่ติดตอเลขที่………………..หมูที่ ......................................ตรอก/ซอย......................................................... ถนน ..………………….…. ตําบล/แขวง …………….…..……. อําเภอ/เขต………..…...............………….…….….. จังหวัด ………………..……รหัสไปรษณีย …………..……..…. โทรศัพท ………………………...………..…..……. โทรสาร…………………… อีเมล........................................................................................................................

5.3.4 ผูออกแบบดานวิศวกรรมโครงสราง ชื่อ………………………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที่………....................................

หนาที่11

83 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

5.4 ประเภทของวัสดุและรายละเอียดของแผนปาย (สามารถระบุมากกวา 1 ขอได) 5.4.1 ประเภทวัสดุของสิง่ ที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย เหล็กโครงสรางรูปพรรณ ไม สเตนเลส คอนกรีตเสริมเหล็ก อืน่ ๆ (ระบุ) ……………………………………………………………………………………………… 5.4.2 รายละเอียดของแผนปาย วัสดุของปาย (โปรดระบุ) …………………...………………….………… จํานวนดานทีต่ ิดปาย ปาย (โปรดระบุจํานวนดาน) ….………………… การเจาะชองเปดในปาย มี ไมมี อื่น ๆ (โปรดระบุ) …………………………………………….

หนาที่12

84 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 3 ผลการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณตาง ๆ ของปาย สวนที่ 3 เปนผลการตรวจสอบสภาพปาย และอุปกรณตาง ๆ ของปายตามที่ตรวจสอบไดดวย สายตา หรือตรวจพรอมกับใชเครื่องมือวัดพื้นฐาน เชนตลับเมตร เปนตน หรือเครื่องมือชนิดพกพาเทานั้น จะไมรวมถึงการทดสอบที่ใชเครื่องมือพิเศษเฉพาะ การตรวจสอบปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ผูตรวจสอบจะตองพิจารณาตาม หลักเกณฑ หรือมาตรฐานทีไ่ ดกําหนดไวในกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ ที่ใชบังคับอยูในขณะที่มกี ารกอสรางปายนัน้ และคํานึงถึงหลักเกณฑ หรือมาตรฐานความปลอดภัยของ สถาบันทางราชการ สภาวิศวกร หรือสภาสถาปนิก โดยจะตรวจตามรายการที่กาํ หนดในสวนนี้ประกอบกับ รายละเอียดการตรวจสอบบํารุงรักษาปายที่เจาของปายหรือผูดูแลปายไดดําเนินการตรวจสอบไวแลวตามที่ผู ตรวจสอบกําหนด

หนาที่13

85 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

รายการที่ตรวจสอบ 1. การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงขนาดของปาย ไมมีการเปลี่ยนแปลงขนาด มีการเปลี่ยนแปลงขนาด (หากระบุวา ‘มี’ ใหบันทึกรายละเอียดดานลาง) ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ความเห็นของผูตรวจสอบ ใชได ใชไมได ................................................................................................................ ................................................................................................................ ………………………………………………………………………………… อื่น ๆ (โปรดระบุ) ................................................................................................................ ........................................................................................................................... 2. การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักของปาย ไมมีการเปลี่ยนแปลงน้ําหนัก มีการเปลี่ยนแปลงน้ําหนัก (หากระบุวา ‘มี’ ใหบันทึกรายละเอียดดานลาง) ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ความเห็นของผูตรวจสอบ ใชได ใชไมได ................................................................................................................ ................................................................................................................ ………………………………………………………………………………… อื่น ๆ (โปรดระบุ) ................................................................................................................ ...........................................................................................................................

หนาที่14

86 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

3. การเปลี่ยนสภาพการใชงานของปาย ไมมีการเปลี่ยนสภาพ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

มีการเปลี่ยนสภาพ (หากระบุวา ‘มี’ ใหบันทึกรายละเอียดดานลาง) ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ความเห็นของผูตรวจสอบ ใชได ใชไมได ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ อื่น ๆ (โปรดระบุ) ................................................................................................................ ................................................................................................................

4. การเปลี่ยนแปลงวัสดุของปาย ไมมีการเปลี่ยนแปลงวัสดุ

มีการเปลี่ยนแปลงวัสดุ (หากระบุวา ‘มี’ ใหบันทึกรายละเอียดดานลาง) ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ความเห็นของผูตรวจสอบ ใชได ใชไมได ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ อื่น ๆ (โปรดระบุ) ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................

หนาที่15

87 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

5. การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงและปลอดภัยของปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ความเห็น การชํารุด ความ ของผูตรวจสอบ ลํา เสียหาย รายการ มี ไมมี สึกหรอ ดับที่ มี ไมมี มี ไมมี ใชได ใชไมได (1) สิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย - ฐานราก - การเชื่อมยึดของสิ่งที่สรางขึ้น สําหรับติดหรือตั้งปายกับฐาน รากหรืออาคาร - ชิ้นสวน - รอยตอ สลักเกลียว การเชื่อม อื่น ๆ (โปรดระบุ) ............................................. - สลิง หรือสายยึด - บันไดสําหรับการซอมบํารุง - CATWALK - อื่น ๆ (โปรดระบุ) ............................................. (2) แผนปาย - สภาพของแผนปาย - สภาพการยึดติดกับโครงสราง รับปาย - อื่น ๆ (โปรดระบุ) ............................................. (3) ระบบไฟฟาแสงสวาง - โคมไฟฟา - ทอสาย - อุปกรณควบคุม - การตอลงดิน - อื่น ๆ (โปรดระบุ) ............................................ . หนาที่16

หมายเหตุ

88 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

(2)

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

ระบบปองกันฟาผา - ตัวนําลอฟา - ตัวนําตอลงดิน - รากสายดิน

(4)

- จุดตอประสานศักย - อื่น ๆ (โปรดระบุ) ............................................. อื่น ๆ ............................................. ……………………………… ………………………………

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

หนาที่17

89 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบปายสําหรับการตรวจสอบใหญ

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

7. สรุปผลการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณตาง ๆ ของปาย สรุปผลการตรวจสอบปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

1 2 3 4 5 6

สิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย

ใชได

ใช ไมได

มีการแกไข แลว

หมายเหตุ

แผนปาย ระบบไฟฟา แสงสวาง

ระบบปองกันฟาผา อุปกรณประกอบตางๆ อื่นๆ

สรุปความเห็นของผูต รวจสอบอาคาร………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ………………………………… เจาของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย/ผูครอบครองปาย (………………………………) หรือผูรับมอบหมาย ลงชื่อ ………………………………… เจาของอาคารที่ปายตั้งอยู (ถามี) (………………………………) หรือผูรับมอบหมาย ลงชื่อ ………………………………… วิศวกรโยธาผูตรวจสอบระบบโครงสราง (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน………. ลงชื่อ ………………………………… วิศวกรไฟฟาผูตรวจสอบระบบไฟฟา (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน………. ลงชื่อ ………………………………… วิศวกรเครื่องกลผูตรวจสอบระบบเครื่องกล (………………………………) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน………. ลงชื่อ………………………………… ผูตรวจสอบอาคาร (………………………………) เลขที่ทะเบียนผูตรวจสอบ…………………………. วันที่…………………………… หนาที่18

90 of 202

5. แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือ ดูแล

91 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 1 ขอบเขตของการตรวจบํารุงรักษาปาย และอุปกรณประกอบของปาย 1.1 ในแผนการตรวจบํารุงรักษาปายอุปกรณประกอบของปายนี้ “ปาย” หมายถึง แผนปายและสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย การตรวจสอบปาย หมายถึง การตรวจสอบสภาพปายดานความมัน่ คงแข็งแรง และระบบอุปกรณ ประกอบตาง ๆ ของปาย โดยผูตรวจสอบอาคาร ตามมาตรา 32 ทวิ แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 การตรวจบํารุงรักษาปายและอุปกรณประกอบของปายหมายถึง การบํารุงรักษาปาย และระบบ อุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย โดยเจาของปาย หรือผูด ูแลปาย ผูตรวจสอบอาคาร หมายถึง ผูซงึ่ ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม หรือผูซึ่งไดรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ตามกฎหมายวาดวยการนั้น แลวแตกรณี ซึ่งไดขึ้น ทะเบียนเปนผูต รวจสอบอาคารตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เจาของปาย หมายถึง ผูท ี่มสี ิทธิ์เปนเจาของปาย ผูดูแลปาย หมายถึง เจาของปายหรือ ผูท ที่ ี่ไดรับมอบหมายจากเจาของปายใหมหี นาที่ตรวจสอบการ บํารุงรักษาปาย และระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย แผนการตรวจสอบปาย หมายถึง แผนการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของ ปาย สําหรับผูตรวจสอบอาคาร แผนการตรวจบํารุงรักษาปายและอุปกรณประกอบของปาย หมายถึง แผนการตรวจบํารุง รักษาปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปายที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนดใหกับเจาของปาย หรือผูดูแลปาย แบบแปลนปาย หมายถึง แบบแปลนของปายทีต่ อง 1.2 เจาของปาย หรือผูดูแลปายที่ไดรับมอบหมายจากเจาของปาย มีหนาที่ตรวจสอบการ บํารุงรักษาปาย และระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ตามที่ผูตรวจสอบอาคารไดกําหนดไว และจัดใหมีการทดสอบการทํางานของระบบ และในระหวางป แลวรายงานผลการตรวจสอบตอ เจาพนักงานทองถิ่น ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวงเกีย่ วกับการ ตรวจสอบอาคาร

หนาที่ 1

92 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

1.3 ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแผนการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ไวตามแผนการตรวจสอบปายประจําป ใหเจาของปายและหรือผูดแู ลปายใชเปนแนวทางการ ปฏิบัติ ผูต รวจสอบอาคารสามารถแกไขเปลี่ยนแปลงแผนการตรวจสอบนี้ไดตามความเหมาะสม 1.4 การตรวจสอบบํารุงรักษาปายและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปายใหเปนไปตามแผนการ ตรวจการตรวจสอบบํารุงรักษาปายและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปายฉบับนี้ และคูมอื การตรวจบํารุงรักษาปายที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนด

หนาที่ 2

93 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 2 แผนการตรวจบํารุงรักษาปาย และอุปกรณ ประกอบของปาย ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแผนการตรวจสอบบํารุงรักษาปายและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ดังนี้ 2.1 ใหเจาของปาย หรือผูดูแลปายที่ไดรับมอบหมายจากเจาของปายมีหนาที่ตรวจสอบการ บํารุงรักษาปายและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย จัดใหมีการทดสอบการทํางาน ของระบบและอุปกรณในระหวางปตามทีผ่ ูตรวจสอบอาคารกําหนด 2.2 เจาของหรือผูดูแลปายตองตรวจบํารุงรักษาปายอยางสม่ําเสมอตามคูมือที่ผูตรวจสอบอาคารได จัดทําไว และบันทึกขอมูลการตรวจบํารุงรักษาตามระยะเวลาที่ผูตรวจสอบอาคารกําหนด 2.3 ในการดําเนินการตรวจสอบบํารุงรักษาใหใชแบบรายละเอียดการตรวจที่ผูตรวจสอบอาคารจัดไว 2.4 ชวงเวลา และความถี่ของการตรวจบํารุงรักษา ฯ การทดสอบการทํางานของระบบและอุปกรณ ใหเปนไปตามแผนการตรวจสอบที่ผตู รวจสอบอาคารกําหนด 2.5 ใหเจาของปาย หรือผูดูแลปายจะตองจัดเตรียมแบบแปลนปายเพื่อการตรวจสอบ และผลการ ตรวจบํารุงรักษาปายและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปายไวใหผตู รวจสอบปายประจําป สามารถใชประกอบการตรวจสอบปายประจําป ไดตลอดเวลาที่ผูตรวจสอบกําหนดตามแผนการ ตรวจสอบปายประจําป

หนาที่ 3

94 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 3 รายละเอียดที่ตองตรวจบํารุงรักษาปาย และ อุปกรณประกอบของปาย เจาของปาย หรือผูดูแลปาย ตองทําการตรวจบํารุงรักษาปาย หรืออุปกรณประกอบ ตาง ๆ ของปาย ในเรื่องดังตอไปนี้ (1) การตรวจสอบบํารุงรักษาตัวปายดานความมั่นคงแข็งแรง ดังนี้ (ก) การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงขนาดของปาย (ข) การเปลี่ยนแปลงน้าํ หนักของแผนปาย (ค) การเปลี่ยนสภาพการใชงานของปาย (ง) การเปลี่ยนแปลงวัสดุของปาย (จ) การชํารุดสึกหรอของปาย (ฉ) การวิบัติของสิง่ ที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (ช) การทรุดตัวของฐานรากของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (กรณีปายที่ตงั้ บนพืน้ ดิน) (2) การตรวจบํารุงรักษาระบบและอุปกรณประกอบของปาย ดังนี้ (ก) ระบบไฟฟาแสงสวาง (ข) ระบบปองกันฟาผา (ค) ระบบและอุปกรณประกอบอื่น ๆ (3) การตรวจสอบสมรรถนะของระบบ และอุปกรณตางๆ

หนาที่ 4

95 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 4 แนวทางการตรวจบํารุงรักษาปาย และ อุปกรณประกอบของปายประจําป . ผูตรวจสอบอาคาร กําหนดแนวทางการตรวจบํารุงรักษาปาย และอุปกรณประกอบของปาย ประจําปดังนี้ 1. เจาของปายตองจัดหา หรือจัดทําแบบแปลนปายเพื่อใชสําหรับการตรวจสอบจัดเก็บไว เพื่อใหผูตรวจสอบสามารถใชประกอบการตรวจสอบได 2. เจาของปายตองจัดใหมีการตรวจบํารุงรักษาปาย และอุปกรณประกอบของปายตามคูมอื ปฏิบัติของ ผูผลิต หรือผูติดตั้งระบบและอุปกรณของปาย และตามแผนการตรวจบํารุงรักษาฉบับนี้ และจัดใหมี การบันทึกขอมูลการตรวจบํารุงรักษาปายตามชวงระยะเวลาที่ผูตรวจสอบกําหนดใหผูตรวจสอบใช ประกอบในการตรวจสอบปายประจําป 3. เจาของปายตองนํารายงานผลการตรวจสอบสภาพปายและอุปกรณประกอบของปายที่ผตู รวจสอบ จัดทํา แจงตอเจาพนักงานทองถิน่ เพื่อใหออกหนังสือรับรองการตรวจสอบปายทุกป โดยจะตองเสนอ ภายในสามสิบวันกอนวันที่ใบรับรองการตรวจอาคารฉบับเดิมจะมีอายุครบหนึ่งป 4. กรณีที่เจาของปาย หรือผูดูแลปายพบวาสภาพของปายหรืออุปกรณประกอบตาง ๆ ของ ปายมีการชํารุดเสียหาย ตองแกไข มีสงิ่ ที่ผิดปกติ หรือ ใชงานไมได เจาของปาย หรือ ผูดูแลปายจะตองบันทึกรายละเอียดแตละรายการใหชัดเจน และแจงผลใหผูตรวจสอบทราบ

หนาที่ 5

96 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 5 ชวงเวลา และความถี่ในการตรวจบํารุงรักษา ปาย และ อุปกรณประกอบของปาย สําหรับเจาของปาย ( ผูดูแลปาย ) 1. ความถี่ในการตรวจบํารุงรักษาปายดานความมัน่ คงแข็งแรงของปาย ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ

รายการตรวจบํารุงรักษา

1

การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุง ขนาดของปาย

2

การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักของแผน

2 1 4 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

1 ป

หมายเหตุ

ปาย 3

การเปลี่ยนแปลงสภาพการใชงาน

ของปาย 4

การเปลี่ยนแปลงวัสดุของปาย

5

การชํารุดสึกหรอของปาย

6

การวิบัติของสิ่งที่สรางขึน้ สําหรับติด

หรือตั้งปาย 7

การทรุดตัวของฐานรากของสิ่งที่สราง

ขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (กรณี ปายที่ตงั้ บนพืน้ ดิน)

หนาที่ 6

97 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

2. ความถี่ในการตรวจบํารุงรักษาระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย ความถี่ในการตรวจสอบ

ลําดับ 1.

รายการตรวจบํารุงรักษา

2 1 4 6 สัปดาห เดือน เดือน เดือน

1 ป

หมายเหตุ

ระบบไฟฟาแสงสวาง

(1) สภาพสายไฟฟา (2) สภาพทอรอยสาย รางเดินสาย และรางเคเบิล (3) สภาพเครื่องปองกันกระแสเกิน (4) สภาพเครื่องตัดไฟรั่ว (5) การตอลงดินของบริภัณฑ ตัวนําตอลงดิน และความตอเนื่อง ลงดินของทอรอยสาย รางเดินสาย รางเคเบิล 2

ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา

(1) ตรวจสอบระบบตัวนําลอฟา ตัวนําตอลงดิน (2) ตรวจสอบระบบรากสายดิน (3) ตรวจสอบจุดตอประสานศักย 3

ระบบอุปกรณประกอบอื่น ๆ (ถามี)

(1) สภาพบันไดขึ้นลง (2) สภาพราวจับ และราวกันตก (3) อุปกรณประกอบอื่นตามที่ เห็นสมควร

หนาที่ 7

98 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 6 ผลการตรวจสอบสภาพปาย และอุปกรณ ตาง ๆ ของปายโดยเจาของปาย ( ผูดูแลปาย ) สวนที่ 6 เปนผลการตรวจสอบการบํารุงรักษาปาย และอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปายตามที่ เจาของปาย หรือ ผูดูแลปายสามารถสังเกตไดดวยสายตา ไมรวมถึงการทดสอบที่ใชเครื่องมือพิเศษเฉพาะ การตรวจสอบการบํารุงรักษาปาย และอุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย เจาของ หรือ ผูดแู ลปาย จะตองพิจารณาตามรายละเอียดในคูมือรายละเอียดนี้ ที่ผูตรวจสอบอาคารไดกําหนดไว และความถี่ในการ ตรวจไมนอยกวา ที่ผูตรวจสอบอาคารไดกําหนดไว กรณีทพี่ บวาสภาพของปาย หรืออุปกรณประกอบตาง ๆ ของปายมีการชํารุด เสียหาย ตองแกไข ผิดปกติ หรือ ใชงานไมไดเจาของปาย หรือ ผูดูแลปายจะตองบันทึกรายละเอียดแตละรายการให ชัดเจน และแจงผลใหผูตรวจสอบทราบโดยเร็ว

หนาที่ 8

99 of 202

1

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 1

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

หมายเหตุ ใชไมได

ใชได

ใชไมได

ใชได

ใชไมได

รายการตรวจสอบ ใชได

ลําดับที่

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

การตรวจสอบความมัน่ คงแข็งแรงของ ปาย 1.1 การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงขนาด ของปาย 1.2 การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักของแผน ปาย 1.3 การเปลี่ยนสภาพการใชงานของปาย 1.4 การเปลี่ยนแปลงวัสดุของปาย 1.5 การชํารุดสึกหรอของปาย 1.6 การวิบัติของของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับ ติดหรือตั้งปาย 1.7 การทรุดตัวของฐานรากของสิ่งที่สราง ขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (กรณีปายที่ตงั้ บนพืน้ ดิน)

หนาที่ 9

100 of 202

2

3

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 1

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

หมายเหตุ ใชไมได

ใชได

ใชไมได

ใชได

ใชไมได

รายการตรวจสอบ ใชได

ลําดับที่

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

การตรวจสอบบํารุงรักษาระบบและ อุปกรณประกอบตาง ๆ ของปาย 2.1 ระบบไฟฟาแสงสวาง (1) สภาพสายไฟฟา (2) สภาพทอรอยสาย รางเดินสาย และ รางเคเบิล (3) สภาพเครื่องปองกันกระแสเกิน (4) สภาพเครื่องตัดไฟรั่ว (5) การตอลงดินของบริภัณฑ ตัวนําตอ ลงดิน และ ความตอเนื่องลงดินของทอรอยสาย ราง เดินสาย รางเคเบิล 2.2 ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา (1) ตรวจสอบระบบตัวนําลอฟา ตัวนําตอ ลงดิน (2) ตรวจสอบระบบรากสายดิน (3) ตรวจสอบจุดตอประสานศักย 2.3 ระบบอุปกรณประกอบอื่น ๆ (ถามี) (1) สภาพบันไดขึ้นลง (2) สภาพราวจับ และราวกันตก (3) อุปกรณประกอบอื่นตามที่ เห็นสมควร การตรวจสอบสมรรถนะของระบบ และอุปกรณตางๆ

หนาที่ 10

101 of 202

แผนปฏิบัติการดูแลปายประจําป และคูมือดูแล

คณะทํางานจัดทําคูมือสําหรับผูตรวจสอบและดูแลอาคาร

สวนที่ 7 สรุปผลการตรวจสอบบํารุงรักษาปาย และ อุปกรณ ตาง ๆ ของปายโดยเจาของปาย ( ผูดูแลปาย )

รายการตรวจสอบ

1.

การตรวจบํารุงรักษาปายดานความมั่นคงแข็งแรง ของปาย

2.

การตรวจสอบบํารุงรักษาระบบและอุปกรณ ประกอบตาง ๆ ของปาย 2.1 ระบบไฟฟาแสงสวาง 2.2 ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา 2.3 ระบบอุปกรณประกอบอื่น ๆ (ถามี)

3.

การตรวจสอบสมรรถนะของระบบ และอุปกรณ ตาง ๆ

ใชไมได

ใชได

ลําดับที่ ี่

สวนที่ 7 เปนสรุปผลการตรวจสอบบํารุงรักษาปาย ระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของ ปาย รวมทั้ง การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยของปาย อาคาร ตามทีผ่ ูตรวจสอบอาคารไดกําหนดไว

มีการแกไขแลว

หมายเหตุ

ลายมือชื่อ……………………………………………….เจาของอาคาร หรือ ผูดูแลอาคาร ( ………………………………………………) วัน เดือน ป ที่ตรวจ ………………………………………

หนาที่ 11

102 of 202

6. รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผู ตรวจสอบอาคาร

103 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

ขอบเขตของการตรวจสอบอาคาร 1. ขอบเขตของผูตรวจสอบ การตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร อาจมีขอจํากัด ตาง ๆ ที่ไมสามารถตรวจสอบไดตามที่กําหนดและตามที่ตองการได ดังนั้น จึงจําเปนตองกําหนด ขอบเขตของผูตรวจสอบ ดังนี้ “ผูตรวจสอบมีหนาที่ตรวจสอบ สังเกต ทํารายงาน วิเคราะห ทางดานความมั่นคง แข็งแรง และระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสินของผูใชสอยอาคาร โดยแจงเจาของอาคารเพื่อรายงานผลดังกลาวตอเจาพนักงานทองถิ่น ผูตรวจสอบตองตรวจสอบตามหลักวิชาชีพ และตามมาตรฐานการตรวจสอบสภาพ อาคารของกฎหมายควบคุมอาคารหรือมาตรฐานสากลตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ณ สถานที่ วัน และเวลาที่ ทําการตรวจสอบตามที่ระบุในรายงานเทานั้น” 2. รายละเอียดในการตรวจสอบ 2.1 รายละเอียดที่ตองตรวจสอบ ผูตรวจสอบตองตรวจสอบ และทํารายงานการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณ ตาง ๆ ของอาคาร ดังตอไปนี้ 2.1.1 การตรวจสอบตัวอาคาร ใหตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร ดังนี้ (1) การตอเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร (2) การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร (3) การเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร (4) การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคาร (5) การชํารุดสึกหรอของอาคาร (6) การวิบัติของโครงสรางอาคาร (7) การทรุดตัวของฐานรากอาคาร 2.1.2 การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร 2.1.2.1 ระบบบริการและอํานวยความสะดวก (1) ระบบลิฟต (2) ระบบบันไดเลื่อน (3) ระบบไฟฟา (4) ระบบปรับอากาศ -/2.1.2.2 ระบบ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

104 of 202

2

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

2.1.2.2 ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม (1) ระบบประปา (2) ระบบระบายน้ําเสียและระบบบําบัดน้ําเสีย (3) ระบบระบายน้ําฝน (4) ระบบจัดการมูลฝอย (5) ระบบระบายอากาศ (6) ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง 2.1.2.3 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย (1) บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ (2) เครื่องหมายและไฟปายบอกทางออกฉุกเฉิน (3) ระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควัน (4) ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน (5) ระบบลิฟตดับเพลิง (6) ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม (7) ระบบการติดตั้งอุปกรณดับเพลิง (8) ระบบการจายน้ําดับเพลิง เครื่องสูบน้ําดับเพลิง และหัวฉีดน้ําดับเพลิง (9) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ (10)ระบบปองกันฟาผา (11)แบบแปลนอาคารเพื่อการดับเพลิง 2.1.3 การตรวจสอบสมรรถนะของระบบ และอุปกรณตาง ๆ เพื่อการอพยพ ดังนี้ (1) สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ (2) สมรรถนะเครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน (3) สมรรถนะระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม 2.1.4 การตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยในอาคาร ดังนี้ (1) แผนการปองกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร (2) แผนการซอมอพยพผูใชอาคาร (3) แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร (4) แผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร

-/2.2 ลักษณะบริเวณ กรมโยธาธิการและผังเมือง

105 of 202

3

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

2.2 ลักษณะบริเวณที่ตองตรวจสอบ ผูตรวจสอบจะตรวจสอบ รายงาน และประเมินลักษณะบริเวณที่นอกเหนือจากอาคาร ดังตอไปนี้ (1) ทางเขาออกของรถดับเพลิง (2) ที่จอดรถดับเพลิง (3) สภาพของรางระบายน้ํา 2.3 ลักษณะบริเวณที่ไมตองตรวจสอบ 2.3.1 การตรวจสอบพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยสูงตอผูตรวจสอบ 2.3.2 การตรวจสอบที่อาจทําใหอาคารหรือวัสดุอุปกรณหรือทรัพยสินเกิดความเสียหาย 2.4 ระบบโครงสราง 2.4.1 ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา ทํารายงาน และประเมินโครงสรางตาม รายละเอียดดังตอไปนี้ (1) สวนของฐานราก (2) ระบบโครงสราง (3) ระบบโครงหลังคา 2.4.2 สภาพการใชงานตามที่เห็น การสั่นสะเทือนของพื้น การแอนตัวของพื้น คาน หรือ ตง และการเคลื่อนตัวในแนวราบ 2.4.3 การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของระบบ โครงสรางของอาคาร 2.2.4 ความเสียหายและอันตรายของโครงสราง เชน ความเสียหายเนื่องจากอัคคีภัย ความเสียหายจากการแอนตัวของโครงขอหมุน และการเอียงตัวของผนัง เปนตน 2.5 ระบบบริการและอํานวยความสะดวก 2.5.1 ระบบลิฟต ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพื้นฐานเทานั้น จะไม รวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบอุปกรณระบบลิฟต (2) ตรวจสอบการทํางานของลิฟต (3) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา

-/2.5.5 ระบบบันไดเลื่อน กรมโยธาธิการและผังเมือง

106 of 202

4

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

2.5.2 ระบบบันไดเลื่อน ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพื้นฐานเทานั้น จะไมรวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบอุปกรณระบบของบันไดเลื่อน (2) ตรวจสอบการทํางานของบันไดเลื่อน (3) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา 2.5.3 ระบบไฟฟา 2.5.3.1.ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา เครื่องมือหรือเครื่องวัดชนิด พกพาทํารายงานและประเมินระบบไฟฟาและบริภัณฑไฟฟา ดังนี้ (1) สภาพสายไฟฟา ขนาดกระแสของสาย จุดตอสาย และอุณหภูมิขั้วตอสาย (2) ทอรอยสาย รางเดินสาย และรางเคเบิล (3) ขนาดเครื่องปองกันกระแสเกินและพิกัดตัดกระแสของบริภัณฑประธาน แผงยอย และแผงวงจรยอย (4) เครื่องตัดไฟรั่ว (5) การตอลงดินของบริภัณฑ ขนาดตัวนําตอลงดิน และความตอเนื่องลงดิน ของทอรอยสาย รางเดินสาย รางเคเบิล (6) รายการอื่นตามตารางรายการตรวจสอบ 2.5.3.2 ผูตรวจสอบไมตองตรวจสอบในลักษณะดังนี้ (1) วัดหรือทดสอบแผงสวิตซ ที่ตองใหสายวัดสัมผัสกับบริภัณฑในขณะที่ แผงสวิตซนั้นมีไฟหรือใชงานอยู (2) ทดสอบการใชงานอุปกรณปองกันกระแสเกิน (3) ถอดออกหรือรื้อบริภัณฑไฟฟา นอกจากเพียงเปดฝาแผงสวิตซ แผงควบคุม เพื่อตรวจสภาพบริภัณฑ 2.5.4 ระบบปรับอากาศ ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา เครื่องมือหรือเครื่องชนิดพกพาทํารายงาน และประเมิน ระบบปรับอากาศ ดังนี้ (1) อุปกรณเครื่องเปาลมเย็น (AHU)

-/(2) สภาพทาง กรมโยธาธิการและผังเมือง

107 of 202

5

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

(2) สภาพทางกายภาพของเครื่องเปาลมเย็น (3) สภาพการกระจายลมเย็นที่เกิดขึ้น (4) ระบบไฟฟาของระบบปรับอากาศ (5) สภาพของอุปกรณและระบบควบคุม 2.6 ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา เครื่องมือและเครื่องวัดชนิดพกพาทํารายงานและ ประเมินระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม ดังนี้ (1) สภาพทางกายภาพและการทํางานของเครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในระบบประปา ระบบบําบัดน้ําเสียและระบายน้ําเสีย ระบบระบายน้ําฝน ระบบจัดการขยะมูลฝอย ระบบระบายอากาศ และระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง (2) ความสะอาดของ ถังเก็บน้ําประปา 2.7 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย ผูตรวจสอบจะตรวจสอบดวยสายตา ทํารายงานและประเมินความปลอดภัยดานอัคคีภัย ดังตอไปนี้ 2.7.1 บันไดหนีไฟ ทางหนีไฟ เครื่องหมาย และไฟปายบอกทางออกฉุกเฉิน ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมเครื่องมือวัดพื้นฐาน เชน ตลับเมตร เปนตน โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบสภาพราวจับ และราวกันตก (2) ตรวจสอบความสองสวางของแสงไฟ บนเสนทาง (3) ตรวจสอบอุปสรรคสิ่งกีดขวาง ตลอดเสนทางจนถึงเสนทางออกสูภายนอก อาคาร (4) ตรวจสอบการปด – เปดประตู ตลอดเสนทาง (5) ตรวจสอบปายเครื่องหมายสัญลักษณ2.7.2 ระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควัน ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบและทดสอบดวยสายตา พรอมเครื่องมือวัดพื้นฐาน เทานั้น จะไมรวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุม อยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบสภาพอุปกรณ พรอมระบบอุปกรณควบคุมการทํางาน -/(2) ทดสอบ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

108 of 202

6

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

(2) ทดสอบการทํ า งานว า สามารถใช ไ ด ทั น ที่ เมื่ อ เกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น ทั้ ง แบบ อัตโนมัติ และแบบที่ใชมือ รวมทั้งสามารถทํางานไดตอเนื่อง โดยไม หยุดชะงักขณะเกิดเพลิงไหม (3) การรั่วไหลของอากาศภายในชองบันไดแบบปดทึบที่มีระบบพัดลม อัดอากาศ รวมทั้งการออกแรงผลักประตูเขาบันไดขณะพัดลมอัดอากาศ ทํางาน (4) ตรวจสอบชองเปด เพื่อการระบายควันจากชองบันไดและอาคาร รวมถึงชอง ลมเขาเพื่อเติมอากาศเขามาแทนที่ดวย (5) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา 2.7.3 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพื้นฐานเทานั้น จะไมรวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบสภาพและความพรอมของแบตเตอรี่ เพื่อสตารทเครื่องยนต (2) ตรวจสอบสภาพและความพรอมของระบบจายน้ํามันเชื้อเพลิง เครื่องยนต และปริมาณน้ํามันที่สํารองไว (3) ตรวจสอบการทํางานของระบบไฟฟาสํารอง ทั้งแบบอัตโนมัติและแบบที่ใชมือ (4) ตรวจสอบการระบายอากาศ ขณะเครื่องยนตทํางาน (5) ตรวจสอบวงจรระบบจายไฟฟา ใหแกอุปกรณชวยเหลือชีวิต และที่สําคัญอืน่ ๆ วามีความมั่นคงในการจายไฟฟาดีขณะเกิดเพลิงไหมในอาคาร (6) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา 2.7.4 ระบบลิฟตดับเพลิง ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพื้นฐานเทานั้น จะไมรวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบตามเกณฑทั่วไปของลิฟต (2) ตรวจสอบสภาพโถงปลอดควันไฟ รวมทั้งชวงเปดตาง ๆ และประตู (3) ตรวจสอบอุปกรณระบบปองกันอัคคีภัยตาง ๆ ภายในโถงปลอดควันไฟ (4) ตรวจสอบการปองกันน้ําไหลลงสูชองลิฟต -/(5) ตรวจสอบ กรมโยธาธิการและผังเมือง

109 of 202

7

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

(5) ตรวจสอบการทํางานของลิฟตดับเพลิง รวมทั้งสัญญาณกระตุนจากระบบแจง เหตุเพลิงไหม และการทํางานของระบบอัดอากาศ (ถามี) 2.7.5 ระบบแจงเหตุเพลิงไหม ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพื้นฐานเทานั้น จะไม รวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิดอุปกรณตรวจจับเพลิงไหม ในแตละหอง/ พื้นที่ ครอบคลุมครบถวน (2) ตรวจสอบอุปกรณแจงเหตุดวยมือ, อุปกรณแจงเหตุตาง ๆครอบคลุม ครบถวน ตําแหนงของแผงควบคุมและแผงแสดงผลเพลิงไหม (3) ตรวจสอบการทํางานของอุปกรณระบบฉุกเฉินตาง ๆ ที่ใชสัญญาณกระตุน ระบบแจงเหตุเพลิงไหม (4) ตรวจสอบความพรอมในการแจงเหตุทั้งแบบอัตโนมัติ และแบบที่ใชมือของ ระบบแจงเหตุเพลิงไหม (5) ตรวจสอบขั้นตอนการแจงเหตุอัตโนมัติ และชวงเวลาแตละขั้นตอน (6) ตรวจสอบแหลงจายไฟฟาใหแผงควบคุม (7) ตรวจสอบการแสดงผลของระบบแจงเหตุเพลิงไหม (8) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา 2.7.6 ระบบการติดตั้งอุปกรณดับเพลิง ระบบการจายน้ําดับเพลิง เครื่องสูบน้ําดับเพลิงและ หัวฉีดน้ําดับเพลิง และ ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ ผูตรวจสอบจะทําการตรวจสอบดวยสายตา พรอมดวยเครื่องมือพื้นฐานเทานั้น จะไม รวมถึงการทดสอบที่อาศัยเครื่องมือเฉพาะ โดยลักษณะการตรวจสอบจะครอบคลุมอยางนอย ดังนี้ (1) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิดอุปกรณและระบบดับเพลิง ในแตละหอง/ พื้นที่ และครอบคลุมครบถวน (2) ตรวจสอบการทํางานของอุปกรณและระบบทั้งแบบอัตโนมัติและแบบที่ใชมือ รวมความพรอมใชงานตลอดเวลา (3) ตรวจสอบการทํางานอุปกรณระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการปลอยสาร ดับเพลิง อาทิ การแจงเหตุ การเปด – ปดลิ้นกั้นไฟหรือควัน เปนตน (4) ตรวจสอบขั้นตอนการดับเพลิงแบบอัตโนมัติ และชวงเวลาแตละขั้นตอน

-/(5) ตรวจสอบ กรมโยธาธิการและผังเมือง

110 of 202

8

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

(5) ตรวจสอบความถูกตองตามที่กําหนดของแหลงจายไฟฟาใหแผงควบคุม แหลงน้ําดับเพลิง ถังสารดับเพลิง (6) ตรวจสอบความดันน้ํา และการไหลของน้ํา ในจุดที่ไกลหรือสูงที่สุด (7) ตรวจสอบการแสดงผลของระบบดับเพลิง (8) ตรวจการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา 2.7.7 ระบบปองกันฟาผา (1) ตรวจสอบระบบตัวนําลอฟา ตัวนําตอลงดินครอบคลุมครบถวน (2) ตรวจสอบระบบรากสายดิน (3) ตรวจสอบจุดตอประสานศักย (4) ตรวจสอบ การดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา 2.7.8 แบบแปลนอาคารเพื่อการดับเพลิง (1) ตรวจสอบแบบแปลนของอาคารเพื่อใชสําหรับการดับเพลิง (2) ตําแหนงที่เก็บแบบแปลน

กรมโยธาธิการและผังเมือง

111 of 202

9

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของอาคาร สวนที่ 1 เปนขอมูลทั่วไปของอาคารที่ผูตรวจสอบตองลงบันทึกในหัวขอตาง ๆ และอาจ เพิ่มเติมไดเพื่อใหขอมูลสมบูรณยิ่งขึ้น ในบางรายการจะตองประสานงานกับเจาของอาคารและผูดูแลอาคาร เพื่อใหไดขอมูลเหลานั้น

1.1 ขอมูลอาคารและสถานที่ตั้งอาคาร ชื่ออาคาร………………………………………………………………………………………… ตั้งอยูเลขที่……………..ตรอก/ซอย………………………….ถนน……………………………. ตําบล/แขวง…………………………….อําเภอ/เขต……………………………….……………. จังหวัด…………………………………………………………………….…………….………. รหัสไปรษณีย………………..โทรศัพท…………………………โทรสาร…………………….. ไดรับใบอนุญาตกอสรางจากเจาพนักงานทองถิ่น เมื่อวันที่…...เดือน……….……พ.ศ……...… มี แบบแปลนเดิม ไมมี แบบแปลนเดิม ( กรณีที่ไมมีแบบแปลนหรือแผนผังรายการเกี่ยวกับการกอสรางอาคาร ให เจาของอาคารจัดหาหรือจัดทําแบบแปลนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารใหกับผูตรวจ สอบอาคาร ) อยูในบังคับตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความ พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ไมอยูในบังคับตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความ พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 เพราะ ไดรับใบอนุญาตกอสรางอาคารกอนกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 มีผลบังคับใช ไมเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ เปนอาคารประเภทควบคุมการใช ไดรับใบอนุญาตเปดใชอาคารจากเจาพนักงานทองถิ่น เมื่อวันที่……..เดือน………….พ.ศ. ………. ไมเปนอาคารประเภทควบคุมการใช

-/แผนที่ กรมโยธาธิการและผังเมือง

112 of 202

10

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

แผนที่และเสนทางเขา – ออก ของอาคารโดยสังเขป

หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6

ขอมูลที่แสดงในแผนผัง (ถามี) ใหระบุตําแหนงเปนสัญลักษณ ดังนี้ แทน หัวจายน้ําดับเพลิงรอบอาคาร แทน หัวรับน้ําดับเพลิง แทน เครื่องสูบน้ําดับเพลิง แทน หองเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองฉุกเฉิน แทน แหลงน้ําอื่น ๆ เชน สระวายน้ํา แทน อื่น ๆ (ระบุ) ………………………………………………………….

-/ วัน/เดือน/ป กรมโยธาธิการและผังเมือง

113 of 202

11

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

วัน/เดือน/ป ที่ตรวจสอบ........................................ชวงเวลาที่ตรวจสอบ..................................................

รูปถายอาคารในวัน เวลาที่ตรวจสอบ

-/1.2 ชื่อเจาของ กรมโยธาธิการและผังเมือง

114 of 202

12

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

1.2 ชื่อเจาของอาคาร ผูครอบครองอาคาร และผูออกแบบอาคาร 1.2.1 เจาของอาคาร ชื่อ……………………………………………………………………………………….………… สถานที่ติดตอเลขที่…………..หมูที่..............ตรอก/ซอย..................................................................... ถนน..…………………………ตําบล/แขวง………………….อําเภอ/เขต……..……………….………. จังหวัด………………………...รหัสไปรษณีย……………….โทรศัพท……..…...……………………. โทรสาร……………………… อีเมล..........................................................................................................

1.2.2 ผูครอบครองอาคาร ชื่อ……………………………………………………………………………………………….. สถานที่ติดตอเลขที่…………..หมูที่..............ตรอก/ซอย................................................................ ถนน..…………………………ตําบล/แขวง………………….อําเภอ/เขต……..……………….………. จังหวัด………………………...รหัสไปรษณีย……………….โทรศัพท……..…...……………………. โทรสาร……………………… อีเมล............................................................................................

1.2.3 ผูออกแบบดานสถาปตยกรรม ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที่...................................

1.2.4 ผูออกแบบดานวิศวกรรมโครงสราง ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที่...................................

1.2.5 ผูออกแบบดานวิศวกรรมเครื่องกล ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที่..................................

-/1.2.6 ผูออกแบบ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

115 of 202

13

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

1.2.6 ผูออกแบบดานวิศวกรรมไฟฟา ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที่...................................

1.2.7 ผูออกแบบดานวิศวกรรมสุขาภิบาล ชื่อ……………………………………………….ใบอนุญาตทะเบียนเลขที่..................................

1.3 ประเภทของอาคารและขอมูลสิ่งกอสราง (สามารถระบุมากกวา 1 ขอได) 1.3.1 ประเภทของอาคาร อาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษ อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร โรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรม ที่มีจํานวนหองพักตั้งแต 80 หองขึ้นไป สถานบริการตามกฎหมายวาดวยสถานบริการ ที่มีพื้นที่ตั้งแต 200 ตารางเมตรขึ้นไป อาคารชุด หรือ อาคารอยูอาศัยรวมที่มีพื้นที่ตั้งแต 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป โรงงานตามกฎหมายวาดวยโรงงานที่มีความสูงมากกวา 1 ชั้น และมีพื้นที่ใชสอย ตั้งแต 5,000 ตารางเมตรขึ้นไป ปายที่มีความสูงจากฐานรากตั้งแต 15 เมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่ตั้งแต 50 ตารางเมตรขึ้นไป อื่น ๆ (ระบุ) .……………………………………………………………………….

1.3.2 ประเภทอาคารตามลักษณะโครงสราง (ระบุ)……………………………………… …………….………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….

-/ขอมูลอาคาร กรมโยธาธิการและผังเมือง

116 of 202

14

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบอาคาร

1.3.3 ขอมูลอาคาร จํานวนชั้นของอาคารเหนือพื้นดิน …………… ชั้น จํานวนชั้นใตดิน ……………ชั้น ถนนเขาสูอาคารกวาง ………………เมตร อื่น ๆ (ระบุ)…………………………………………………………………………….……. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………..

1.4 ลักษณะการใชงานหรือการประกอบกิจกรรมของอาคาร ตามที่ไดรับอนุญาตใหใชเปน........................................................................................................ การใชงานปจจุบันใชเปน...............................................................................................................

1.5 การเก็บรักษาประเภทของวัตถุหรือเชื้อเพลิงที่อาจเปนอันตราย วัตถุติดไฟ ประเภท……………..ปริมาณ……………สถานที่เก็บ……………………. วัตถุอันตราย ประเภท……………..ปริมาณ……………สถานที่เก็บ……………………. วัตถุเชื้อเพลิง ประเภท…………......ปริมาณ……………สถานที่เก็บ……………………. น้ํามันเชื้อเพลิง ประเภท………….….ปริมาณ……………สถานที่เก็บ……………………. กาซ ประเภท……………..ปริมาณ……………สถานที่เก็บ……………………. สารเคมี ประเภท……………..ปริมาณ……………สถานที่เก็บ……………………. อื่น ๆ (ระบุ) …………………..……………….………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

117 of 202

15 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สวนที่ 2 ผลการตรวจสอบอาคารในดานความปลอดภัยตามกฎหมาย สวนที่ 2 เปนการตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําของกฎหมายที่กําหนดไวในกฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ที่ใชบังคับอยูในปจจุบัน เนื่องจากอาคารที่เขาขายตองตรวจสอบมีหลายประเภท และมีขอกําหนดในดานความปลอดภัยที่ เขมงวดแตกตางกัน ซึ่งรายการที่กําหนดบางรายการเปนรายการที่กําหนดไวสําหรับอาคารสูง และอาคารขนาด ใหญพิเศษ ดังนั้นในกรณีเปนอาคารประเภทอื่นที่กฎหมายมิไดกําหนดใหมีระบบความปลอดภัยเขมงวด เชนเดียวกับอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ใหผูตรวจสอบระบุในหมายเหตุทายรายการที่ตรวจสอบแต ละรายการวากฎหมายไมกําหนดเกณฑบังคับในเรื่องนั้น ๆ ไว หรือกรณีเปนอาคารเกาที่ไดกอสรางไวกอนที่ กฎกระทรวงจะประกาศบังคับใชใหผูตรวจสอบระบุในหมายเหตุวาเปนอาคารที่กอสรางไวกอนกฎกระทรวง ในเรื่องนั้น ๆ จะประกาศบังคับใช

กรมโยธาธิการและผังเมือง

118 of 202

16 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

1. อาคารสูง และอาคารขนาดใหญพิเศษที่กอสรางหลังการบังคับใชกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 ( พ.ศ.2535 ) ฯ 1.1 ระบบหลัก 1.1.1 บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ มี จํานวน …….. บันได

สามารถใชออกสูภายนอกอาคารไดสะดวก มีอุปสรรคกีดขวาง

ไมมี ขอเสนอแนะ................................................................................................................ .....................................................................................................................................

ทางหนีไฟ มี จํานวน …….....ทาง

สามารถใชออกสูภายนอกอาคารไดสะดวก มีอุปสรรคกีดขวาง

ไมมี ขอเสนอแนะ..................................................................................................

...................................................................................................................... รายการที่ตรวจสอบ

มี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ ไมมี ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

หมายเหตุ

(1 ) อาคารสูงตองมีบันไดหนีไฟจากชั้นสูงสุด หรือ ดาดฟาสูพื้นดิน อยางนอย 2 บันได และมีระยะ หางของแตละบันไดไมเกิน 60 เมตร เมื่อวัดตาม แนวทางเดิน (2 ) บันไดของอาคารสูงตองตั้งอยูในที่ที่บุคคลไมวาจะ อยูใน ณ จุดใดของอาคาร สามารถมาถึงบันไดหนี ไฟไดสะดวก

กรมโยธาธิการและผังเมือง

119 of 202

17 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

รายการที่ตรวจสอบ

มี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ ไมมี ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

หมายเหตุ

(3 ) ประตูหนีไฟทําดวยวัสดุทนไฟเปนบานเปดผลัก ออกสูภายนอกพรอมติดตั้งอุปกรณชนิดที่ บังคับใหบานประตูปดไดเองและสามารถเปด ออกไดโดยสะดวกตลอดเวลา (4) บันไดหนีไฟของอาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษ ตองทําดวยวัสดุทนไฟ และไมผุกรอน (เชน คอนกรีตเสริมเหล็ก) และไมเปนแบบบันไดเวียน (5 ) บันไดหนีไฟของอาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษ ตองมีราวบันไดอยางนอยหนึ่งดาน (6 ) บันไดหนีไฟของอาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษ สวนที่อยูภายนอกอาคารตองมีผนังดานที่บันได พาดผานเปนผนังกันไฟ (7 ) บันไดหนีไฟที่อยูภายในอาคารตองมีอากาศถายเท จากภายนอกอาคารได หรื อมี ระบบอั ดอากาศในช อง บันไดหนีไฟที่ทํางานไดโดยอัตโนมัติ เมื่อเกิดเพลิงไหม (8 ) บันไดหนีไฟที่อยูภายในอาคารตองมีผนังกันไฟ โดยรอบ และตองมีแสงสวางจากระบบไฟฟา ฉุกเฉินใหมองเห็นชองทางได ขณะเกิดเพลิงไหม (9 ) มีปายบอกชั้น ปายบอกทางหนีไฟที่ดานในและ ดานนอกของประตูหนีไฟทุกชั้นดวยตัวอักษรที่ สามารถมองเห็นไดชัดเจน ตัวอักษรขนาดไมเล็ก กวา10 ซม. (10 ) ทางออกสุดทายของบันไดหนีไฟ ตองออกสู บริเวณที่ปลอดภัยหรือออกสูภายนอก (11 ) ตองไมมีสิ่งกีดขวางเสนทางหนีไฟที่จะไปสู บันไดหนีไฟ กรมโยธาธิการและผังเมือง

120 of 202

18 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม …………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………..

1.1.2 ปายบอกทางหนีไฟ และเครื่องหมายแสดงทางออกฉุกเฉิน มี ใชงานไดดี มองเห็นไดชัดเจน ไมเหมาะสม ควรปรับปรุงแกไข.............................................................. ไมมี ขอพิจารณาเพิม่ เติม ………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

1.1.3 ระบบแจงเหตุเพลิงไหม

รายการที่ตรวจสอบ

มี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ ไมมี หมายเหตุ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

(1 ) ระบบสงสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมชนิดเปลง เสียงที่สามารถใหคนที่อยูในอาคารไดยินหรือ ทราบอยางทั่ว ถึง โดยจะตองติดตั้งทุกชั้น (2 ) อุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมจะตองมีอุปกรณตรวจ จับ ควันไฟหรืออุปกรณตรวจจับความรอนที่เปน ระบบอัตโนมัติโดยจะตองติดตั้งทุกชั้น (3 ) มีอุปกรณแจงเหตุที่ใชมือโดยจะตองติดตั้งทุกชั้น

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….

กรมโยธาธิการและผังเมือง

121 of 202

19 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

1.1.4 ระบบปองกันเพลิงไหม

รายการที่ตรวจสอบ

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ หมายเหตุ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

(1 ) มีเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ขนาดไมนอยกวา 4 กก. (1 เครื่องตอพื้นที่อาคารไมเกิน 1,000 ต.ร.ม.) ทุกระยะไมเกิน 45 เมตร แตไมนอยกวาชั้น ละ 1 เครื่อง (2 ) มีระบบทอยืนเปนโลหะผิวเรียบทาสีน้ํามันสีแดง (3 ) มีตูหัวฉีดน้ําดับเพลิง ทุกชั้น และทุกระยะหางไม เกิน 64 เมตร (4 ) มีถังเก็บน้ําสํารอง เพื่อใชเฉพาะในการดับเพลิงไม นอยกวา 30 นาที (5 ) มีระบบสงน้ํา เพื่อดับเพลิง เชน เครื่องสูบน้ํา ดับเพลิง (6 ) มีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ เชน SPRINKLE SYSTEM หรือระบบอื่นที่เทียบเทาที่สามารถ ทํางานไดดวยตัวเองทันทีเมื่อมีเพลิงไหมในทุกชั้น (7 ) มีหัวรับน้ําดับเพลิงที่ติดตั้งภายนอกอาคาร

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….

กรมโยธาธิการและผังเมือง

122 of 202

20 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

1.1.5 ระบบจายพลังไฟฟาสํารองสําหรับกรณีฉุกเฉิน

รายการที่ตรวจสอบ

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ หมายเหตุ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

(1) จายพลังงานไฟฟาตลอดเวลาที่ใชงานสําหรับ (1.1 ) ลิฟตดับเพลิง (1.2 ) เครื่องสูบน้ําดับเพลิง (1.3 ) หองชวยชีวิตฉุกเฉิน (1.4 ) ระบบสื่อสารเพื่อความปลอดภัยสาธารณะ (1.5 ) กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม ที่จะ ก อ ให เ กิ ด อั น ตรายต อ ชี วิ ต หรื อ สุ ข ภาพอนามั ย เมื่ อ กระแสไฟฟาขัดของ (1.6 ) ระบบแจงเหตุเพลิงไหม (1.7 ) ระบบอัดอากาศและระบบระบายควันไฟ (1.8 ) ระบบแสงสวางฉุกเฉิน (2 ) จายพลังงานไฟฟาเปนเวลาไมนอยกวา 2 ชั่วโมง สําหรับเครื่องหมายแสดงทางออกฉุกเฉิน หองโถง บันได และระบบสัญญาณเตือนไฟไหม ขอพิจารณาเพิม่ เติม .............................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………..

กรมโยธาธิการและผังเมือง

123 of 202

21 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

1.1.6 ระบบลิฟตดับเพลิงสําหรับอาคารสูง รายการที่ตรวจสอบ

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ หมายเหตุ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

(1 ) มีวงจรไฟฟาสํารองและสามารถทํางานไดโดย อัตโนมัติ เมื่อระบบจายไฟฟาปกติหยุดทํางาน (2 )ในสภาวะดับเพลิงลิฟตดับเพลิงจอดไดทุกชั้นของ อาคาร (3 )มีระบบควบคุมพิเศษสําหรับพนักงานดับเพลิงใช ขณะเกิดเพลิงไหมโดยเฉพาะ (4 )หนาลิฟต มีตูสายฉีดน้ําดับเพลิง และหัวตอสายฉีด น้ําดับเพลิงและอุปกรณอื่น ๆ (5 )หนาลิฟต มีผนังหรือประตูที่ทําดวยวัสดุทนไฟปด กั้นมิใหเปลวไฟหรือควันเขาได (6 )ระยะเวลาในการเคลื่อนที่อยางตอเนื่องของลิฟตดับเพลิง ระหวางชั้นลางสุดกับชันบนสุดของอาคารตองไมเกินหนึ่ง นาที (7 )กระแสไฟฟาที่ใชกับลิฟตดับเพลิงตอจากแผงสวิตซ ประธานของอาคาร เปนวงจรที่แยกอิสระจากวงจรทั่วไป (8 )วงจรไฟฟาสํารองสําหรับลิฟตดับเพลิง ตองมีการ ปองกันเพลิงไหมอยางดีพอ (9)ในปลองลิฟต หามติดตั้งทอสายไฟฟา ทอสงน้ํา ทอระบายน้ํา และอุปกรณตาง ๆ ยกเวนแตเปนสวน ประกอบของลิฟต หรือจําเปนสําหรับการทํางาน และการดูแลรักษาลิฟต (10)ลิฟตตองมีระบบและอุปกรณทํางาน ที่ใหความปลอดภัย ดานสวัสดิภาพและสุขภาพของผูโดยสารลิฟต (11) มีคําแนะนําอธิบายการใช การขอความชวยเหลือ การใหความชวยเหลือ และขอหามใชลิฟต

กรมโยธาธิการและผังเมือง

124 of 202

22 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ขอพิจารณาเพิ่มเติม .............................................................................................................. ……………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………..

1.1.7 บริเวณรอบอาคารเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด

รายการที่ตรวจสอบ

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ หมายเหตุ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

(1 ) มีถนนหรือพื้นที่วางปราศจากสิ่งปกคลุมโดยรอบ อาคารกวางไมนอยกวา 6 เมตร (2 ) มีถนนใหรถดับเพลิงสามารถเขาไปถึงตัวอาคาร และออกจากตัวอาคารไดโดยสะดวก ขอพิจารณาเพิ่มเติม ………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………...

กรมโยธาธิการและผังเมือง

125 of 202

23 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

1.1.8 ระบบระบายอากาศในอาคารสูง มีการติดตั้งระบบระบายอากาศ ไมมีการติดตั้งระบบระบายอากาศ

รายการที่ตรวจสอบ

ผลการตรวจสอบตาม เกณฑที่กฎหมายกําหนด มี

หมายเหตุ

ไมมี

(1 ) ระบบทอลมของ วัสดุหุมทอลมและวัสดุบุภายใน ทอลม ระบบปรับภาวะอากาศ เปนวัสดุที่ไมติดไฟ และไมเปนสวนที่ทําใหเกิดควัน เมื่อเกิดเพลิงไหม (2 ) ทอลมสวนที่ติดตั้งผานผนังกันไฟหรือพื้นที่ทําดวย วัสดุทนไฟตองติดตองลิ้นกันไฟที่ปดอยางสนิท โดย อัตโนมัติ (3 )* โถงภายในอาคารที่มีชองเปดทะลุพื้นอาคารตั้งแต สองชั้นขึ้นไปและไมมีผนังปดลอม ตองจัดใหมี ระบบควบคุมการแพรกระจายของควัน * ตามขอกําหนดแหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2540)ฯบังคับใชกับอาคารสูงที่ไดรับอนุญาต ให กอสรางหลังวันที่ 12 พฤศจิกายน 2540 ขอพิจารณาเพิม่ เติม ……………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………….

กรมโยธาธิการและผังเมือง

126 of 202

24 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

1.1.9 ดาดฟาของอาคารสูง รายการที่ตรวจสอบ (1)มีที่วางเพื่อใชเปนทางหนีไฟทางอากาศ ขนาดกวาง ยาวดานละไมนอยกวา 6.00 เมตร

มี

ไมมี

(2) มีที่วางเพื่อใชเปนทางหนีไฟทางอากาศ ขนาดกวาง ยาวดานละไมนอยกวา 10.00 เมตร*

หมายเหตุ สําหรับอาคารสูงที่กอสราง ก อ นวั น ที่ 12 พฤศจิ ก ายน 2540 สําหรับอาคารสูงที่กอสราง หลั ง วั น ที่ 12 พฤศจิ ก ายน 2540

(3 ) มีทางหนีไฟบนชั้นดาดฟานําไปสูบันไดหนีไฟได สะดวกทุกบันได * ตามขอกําหนดแหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2540) ขอพิจารณาเพิม่ เติม ............................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………..

1.2 ระบบเสริม 1.2.1 แบบแปลนแผนผังอาคาร รายการที่ตรวจสอบ (1 ) มีแบบแปลนแผนผังแสดงตําแหนงหองตาง ๆ ที่ติดตั้ง อุปกรณดับเพลิงประตู หรือทางหนีไฟติดตั้งไวที่ บริเวณหองโถง หนาลิฟตทุกแหง ทุกชั้น และบริเวณ ชั้นลางของอาคารและสามารถสังเกตเห็นไดชัดเจน

มี

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิ่มเติม ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

127 of 202

25 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

1.2.2 ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา รายการที่ตรวจสอบ (1 ) มีเสาลอฟา สายลอฟา สายนําลงดิน (ขนาดไมนอยกวา 30 ตารางมิลลิเมตร) และหลักสายดินเชื่อมโยงกันเปน ระบบ

มี

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

1.2.3 ระบบไฟสองสวางสํารอง รายการที่ตรวจสอบ (1) มีระบบไฟสองสวางสํารอง เพื่อใหมีแสงสวางสามารถ มองเห็นชองทางเดินไดขณะเพลิงไหม และมีปายบอก ชั้นและปายบอกทางหนีไฟที่ดานในและดานนอกของ ประตูหนีไฟทุกชั้นดวยตัวอักษรที่สามารถมองเห็นได ชัดเจน

มี

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

128 of 202

26 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

2. อาคารสูง และอาคารขนาดใหญพิเศษที่กอสรางกอนการบังคับใชกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 ( พ.ศ.2535 ) ฯ 2.1 ระบบหลัก 2.1.1 บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ มี จํานวน …….. บันได

สามารถใชออกสูภายนอกอาคารไดสะดวก มีอุปสรรคกีดขวาง

ไมมี ขอเสนอแนะ.......................................................................................... …………………………………………………………………………………….

ทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ มี จํานวน …….. ทาง

สามารถใชออกสูภายนอกอาคารไดสะดวก มีอุปสรรคกีดขวาง

ไมมี ขอเสนอแนะ ............................................................................................................................ ........................................................................................................................................ (ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ รายการที่ตรวจสอบ มี ไมมี หมายเหตุ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได (1) อาคารสูงตั้งแต 4 ชั้นขึ้นไปใหมีบันไดหนีไฟที่ * ไมใชบันไดในแนวดิ่งเพิ่มจากบันไดหลักให เหมาะสมกับพื้นที่ของอาคารแตละชั้น (2) บันไดหนีไฟภายในอาคารตองมีผนังทุกดานโดย * รอบทําดวยวัสดุไมติดไฟ * (3) ชองประตูสูบันไดหนีไฟเปนบานเปดทําดวยวัสดุ ไมติดไฟพรอมติดตั้งอุปกรณชนิดที่บังคับใหบาน ประตูปดไดเอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

129 of 202

27 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

หมายเหตุ * อาคารสูง หรือาอาคารขนาดใหญพิเศษที่กอสรางกอนกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535)ฯ บังคับใช ถาไมมีบันไดหนีไฟ และหากเจาพนักงานทองถิ่นเห็นวามีสภาพอาจไมปอดภัยจากอัคคีภัย เจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารแกไขโดยติดตั้งเพิ่มเติมได ทั้งนี้ ตามมาตรา 46 ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540)ฯ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

2.1.2 ปายบอกทางหนีไฟ และเครื่องหมายแสดงทางออกฉุกเฉิน มี

ใชงานไดดี มองเห็นไดชัดเจน ไมเหมาะสม ควรปรับปรุงแกไข................................................................... ไมมี ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

2.1.3 ระบบแจงเหตุเพลิงไหม

รายการที่ตรวจสอบ (1 ) ระบบสงสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมชนิดเปลง เสียงที่สามารถใหคนที่อยูในอาคารไดยินหรือ ทราบอยางทั่ว ถึง โดยจะตองติดตั้งทุกชั้น (2 ) อุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมจะตองมีอุปกรณตรวจ จับ ควันไฟหรืออุปกรณตรวจจับความรอนที่เปน ระบบอัตโนมัติโดยจะตองติดตั้งทุกชั้น (3 ) มีอุปกรณแจงเหตุที่ใชมือโดยจะตองติดตั้งทุกชั้น

กรมโยธาธิการและผังเมือง

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ หมายเหตุ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได *

*

*

130 of 202

28 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

หมายเหตุ * อาคารตามสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่กอสรางกอนกฎกระทรวงฉบับที่ 33 ( พ.ศ. 2535 ) ฯ บังคับใช ถาไมมีระบบแจงเหตุเพลิงไหม และหากเจาพนักงานทองถิ่นเห็นวามีสภาพอาจไมปลอดภัยจากอัคคีภัย เจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารแกไขโดยติดตั้งเพิ่มเติมได ทั้งนี้ตามมาตรา 46 ประกอบ กฎกระทรวงฉบับที่ 47 ( พ.ศ.2540 ) ฯ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................

2.1.4 ระบบปองกันเพลิงไหม

รายการที่ตรวจสอบ (1 ) มีเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ (1 เครื่องตอพื้นที่ อาคารไมเกิน 1,000 ต.ร.ม.) ทุกระยะไมเกิน 45 เมตร แตไมนอยกวาชั้น ละ 1 เครื่อง

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

หมายเหตุ *

หมายเหตุ * อาคารตามสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่กอสรางกอนกฎกระทรวงฉบับที่ 33 ( พ.ศ.2535 ) ฯ บังคับใช ถาไมมีระบบปองกันเพลิงไหม และหากเจาพนักงานทองถิ่นเห็นวามีสภาพอาจไมปลอดภัยจากอัคคีภัย เจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารแกไขโดยติดตั้งเพิ่มเติมได ทั้งนี้ตามมาตรา 46 ประกอบ กฎกระทรวงฉบับที่ 47 ( พ.ศ.2540 ) ฯ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ ................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

131 of 202

29 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

2.1.5 บริเวณรอบอาคาร

รายการที่ตรวจสอบ

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ หมายเหตุ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

(1 ) มีถนนใหรถดับเพลิงสามารถเขาไปถึงตัวอาคาร และออกจากตัวอาคารไดโดยสะดวก ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ ................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

2.2 ระบบเสริม อาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษ ที่กอสรางกอน กฎกระทรวงฉบับที่ 33 ( พ.ศ.2535 ) ฯ บังคับ ใช หากเจาพนักงานทองถิ่นเห็นวามีสภาพอาจไมปลอดภัยจากอัคคีภัย เจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งใหเจาของหรือ ผูครอบครอง อาคารแกไขโดยติดตั้งเพิ่มเติมได ทั้งนี้ตามมาตรา 46 ประกอบกฎกระทรวงฉบับที่ 47 ( พ.ศ.2540 ) ฯ

2.2.1 แบบแปลนแผนผังอาคาร รายการที่ตรวจสอบ (1 ) มีแบบแปลนแผนผังแสดงตําแหนงหองตาง ๆ ที่ติดตั้ง อุปกรณดับเพลิงประตู หรือทางหนีไฟติดตั้งไวที่ บริเวณหองโถง หนาลิฟตทุกแหง ทุกชั้น และบริเวณ ชั้นลางของอาคารและสามารถสังเกตเห็นไดชัดเจน

มี

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ ................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

132 of 202

30 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

2.2.2 ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา รายการที่ตรวจสอบ (1 ) มีเสาลอฟา สายลอฟา สายนําลงดิน (ขนาดไมนอยกวา 31 ตารางมิลลิเมตร) และหลักสายดินเชื่อมโยงกันเปน ระบบ

มี

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ ................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................

2.2.3 ระบบไฟสองสวางสํารอง รายการที่ตรวจสอบ (1) มีระบบไฟสองสวางสํารอง เพื่อใหมีแสงสวางสามารถ มองเห็นชองทางเดินไดขณะเพลิงไหม และมีปายบอก ชั้นและปายบอกทางหนีไฟที่ดานในและดานนอกของ ประตูหนีไฟทุกชั้นดวยตัวอักษรที่สามารถมองเห็นได ชัดเจน

มี

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ .................................................................................................................................................

................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

133 of 202

31 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3. อาคารทั่วไป (ที่ไมใชอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ) ที่กอสรางหลังการบังคับ ใชกฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537)ฯ และหลังกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543)ฯ 3.1 ระบบหลัก 3.1.1 บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ มี จํานวน …….บันได

สามารถใชออกสูภายนอกอาคารไดสะดวก มีอปุ สรรคกีดขวาง

ไมมี ขอเสนอแนะ................................................................................................. ..................................................................................................................

ทางหนีไฟ มี จํานวน …….บันได

สามารถใชออกสูภายนอกอาคารไดสะดวก มีอุปสรรคกีดขวาง

ไมมี ขอเสนอแนะ.............................................................................................................. ................................................................................................................................. (ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ รายการที่ตรวจสอบ มี ไมมี ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได (1) อาคารที่สูงตั้งแต 4 ชั้นไปและสูงไมเกิน 23 เมตร หรืออาคารที่สูง 3 ชั้น และมีดาดฟาเหนือชั้น ที่ 3 ที่มีพื้นที่เกิน 16 ตารางเมตร นอกจากมีบันไดตาม ปกติแลวตองมีบันไดหนีไฟที่ทําดวยวัสดุทนไฟ อยางนอย 1 แหง และมีทางเดินไปยังบันไดหนีไฟนั้น โดยไมมีสิ่งกีดขวาง

กรมโยธาธิการและผังเมือง

หมายเหตุ

134 of 202

32 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

รายการที่ตรวจสอบ

มี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ ไมมี ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

หมายเหตุ

(2) บันไดหนีไฟลาดชันนอยกวา 60 องศา ยกเวน ตึกแถวและบานแถวที่สูงไมเกิน 4 ชั้น ใหมีความ ลาดชันเกินกวา 60 องศาได และตองมีชานพักบันได ทุกชั้น (3) บันไดหนีไฟ สวนที่อยูภายนอกอาคารตองมี ผนังดานที่บันไดพาดผานเปนกันไฟ (4) บันไดหนีไฟถาทอดไมถึงพื้นชั้นลางของ อาคาร ตองมีบันไดโลหะที่สามารถเลื่อนหรือยืดหรือ หยอนถึงพื้นชั้นลางได (5) บันไดหนีไฟภายในอาคารตองมีผนังทึบ กอสรางดวยวัสดุถาวรทนไฟกั้นโดยรอบ ยกเวน ชองระบายอากาศและประตูหนีไฟ (6) บันไดหนีไฟภายในอาคารตองมีแสงสวาง เพียงพอทั้งกลางวันและกลางคืน (7) ประตูหนีไฟทําดวยวัสดุทนไฟเปนบานเปด ผลักออกสูภายนอกพรอมประตูติดตั้งอุปกรณชนิดที่ บังคับใหบานประตูปดไดเองและสามารถเปดออก ไดโดยสะดวกตลอดเวลา (8) ประตูหรือทางออกสูบันไดหนีไฟตองไมมี ธรณีหรือขอบกั้น (9) พื้นหนาบันไดหนีไฟตองกวางไมนอยกวา ความกวางของบันไดหนีไฟ ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ .................................................................................................................................................

................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

135 of 202

33 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.1.2 ปายบอกทางหนีไฟ และเครื่องหมายแสดงทางออกฉุกเฉิน มี ใชงานไดดี มองเห็นไดชัดเจน ไมเหมาะสม ควรปรับปรุงแกไข............................................................ ไมมี ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ .................................................................................................................................................

................................................................................................................................

3.1.3 ระบบแจงเหตุเพลิงไหม

รายการที่ตรวจสอบ 3.1.3.1 กรณีอาคารสาธารณะ อาคารอยูอาศัยรวม โรงงาน ภัตตาคาร และสํานักงาน (1) ระบบสงสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมชนิด เปลงเสียงที่สามารถใหคนที่อยูในอาคารไดยินหรือ ทราบอยางทั่วถึง โดยจะตองติดตั้งทุกชั้น (2) อุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมจะตองมีอุปกรณ ตรวจจับควันไฟหรืออุปกรณตรวจจับความรอนที่ เปนระบบอัตโนมัติโดยจะตองติดตั้งทุกชั้น (3 ) มีอุปกรณแจงเหตุที่ใชมอื โดยจะตองติดตั้งทุกชั้น

มี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ ไมมี ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

หมายเหตุ

*

*

*

หมายเหตุ * อาคารสาธารณะ อาคารอยูอาศัยรวม โรงงาน ภัตตาคาร และสํานักงาน ถาไมมีระบบแจงเหตุเพลิงไหม และหากเจาพนักงานทองถิ่นเห็นวามีสภาพอาจไมปลอดภัยจากอัคคีภัย เจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งใหเจาของหรือผู ครอบครองอาคารแกไขโดยติดตั้งเพิ่มเติมได ทั้งนี้ ตามมาตรา 46 ประกอบขอ 5 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540)ฯ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ .................................................................................................................................................

................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

136 of 202

34 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

รายการที่ตรวจสอบ

มี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ ไมมี ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

หมายเหตุ

3.1.3.2 กรณีอาคารทั่วไป (1) กรณีเปนหองแถว ตึกแถวหรือบานแฝด ที่สูง ไมเกิน 2 ชั้น ตองมีระบบสงสัญญาณเตือนเพลิงไหม อยางนอย 1 เครื่อง ทุกคูหา (2) กรณีเปนหองแถว ตึกแถว หรือบานแฝด ที่สูงเกิน 2 ชั้น ตองมีระบบสงสัญญาณเตือน เพลิงไหมอยางนอย 1 เครื่อง ทุกชั้น และทุกคูหา (3) กรณีอาคารอื่นนอกจากขอ 2.1 และ 2.2 ที่มี พื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตร ตองมีระบบสงสัญญาณเตือนเพลิงไหม อยางนอย 1 เครื่อง ทุกชั้น (4) อุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมจะตองมีทั้งระบบ อัตโนมัติ และระบบแจงเหตุที่ใชมือ (5) อุปกรณสงสัญญาณเตือนเพลิงไหมสามารถ สงเสียงหรือสงสัญญาณใหคนที่อยูในอาคารไดยิน หรือทราบอยางทั่วถึง ขอพิจารณาเพิม่ เติม ................................................................................................................ .................................................................................................................................................

................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

137 of 202

35 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.1.4 ระบบปองกันเพลิงไหม

รายการที่ตรวจสอบ

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑที่ กฎหมายกําหนด ได ไมได

หมายเหตุ

(1) กรณีเปนหองแถว ตึกแถวหรือบานแฝดที่สูง ไมเกิน 2 ชั้น ตองมีเครื่องดับเพลิงแบบมือถือคูหา ละ 1 เครื่อง (2) กรณีเปนหองแถว ตึกแถวหรือบานแฝด ที่สูง เกิน 2 ชั้น และอาคารอื่น ตองมีเครื่องดับเพลิงแบบ มือถือ 1 เครื่อง ตอพื้นที่อาคารไมเกิน 1,000 ต.ร.ม. ทุกระยไมเกิน 45 เมตร แตไมนอยกวาชั้นละ 1 เครื่อง ขอพิจารณาเพิม่ เติม ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

3.1.5 บริเวณรอบอาคาร

รายการที่ตรวจสอบ

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑที่ หมายเหตุ กฎหมายกําหนด ได ไมได

(1 ) มีถนนใหรถดับเพลิงสามารถเขาไปถึงตัวอาคาร และออกจากตัวอาคารไดโดยสะดวก ขอพิจารณาเพิม่ เติม………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

138 of 202

36 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2 ระบบเสริม อาคารสาธารณะ อาคารอยูอาศัยรวม โรงงาน ภัตตาคาร และสํานักงานหากเจาพนักงานทองถิ่น เห็นวามีสภาพอาจไมปลอดภัยจากอัคคีภัย เจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารแกไขโดย ติดตั้งเพิ่มเติมได ทั้งนี้ ตามมาตรา 46 ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540)ฯ

3.2.1 แบบแปลนแผนผังอาคาร มี รายการที่ตรวจสอบ (1 ) มีแบบแปลนแผนผังแสดงตําแหนงหองตาง ๆ ที่ติดตั้ง อุปกรณดับเพลิงประตู หรือทางหนีไฟติดตั้งไวที่ บริเวณหองโถง หนาลิฟตทุกแหง ทุกชั้น และบริเวณ ชั้นลางของอาคารและสามารถสังเกตเห็นไดชัดเจน

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม…………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

3.2.2 ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา มี รายการที่ตรวจสอบ (1 ) มีเสาลอฟา สายลอฟา สายนําลงดิน (ขนาดไมนอยกวา 31 ตารางมิลลิเมตร) และหลักสายดินเชื่อมโยงกันเปน ระบบ

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม…………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

139 of 202

37 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.3 ระบบไฟสองสวางสํารอง มี รายการที่ตรวจสอบ (1) มีระบบไฟสองสวางสํารอง เพื่อใหมีแสงสวางสามารถ มองเห็นชองทางเดินไดขณะเพลิงไหม และมีปายบอก ชั้นและปายบอกทางหนีไฟที่ดานในและดานนอกของ ประตูหนีไฟทุกชั้นดวยตัวอักษรที่สามารถมองเห็นได ชัดเจน

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิ่มเติม……………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

140 of 202

38 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

4. อาคารทั่วไป (ที่ไมใชอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ) ที่กอสรางกอน กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537)ฯ และกอนกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543)ฯ 4.1 ระบบหลัก 4.1.1 บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ มี จํานวน …….บันได

สามารถใชออกสูภายนอกอาคารไดสะดวก มีอปุ สรรคกีดขวาง

ไมมี ขอเสนอแนะ................................................................................................

.................................................................................................................. ทางหนีไฟ มี จํานวน …….ทาง

สามารถใชออกสูภายนอกอาคารไดสะดวก มีอุปสรรคกีดขวาง

ไมมี

ขอเสนอแนะ................................................................................................

.................................................................................................................. รายการที่ตรวจสอบ (1) อาคารสูงตั้งแต 4 ชั้นขึ้นไป ใหมีบันไดหนีไฟ ที่ไมใชบันไดในแนวดิ่งเพิ่มจากบันไดหลักให เหมาะสมกับพื้นที่ของอาคารแตละชั้น (2) บันไดหนีไฟภายในอาคารตองมีผนังทุกดาน โดยรอบทําดวยวัสดุไมติดไฟ (3) ชองประตูสูบันไดหนีไฟเปนบานเปดทําดวย วัสดุไมติดไฟพรอมติดตั้งอุปกรณชนิดที่บังคับใหบาน ประตูปดไดเอง

กรมโยธาธิการและผังเมือง

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

หมายเหตุ *

* *

141 of 202

39 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

หมายเหตุ * อาคารสาธารณะ อาคารอยูอาศัยรวม โรงงาน ภัตตาคาร และสํานักงาน ถาไมมีบันไดหนีไฟ และหากเจาพนักงานทองถิ่นเห็นวามีสภาพอาจไมปลอดภัยจากอัคคีภัย เจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งใหเจาของหรือ ผูครอบครองอาคารแกไขโดยติดตั้งเพิ่มเติมได ทั้งนี้ ตามมาตรา 46 ประกอบขอ 5 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 47(พ.ศ. 2540)ฯ

ขอพิจารณาเพิ่มเติม ............................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

4.1.2 ปายบอกทางหนีไฟ และเครื่องหมายแสดงทางออกฉุกเฉิน มี ใชงานไดดี มองเห็นไดชัดเจน ไมเหมาะสม ควรปรับปรุงแกไข............................................................ ไมมี ขอพิจารณาเพิ่มเติม ............................................................................................................ ............................................................................................................................................ .................................................................................................................................................

4.1.3 ระบบแจงเหตุเพลิงไหม

รายการที่ตรวจสอบ (1) ระบบสงสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมชนิดเปลง เสียงที่สามารถใหคนที่อยูในอาคารไดยินหรือทราบ อยางทั่วถึง โดยจะตองติดตั้งทุกชั้น (2) อุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมจะตองมีอุปกรณ ตรวจจับควันไฟหรืออุปกรณตรวจจับความรอนที่เปน ระบบอัตโนมัติโดยจะตองติดตั้งทุกชั้น (3 ) มีอุปกรณแจงเหตุที่ใชมอื โดยจะตองติดตั้งทุกชั้น

กรมโยธาธิการและผังเมือง

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑ ที่กฎหมายกําหนด ได ไมได

หมายเหตุ *

*

*

142 of 202

40 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

หมายเหตุ * อาคารสาธารณะ อาคารอยูอาศัยรวม โรงงาน ภัตตาคาร และสํานักงาน ถาไมมีระบบแจงเหตุเพลิงไหม และหากเจาพนักงานทองถิ่นเห็นวามีสภาพอาจไมปลอดภัยจากอัคคีภัย เจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งใหเจาของหรือผู ครอบครองอาคารแกไขโดยติดตั้งเพิ่มเติมได ทั้งนี้ ตามมาตรา 46 ประกอบขอ 5 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540)ฯ

ขอพิจารณาเพิ่มเติม ............................................................................................................ ............................................................................................................................................ ..........................................................................................................................................…….

4.1.4 ระบบปองกันเพลิงไหม

รายการที่ตรวจสอบ (1) มีเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ (1 เครื่องตอพื้นที่ อาคารไมเกิน 1,000 ต.ร.ม.) ทุกระยะไมเกิน 45 เมตร แตไมนอยกวาชั้นละ 1 เครื่อง

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑที่ กฎหมายกําหนด ได ไมได

หมายเหตุ *

หมายเหตุ * อาคารสาธารณะ อาคารอยูอาศัยรวม โรงงาน ภัตตาคาร และสํานักงาน ถาไมมีระบบแจงเหตุเพลิงไหม และหากเจาพนักงานทองถิ่นเห็นวามีสภาพอาจไมปลอดภัยจากอัคคีภัย เจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งใหเจาของหรือผู ครอบครองอาคารแกไขโดยติดตั้งเพิ่มเติมได ทั้งนี้ ตามมาตรา 46 ประกอบขอ 5 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540)ฯ

ขอพิจารณาเพิ่มเติม ............................................................................................................ ............................................................................................................................................ .................................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

143 of 202

41 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

4.1.5 บริเวณรอบอาคาร

รายการที่ตรวจสอบ

มี

ไมมี

(ถามี) ผลการ ตรวจสอบตามเกณฑที่ กฎหมายกําหนด ได

หมายเหตุ

ไมได

(1) มีถนนใหรถดับเพลิงสามารถเขาไปถึงตัวอาคาร และออกจากตัวอาคารไดโดยสะดวก ขอพิจารณาเพิม่ เติม…………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

4.2 ระบบเสริม อาคารสาธารณะ อาคารอยูอาศัยรวม โรงงาน ภัตตาคาร และสํานักงานหากเจาพนักงานทองถิ่น เห็นวามีสภาพอาจไมปลอดภัยจากอัคคีภัย เจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารแกไขโดย ติดตั้งเพิ่มเติมได ทั้งนี้ ตามมาตรา 46 ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540)ฯ

4.2.1 แบบแปลนแผนผังอาคาร รายการที่ตรวจสอบ (1 ) มีแบบแปลนแผนผังแสดงตําแหนงหองตาง ๆ ที่ ติดตั้งอุปกรณดับเพลิงประตู หรือทางหนีไฟติดตั้งไว ที่บริเวณหองโถง หนาลิฟตทุกแหง ทุกชั้น และ บริเวณ ชั้นลางของอาคารและสามารถสังเกตเห็นได ชัดเจน

มี

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม ............................................................................................................... ............................................................................................................................................... ................................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

144 of 202

42 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

4.2.2 ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา รายการที่ตรวจสอบ (1 ) มีเสาลอฟา สายลอฟา สายนําลงดิน (ขนาดไมนอยกวา 32 ตารางมิลลิเมตร) และหลักสายดินเชื่อมโยงกันเปน ระบบ

มี

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม…………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

4.2.3 ระบบไฟสองสวางสํารอง รายการที่ตรวจสอบ (1) มีระบบไฟสองสวางสํารอง เพื่อใหมีแสงสวางสามารถ มองเห็นชองทางเดินไดขณะเพลิงไหม และมีปายบอก ชั้นและปายบอกทางหนีไฟที่ดานในและดานนอกของ ประตูหนีไฟทุกชั้นดวยตัวอักษรที่สามารถมองเห็นได ชัดเจน

มี

ไมมี

หมายเหตุ

ขอพิจารณาเพิม่ เติม………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

145 of 202

43 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สวนที่ 3 ผลการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณตาง ๆ ของอาคาร สวนที่ 3 เปนผลการตรวจสอบสภาพอาคาร และอุปกรณตาง ๆ ของอาคารตามที่ตรวจสอบได ดวยสายตา หรือตรวจพรอมกับใชเครื่องมือวัดพื้นฐาน เชนตลับเมตร เปนตน หรือเครื่องมือชนิดพกพาเทานั้น จะไมรวมถึงการทดสอบที่ใชเครื่องมือพิเศษเฉพาะ การตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร ผูตรวจสอบจะตองพิจารณาตาม หลักเกณฑ หรือมาตรฐานที่ไดกําหนดไวในกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของที่ ใชบังคับอยูในขณะที่มีการกอสรางอาคารนั้น และคํานึงถึงหลักเกณฑ หรือมาตรฐานความปลอดภัยของ สถาบันทางราชการ สภาวิศวกร หรือสภาสถาปนิก เนื่องจากอาคารที่เขาขายตองตรวจสอบมีหลายประเภท และมีขอกําหนดในดานความปลอดภัย ของระบบตาง ๆ ที่เขมงวดแตกตางกัน ซึ่งรายการที่กําหนดบางรายการเปนรายการที่กําหนดไวสําหรับอาคาร สูง และอาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนั้นในกรณีที่เปนอาคารประเภทอื่นที่ไมมีระบบความปลอดภัย เขมงวดเชนเดียวกับอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ หรือกรณีเปนอาคารเกา ใหผูตรวจสอบระบุ ในหมายเหตุทายรายการที่ตรวจสอบแตละรายการใหชัดเจน

กรมโยธาธิการและผังเมือง

146 of 202

44 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.1 การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร 3.1.1 การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงตัวอาคาร ลําดับที่

รายการที่ตรวจสอบ

1

การตอเติมหรือดัดแปลงโครงสราง อาคารเพิ่มจากแบบแปลน (หากระบุ วามีใหบันทึกบริเวณและรายละเอียด ของการตอเติมหรือดัดแปลงอาคาร)

2

การตอเติมหรือดัดแปลงโครงสราง อาคารเพิ่มจากแบบแปลน (หากระบุ วามีใหบันทึกบริเวณและรายละเอียด ของการตอเติมหรือดัดแปลงอาคาร)

มี

ไมมี

บริเวณและรายละเอียดที่มีการตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงตัวอาคาร

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. กรมโยธาธิการและผังเมือง

147 of 202

45 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.1.2 การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร ลําดับที่ รายการที่ตรวจสอบ 1

มี

ไมมี

บริเวณและรายละเอียดที่มีการ เปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกที่มีผล ตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร จากแบบแปลน (หากระบุวา มีใหบันทึก บริเวณและรายละเอียดของการ เปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุก)

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

กรมโยธาธิการและผังเมือง

148 of 202

46 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.1.3 การเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร ลําดับที่ รายการที่ตรวจสอบ 1

มี

ไมมี

บริเวณและรายละเอียดที่มีการ เปลี่ยนสภาพการใชอาคาร

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

การเปลี่ยนสภาพหรือกิจกรรมการใช ที่มีผลตอความมั่นคงแข็งแรงของ อาคารจากแบบแปลน (หากระบุวา มี ใหบันทึกบริเวณและรายละเอียดของ การเปลี่ยนสภาพหรือกิจกรรมการใช อาคาร)

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

149 of 202

47 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.1.4 การเปลี่ยนแปลงวัสดสุกอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคาร ลําดับที่ รายการที่ตรวจสอบ 1

มี

ไมมี

บริเวณและรายละเอียดที่มีการเปลี่ยนแปลง วัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคาร

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

การเปลี่ยนแปลงวัสดุที่มีผลตอความ มั่นคงแข็งแรงของอาคารจากแบบแปลน (หากระบุวามีใหบันทึกและรายละเอียด ของการเปลี่ยนแปลงวัสดุ)

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

150 of 202

48 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.1.5 การชํารุดสึกหรอของอาคาร ลําดับที่ รายการที่ตรวจสอบ 1

มี

ไมมี

บริเวณและรายละเอียดที่มีการชํารุด สึกหรอของอาคาร

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

การชํารุดสึกหรอของอาคารที่มีผลตอ ความปลอดภัยและความมั่นคงแข็งแรง ของอาคาร (หากระบุวามีใหบันทึก และรายละเอียดของการชํารุดสึกหรอ)

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

151 of 202

49 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.1.6 การวิบัติของโครงสรางอาคาร ลําดับที่ รายการที่ตรวจสอบ 1

มี

ไมมี

บริเวณและรายละเอียดที่มีการ วิบัติของโครงสรางอาคาร

ความเห็นของผู

หมายเหตุ

การวิบัติของโครงสรางอาคาร 1.1 หลังคา 1.2 พื้น 1.3 คาน 1.4 เสา 1.5 บันได 1.6 ผนัง (หากระบุวามีใหบันทึกบริเวณและ รายละเอียดของการวิบัติ และตองจัดให มีการตรวจสอบอยางละเอียดพรอม ทํารายงานการตรวจสอบและ ซอมแซม) รารยละเอียดเพิ่มเติม ................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

152 of 202

50 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.1.7 การทรุดตัวของฐานราก ลําดับที่ รายการที่ตรวจสอบ 1

มี

ไมมี

บริเวณและรายละเอียดที่มีการทรุดตัว ของฐานราก

ความเห็นของผู

หมายเหตุ

การทรุดตัวของฐานรากอาคาร (หากระบุวามีใหบันทึกบริวเณและ รายละเอียดของการทรุดตัวของฐานราก และตองจัดใหมีการตรวจสอบ อยางละเอียดพรอมทํารายงาน การตรวจสอบและซอมแซม)

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กรมโยธาธิการและผังเมือง

153 of 202

51 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2 การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร 3.2.1 ระบบบริการและอํานวยความสะดวก 3.2.1.1 ระบบลิฟต มี ลําดับที่ รายการที่ตรวจสอบ ไมมี สวนที่ตองแกไข ความเห็นของผูตรวจสอบ หมายเหตุ ใชได ใชไมได 1. สภาพหองเครื่อง 2. อุปกรณในหองเครื่องขณะไมจายกําลังไฟฟา - ความมั่งคงของแทนรองรับเครื่องลิฟต และลักษณะการวางตําแหนงอุปกรณ - ระดับน้ํามันในชุดเกียรทด - สภาพรอก - สภาพสลิงแขวน - สภาพชุดควบคุมความเร็ว - สภาพสลิงของชุดควบคุมความเร็ว - กลไกสวิตยของชุดควบคุมความเร็ว รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

154 of 202

52 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ลําดับที่ รายการที่ตรวจสอบ 3.

4.

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

อุปกรณในหองเครื่อง ขณะจายกําลังไฟฟา - มอเตอร สภาพการหมุนขับเฟอง - ชุดเกียร - สภาพเชือกลวดแขวน ขณะทํางาน - สภาพการควบคุมความเร็วขณะเคลื่อนที่ - สภาพเบรกขณะทํางาน (เรียบไมเรียบ) - ชุดควบคุม วงจรนิรภัย - ตรวจสอบวงจรไฟฟา - สภาพเบรก (Brake) - สภาพเบรกไฟฟา - สภาพสปริงเบรก - สภาพสวิตซตาง ๆ (หนาสัมผัสทางไฟฟา) - พินเบรก รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

155 of 202

53 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ลําดับ

5.

รายการที่ตรวจสอบ

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

- กลไกควบคุม - สภาพรีเลย - การตอลงดิน - สภาพตูคอนโทรล มีการปองกันที่ดี - การอินเตอรลอกประตู - การอินเตอรลอกประตูลิฟต - ลิมิตสวิตซชั้นบน , ลาง - ลิมิตสวิตซสุดทายบน , ลาง - กลอุปกรณ หยุดลิฟตที่ชั้นจอด - สวิตซฉุกเฉินในตัวลิฟต การตรวจสอบอุปกรณประกอบลิฟต - ปะกับราง - ขุดนํารอง - ระบบไฟฟา รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

156 of 202

54 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ลําดับ 6.

7.

รายการที่ตรวจสอบ

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

การปองกันการกระแทก (Buffer) ตัวลิฟต แบบสปริง แบบน้ํามัน น้ําหนักถวง แบบสปริง แบบน้ํามัน การตรวจสอบประตูลิฟต - กลไกการปด เปด - กลไกล็อคประตู - กลไกเสริมควบคุมการล็อคประตู - ระบบปองกันประตูหนีบ Safety Shoe Photo ray รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

157 of 202

55 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ลําดับ 8. 9. 10.

11.

รายการที่ตรวจสอบ

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

การตรวจสอบลิฟต - การระบายอากาศในตัวลิฟต - ระบบสื่อสารกับภายนอก (Two Way) การตรวจสอบภายนอกปลองลิฟต - สภาพประตูชานพัก - ชองฉุกเฉินเขาปลองลิฟต การตรวจสอบการใชงาน - การทดสอบน้ําหนักบรรทุก 125 % - การทดสอบเครื่องนิรภัย เมื่อน้ําหนัก บรรทุก 100 % (โดยมือหมุน) - เสียงเรียก / กระดิ่งขณะชวยเหลือ - ไฟฉุกเฉิน อื่น ๆ (ถา)………………………………… รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

158 of 202

56 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.1.2 ระบบบันไดเลื่อน ลําดับที่

รายการที่ตรวจสอบ

1. 2. 3. 4.

สภาพทั่วไปของบันไดเลื่อน สวิทซหยุดฉุกเฉิน ปายหรืออุปกรณปองกันอุบัติเหตุ อื่น ๆ (ถามี) ………………………………...

มี ใชได ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

159 of 202

57 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.1.3 ระบบไฟฟา ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1.

แรงสูง (สวนผูใชไฟ) 1.1 สายอากาศ - สภาพเสา - การพาดสาย (สภาพสาย ระยะหยอนยาน) - ระยะหางของสายกับอาคาร ซึ่งกอสราง หรือ ตนไม - การติดตั้งลอฟา - การตอลงดิน

ใชได

มี ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

1.2 สายใตดิน - สภาพสายสวนที่มองเห็นได - จุดตอ , ขั้วสาย - การติดตั้งลอฟา - การตอลงดิน รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กรมโยธาธิการและผังเมือง

160 of 202

58 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

รายการที่ตรวจสอบ

ลําดับ 2.

ใชได

มี ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

หมอแปลง 2.1 หมอแปลง ชนิด [ ] Oil Type [ ] Dry type การติดตั้ง [ ] นั่งราน [ ] แบบแขวน [ ] ลานหมอแปลง [ ] ในหองหมอแปลง

2.2 การตอสายแรงต่ําออกจากหมอแปลง 2.3 การติดตั้งลอฟาแรงสูง (Lightning Arrester) 2.4 การติดตั้งดรอฟเอาทฟวสคัตเอาท 2.5 การประกอบสายดินกับตัวถังหมอแปลงและ ลอฟาแรงสูง 2.6 การตอสายนิวทรัลลงดิน 2.7 สภาพภายนอกหมอแปลง 2.8 อุณหภูมิขั้วตอสาย 2.9 อื่น ๆ : ………………………………… .................................................................... รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. กรมโยธาธิการและผังเมือง

161 of 202

59 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

รายการที่ตรวจสอบ

ลําดับ 3.

ใชได

มี ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูต รวจสอบ

หมายเหตุ

แรงต่ําภายนอกอาคาร 3.1 เสา สายอากาศ และลูกถวย 3.2 การติดตั้งลอฟาแรงต่ํา 3.3 แผงสวิตซตาง ๆ : (ภายนอกอาคาร) 3.3.1 เมนเซอรกิตเบรกเกอร , ฟวสหรือสวิตซ 3.3.2 เซอรกิตเบรกเกอร (Circuit breaker) 3.3.3 การตอลงดิน - สายตอไปยังหลักดิน (Grounding Electrode Conductor) ขนาด…………..ตร.มม. - หลักดิน (Grounding Electrode) ความ ตานทานลงดิน…………………โอหม

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

162 of 202

60 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

รายการที่ตรวจสอบ

ลําดับ

ใชได

มี ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจอบ

หมายเหตุ

3.3.4 สภาพจุดตอของสาย 3.3.5 การประกอบสายดินและสายนิวทรัล 3.4 อื่น ๆ : ………………………………… แรงต่ําภายในอาคาร 4.1 วงจรเมน (Main Circuit) สายเขาเมนสวิตซ (สายจากหมอแปลง) 4. - สายเฟส ชนิด……….ขนาด………ตร.มม. - สายนิวทรัล ชนิด……….ขนาด………ตร.มม. ลักษณะการเดินสาย [ ] รางเคเบิลแบบบันได (Cable Ladder) [ ] ทอรอยสาย (Conduit) [ ] รางเดินสาย (Wire Way) [ ] รางเคเบิล (Cable tray) [ ] ลูกถวยราวยึดสาย (RacK) [ ] อื่น ๆ …………………………………… รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

กรมโยธาธิการและผังเมือง

163 of 202

61 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

รายการที่ตรวจสอบ

ลําดับ

ใชได

มี ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

4.2 แผงสวิตซเมน 4.2.1 เมนเซอรกิตเบรกเกอร , ฟวสหรือสวิตซ 4.2.2 เซอรกิตเบรกเกอร (Circuit breaker) 4.2.3 การตอลงดิน - สายตอไปยังหลักดิน (Grounding Electrode Conductor) ขนาด …………..ตร.มม. - หลักดิน (Grounding Electrode) ความตานทางลงเดิน……………………โอหม 4.2.4 การประกอบสายดินและสายนิวทรัล 4.2.5 สภาพจุดตอของสาย 4.2.6 อุณหภูมิของอุปกรณ 4.2.7 ที่วางเพื่อการปฎิบัติงานที่จุดติดตั้งแผงสวิตซเมน 4.2.8 ปายชื่อและแผนภาพเสนเดียวของแผง สวิตซเมน 4.2.9 อื่น ๆ : …………………………… รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กรมโยธาธิการและผังเมือง

164 of 202

62 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

ใชได

มี ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

4.3 สายปอน (Feeder) 4.3.1 สายปอน ลักษณะการเดินสาย [ ] รางเคเบิลแบบบันได (Cable Ladder) [ ] ทอรอยสาย (Conduit) [ ] รางเดินสาย (Wire Way) [ ] รางเคเบิล (Cable Tray) [ ] ลูกถวยราวยึดสาย (Rack) [ ] อื่น ๆ ………………………………. 4.4 แผงสวิตซยอยตาง ๆ : 4.4.1 เมนเซอรกิตเบรกเกอร , ฟวสหรือสวิตซ 4.4.2 เซอรกิตเบรกเกอร (Circuit breaker) 4.4.3 การตอลงดิน - สายดินของบริภัณฑ (จากแผงสวิตซ ยอยไปยังแผงสวิตซเมน) รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

กรมโยธาธิการและผังเมือง

165 of 202

63 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

รายการที่ตรวจสอบ

ลําดับ

ใชได

มี ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผู ตรวจสอบ

หมายเหตุ

4.4.4 การประกอบสายดินและสายนิวทรัล 4.4.5 สภาพจุดตอของสาย 4.4.6 อุณหภูมิของอุปกรณ 4.4.7 ที่วางเพื่อการปฎิบัติงานที่จุดติดตั้งตูแผง สวิตซยอย 4.4.8 ปายชือ่ และแผนภาพเสนเดียวของแผงสวิตซยอย 4.4.9 อื่น ๆ:…………………………. …………………………………………….. 4.5 วงจรยอย (Branch Circuit) 4.5.1 สายวงจรยอย ลักษณะการเดินสาย [ ] เดินลอยยึดดวยเข็มขัดรัดสาย [ ] ทอรอยสาย (Conduit) [ ] รางเดินสาย (Wire Way) [ ] อื่น ๆ………………………… …………………………………………….. รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. กรมโยธาธิการและผังเมือง

166 of 202

64 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

ใชได

มี ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผู ตรวจสอบ

หมายเหตุ

4.5.2 สายเดินของบริภัณฑ (Equipment Grounding Conductor) 4.5.3 สภาพจุดตอของสาย 4.5.4 อุณหภูมิของอุปกรณ 4.5.5 อื่น ๆ …………………………… …………………………………………….. รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

167 of 202

65 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.1.4 ระบบปรับอากาศ

ระบบปรับอากาศแบบรวม ประเภท ระบบปรับอากาศแบบแยกสวน (Sprit type) ไมมีระบบปรับอากาศ (กรณีไมตองกรอกรายการตรวจสอบ) มี ไมมี สวนที่ตองแกไข ใชได ใชไมได

ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

สภาพทั่วไปของหองเครื่อง สภาพของอุปกรณ และระบบควบคุม ระบบไฟฟาของระบบปรับอากาศ สภาพทั่วไปของหอผึ่งน้ํา (cooling Tower) สภาพน้ําและการรั่วไหล เครื่องทําน้ําเย็น สภาพเครื่องสงลมเย็น (Air Handling Unit) เครื่องสูบน้ําเย็นและ/หรือน้ําระบายความรอน การนําอากาศภายนอกเขามา อื่น ๆ (ถามี)…………………………………..

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

168 of 202

66 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.2 ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม 3.2.2.1 ระบบประปา ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1. 2. 3. 4. 5.

สภาพของถังเก็บน้ําใช สภาพของเครื่องสูบน้ํา ระบบไฟฟาของเครื่องสูบน้ํา ระบบทอและอุปกรณ อื่น ๆ (ถามี)…………………………………..

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

169 of 202

67 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.2.2 ระบบระบายน้ําเสียและระบบบําบัดน้ําเสีย ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1. 2.

สภาพของบอรับน้ําเสียและบอบําบัดน้ําเสีย สภาพอุปกรณและเครื่องจักรของระบบระบาย น้ําเสียและระบบบําบัดน้ําเสีย ประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบไฟฟาของระบบบําบัดน้ําเสีย สภาพของทอระบายน้ําโสโครกทอน้ําเสีย และ ทอระบายอากาศ อื่น ๆ (ถามี)…………………………..

3. 4. 5. 6

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

170 of 202

68 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.2.3 ระบบระบายน้ําฝน ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1. 2.

สภาพของทอ และรางระบายน้ําฝน อื่น ๆ (ถามี)……………………………….. ………………………………………………

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

171 of 202

69 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.2.4 ระบบจัดการมูลฝอย

ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1. 2.

สภาพของหองพักขยะ และการจัดเก็บขยะ อื่น ๆ (ถามี)………………………………….. ………………………………………………

อาคารมีหองพักขยะหรือไม

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี



มี ไมมี เพราะ…………………………………………………………… สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

กรมโยธาธิการและผังเมือง

172 of 202

70 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.2.5 ระบบระบายอากาศ ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1.

ตรวจสอบสภาพทั่วไป การติดตั้งและการใช งานของอุปกรณการระบายอากาศ อื่น ๆ (ถามี)……………………………….. ………………………………………………

2.

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

173 of 202

71 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.2.6 ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1.

สภาพ และการทํางานของระบบปองกันหรือ ควบคุมมลพิษทางอากาศ และเสียง (ถามี) อื่น ๆ (ถามี)……………………………….. ………………………………………………

2.

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

174 of 202

72 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5.

3.2.3 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย 3.2.3.1 ระบบบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ ประเภทของบันไดหนีไฟ ภายนอกอาคาร จํานวน …………………….. บันได ภายในอาคาร จํานวน………………………. บันได ทางหนีไฟ จํานวน………………………… เสนทาง ไปสูบันไดหนีไฟ หรือภายนอกอาคาร มี รายการที่ตรวจสอบ ไมมี สวนที่ตองแกไข ใชได ใชไมได สภาพ ราวจับ และราวกันตก ความสองสวางของแสงไฟบนเสนทางหนีไฟ อุปสรรคกีดขวางตลอดเสนทางจนถึงเสนทาง ออกสูภายนอกอาคาร การปด – เปด ประตูตลอดเสนทาง อื่น ๆ (ถามี)……………………………….. ………………………………………………

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

175 of 202

73 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.3.2 เครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1.

สภาพและการทํางานของเครื่องหมายและไฟ ปายทางออกฉุกเฉิน สภาพและการทํางานของไฟสองสวางฉุกเฉิน อื่น ๆ (ถามี)…………………………… …………………………………………

2. 3.

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

176 of 202

74 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.3.3 ระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควัน ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

สภาพและการทํางานของระบบระบายควัน และระบบควบคุมการแพรกระจายควันบริเวณ ที่เปนโถงโลงในอาคาร (Atrium) สภาพและการทํางานของระบบระบายควัน 2. และระบบควบคุมการแพรกระจายควันและ ระบบควบคุมการแพรกระจายควันบริเวณโถง ลิฟตและชองบันได 2.1 โดยวิธีธรรมชาติ 2.2 โดยวิธีกล การปองกันการแพรกระจายควันของชองวาง 3. ชองเปด แนวนอนและแนวดิ่งระหวางชั้น อื่น ๆ (ถามี)……………………………….. 4. ……………………………………………… รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1.

กรมโยธาธิการและผังเมือง

177 of 202

75 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.3.4 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

เครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง ขนาดของเครื่อง………………….kVA 1.1 สภาพทั่วไปของเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง 1.2 สภาพและความพรอมของแบตเตอรี่ 1.3 สภาพและความพรอมของระบบจายน้าํ มัน เชื้อเพลิงเครื่องยนต และปริมาณน้ํามันสํารอง 1.4 การทํางานของระบบควบคุมทั้งแบบ อัตโนมัติ และแบบใชมือ 1.5 การระบายอากาศของหองเครื่องขณะ เครื่องยนตทํางาน การจายกระแสไฟฟาสําหรับอุปกรณหรือ ระบบในวงจรชวยเหลือชีวิต อื่น ๆ (ถามี)……………………………….. 2. 3. …………………………………………… รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1.

กรมโยธาธิการและผังเมือง

178 of 202

76 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.3.5 ระบบลิฟตดับเพลิง ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รายการที่ตรวจสอบ

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

การตรวจสอบตามเกณฑทั่วไปสําหรับระบบลิฟต สภาพโถงหนาลิฟตดับเพลิงรวมทั้งผนัง ประตู และชองเปดตาง ๆ อุปกรณดับเพลิง ตูสายฉีดน้ําดับเพลิงหรือ หัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงภายในโถงหนาลิฟต ดับเพลิง การปองกันน้ําไหลลงสูชองลิฟต การทํางานของลิฟตดับเพลิง การทํางานของสัญญาณกระตุนจากระบบแจง เหตุเพลิงไหม การทํางานของระบบอัดอากาศ ภายในหองโถง หนาลิฟตดับเพลิง (ถามี) อื่น ๆ (ถามี)……………………………….. ……………………………………………. รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

179 of 202

77 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.3.6 ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม ลําดับ 1.

2.

3.

รายการที่ตรวจสอบ

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหลัก 1.1 แผงควบคุมหลัก ชนิด……………………………………. ตําแหนงที่ติดตั้ง…….………………… 1.2 การเชื่อมตอกับอุปกรณตาง ๆ เพื่อให ทํางานไดหรือทํางานแบบอัตโนมัติขณะ เกิดเพลิงไหม อุปกรณยอยในแตละพื้นที่ 2.1 อุปกรณตรวจจับควัน 2.2 อุปกรณตรวจจับความรอน 2.3 อุปกรณแจงเหตุดวยมือ 2.4 กระดิ่งเตือนภัย อื่น ๆ (ถามี)……………………………….. …………………………………………….

กรมโยธาธิการและผังเมือง

180 of 202

78 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ลําดับ 1.

2.

3.

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.2.3.7 อุปกรณดับเพลิง มี รายการที่ตรวจสอบ ไมมี สวนที่ตองแกไข ความเห็นของผูตรวจสอบ หมายเหตุ ใชได ใชไมได เครื่องดับเพลิงมือถือ ชนิด…………………………………. ขนาด………………………………... จํานวน…………………………เครื่อง การติดตั้ง 2.1 พื้นที่ครอบคลุม 1 เครื่อง ตอ พื้นที่ :………………..ตร.ม. 2.2 ระยะหางระหวางเครื่องไมเกิน 45 เมตร 2.3 จํานวนเครือ่ งตอชั้น : …………..เครื่อง อื่น ๆ (ถามี)……………………………….. ……………………………………………… รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

181 of 202

79 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

ลําดับ 1.

2. 3. 4.

3.2.3.8 ระบบการจายน้ําดับเพลิง เครื่องสูบน้ําดับเพลิง และหัวฉีดน้ําดับเพลิง มี รายการที่ตรวจสอบ ไมมี ใชได ใชไมได อุปกรณหลักของระบบ 1.1 ระบบการจายน้ําดับเพลิง 1.1.1 เครื่องสูบน้ําดับเพลิง (ถามี) ชนิด………………………….. จํานวน…………………………เครื่อง ตําแหนงหองเครื่อง 1.2 สภาพและการทํางานของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง 1.3 ระบบสํารองน้ําดับเพลิง 1.4 ระบบทอยืน ตูดับเพลิงพรอมสายฉีด และหัวจายน้าํ ดับเพลิง การใชงานของสายฉีด และหัวจายน้ําดับเพลิง อื่น ๆ (ถามี)………………………………..

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ….………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

กรมโยธาธิการและผังเมือง

182 of 202

80 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.3.9 ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ ลําดับ

มี

รายการที่ตรวจสอบ ใชได

1. 2. 3.

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

ใชไมได

ระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิงอัตโนมัติ (Sprinkle System) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติดวยสารดับเพลิงพิเศษ (ถามี) อื่น ๆ (ถามี)..... ………………………….. ………………………………………………

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

กรมโยธาธิการและผังเมือง

183 of 202

81 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.3.10 ระบบปองกันฟาผา ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1. 2. 3. 4.

ตัวนําลอฟา ตัวนําตอลงดิน รากสายดิน จุดตอประสานศักย อื่น ๆ ……………………………………….. ………………………………………………

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

กรมโยธาธิการและผังเมือง

184 of 202

82 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.2.3.11 แบบแปลนเพื่อการดับเพลิง ลําดับ

รายการที่ตรวจสอบ

1.

แบบแปลนพื้นทุกชั้นของอาคารอยางนอยตอง แสดงตําแหนงบันไดหนีไฟ ทางหนีไฟ และ อุปกรณเพื่อการดับเพลิง ตําแหนงที่เก็บแบบแปลนที่ปลอดภัย และ สามารถนํามาใชเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม อยูในศูนยสั่งการดับเพลิง ที่ บริเวณ…………………………………. อื่น ๆ ……………………………………. ………………………………………………. อื่น ๆ (ถามี)……..………………………….. ………………………………………………

2.

3.

มี ใชได

ใชไมได

ไมมี

สวนที่ตองแกไข

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

กรมโยธาธิการและผังเมือง

185 of 202

83 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3.3 การตรวจสอบสมรรถนะของระบบ และอุปกรณตาง ๆ เพื่อการอพยพ ลําดับที่ 1 2 3

รายการตรวจสอบ บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ เครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน ระบบแจงสัญญาณเหตุเพลิงไหม

ความเห็นของผูตรวจสอบ

หมายเหตุ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

กรมโยธาธิการและผังเมือง

186 of 202

84 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

3.4 การตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพือ่ ความปลอดภัยในอาคาร ลําดับที่ 1 2 3 4

รายการตรวจสอบ แผนการปองกันและระบบอัคคีภัยในอาคาร แผนการซอมอพยพผูใหอาคาร แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร แผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร

มี

ไมมี

ความเห็นของผูตรวจสอบ

รายละเอียดหรือขอเสนอเพิ่มเติม ...................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................................................................................................

กรมโยธาธิการและผังเมือง

187 of 202

85 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

188 of 202

86 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

189 of 202

87 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สรุปผลการตรวจสอบอาคาร ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร 1.1 การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงตัวอาคาร 1.2 การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร 1.3 การเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร 1.4 การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคาร 1.5 การชํารุดสึกหรอของอาคาร 1.6 การวิบัติของโครงสรางอาคาร 1.7 การทรุดตัวของฐานรากอาคาร

ใชได

ไมได

มีการแกไขแลว

หมายเหตุ

การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของ อาคาร 2.1 ระบบริการและอํานวยความสะดวก 2.1.1 ระบบลิฟต 2.1.2 ระบบบันไดเลื่อน 2.1.3 ระบบไฟฟา 2.1.4 ระบบปรับอากาศ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

190 of 202

88 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สรุปผลการตรวจสอบอาคาร ลําดับที่

รายการตรวจสอบ 2.2 ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม 2.2.1 ระบบประปา 2.2.2 ระบบระบายน้ําเสียและระบบบําบัดน้ําเสีย 2.2.3 ระบบระบายน้ําฝน 2.2.4 ระบบจัดการมูลฝอย 2.2.5 ระบบระบายอากาศ 2.2.6 ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง 2.3 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย 2.3.1 บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ 2.3.2 เครื่องหมายและไฟปายบอกทางออกฉุกเฉิน 2.3.3 ระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควัน 2.3.4 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน 2.3.5 ระบบลิฟตดับเพลิง 2.3.6 ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม 2.3.7 ระบบการติดตั้งอุปกรณดับเพลิง

ใชได

ไมได

มีการแกไขแลว

หมายเหตุ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

191 of 202

89 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

2.3.8 ระบบการจายน้ําดับเพลิง เครื่องสูบน้ําดับเพลิงและ หัวฉีดน้ําดับเพลิง

สรุปผลการตรวจสอบอาคาร ลําดับที่

รายการตรวจสอบ 2.3.9 ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ 2.3.10 ระบบปองกันฟาผา 2.3.11 แบบแปลนเพื่อการดับเพลิง

3

การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณตาง ๆ 3.1 สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ 3.2 สมรรถนะเครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน 3.3 สมรรถนะระบบแจงสัญญาณเหตุเพลิงไหม

4

การตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยใน อาคาร 4.1 แผนการปองกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร 4.2 แผนการซอมอพยพผูใชอาคาร 4.3 แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร

ใชได

ไมได

มีการแกไขแลว

หมายเหตุ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

192 of 202

90 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

4.4 แผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร

กรมโยธาธิการและผังเมือง

193 of 202

91 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สรุปความเห็นของผูตรวจสอบอาคาร……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………… เจาของอาคารผูจัดการ/นิติบุคคลอาคารชุด/ผู ครอบครองอาคาร (………………………………)

หรือผูรับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรโยธาผูตรวจสอบระบบโครงสราง (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรไฟฟาผูตรวจสอบระบบไฟฟา (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรเครื่องกลผูตรวจสอบระบบเครื่องกล (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรผูตรวจสอบระบบสุขาภิบาล (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… สถาปนิกผูตรวจสอบอาคาร (ถามี) (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… ผูตรวจสอบอาคาร (………………………………) เลขที่ทะเบียนผูตรวจสอบ…………………………. วันที่………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

194 of 202

85 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สวนที่ 4 สรุปผลการตรวจสอบอาคาร สวนที่ 4 เปนสรุปผลการตรวจสอบตัวอาคาร ระบบและอุปกรณตาง ๆ ของอาคาร รวมทั้ง การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยจากอัคคีภัย ของอาคาร ตามที่ผูตรวจสอบอาคารไดตรวจสอบดวยสายตา หรือตรวจพรอมกับใชเครื่องมือวัดพื้นฐาน เชนตลับเมตร เปนตน หรือเครื่องมือชนิดพกพาเทานั้น ไมรวมถึงการทดสอบที่ใชเครื่องมือพิเศษเฉพาะ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

195 of 202

89 รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สรุปความเห็นของผูตรวจสอบอาคาร……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………… เจาของอาคารผูจัดการ/นิติบุคคลอาคารชุด/ผู ครอบครองอาคาร (………………………………)

หรือผูรับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรโยธาผูตรวจสอบระบบโครงสราง (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรไฟฟาผูตรวจสอบระบบไฟฟา (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรเครื่องกลผูตรวจสอบระบบเครื่องกล (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรผูตรวจสอบระบบสุขาภิบาล (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… สถาปนิกผูตรวจสอบอาคาร (ถามี) (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… ผูตรวจสอบอาคาร (………………………………) เลขที่ทะเบียนผูตรวจสอบ…………………………. วันที่………………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

196 of 202

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

197 of 202

86

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สรุปผลการตรวจสอบอาคาร ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร 1.1 การตอเติม ดัดแปลง ปรับปรุงตัวอาคาร 1.2 การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร 1.3 การเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร 1.4 การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคาร 1.5 การชํารุดสึกหรอของอาคาร 1.6 การวิบัติของโครงสรางอาคาร 1.7 การทรุดตัวของฐานรากอาคาร

ใชได

ไมได

มีการแกไขแลว

หมายเหตุ

การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของ อาคาร 2.1 ระบบริการและอํานวยความสะดวก 2.1.1 ระบบลิฟต 2.1.2 ระบบบันไดเลื่อน 2.1.3 ระบบไฟฟา 2.1.4 ระบบปรับอากาศ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

198 of 202

87

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สรุปผลการตรวจสอบอาคาร ลําดับที่

รายการตรวจสอบ 2.2 ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม 2.2.1 ระบบประปา 2.2.2 ระบบระบายน้ําเสียและระบบบําบัดน้ําเสีย 2.2.3 ระบบระบายน้ําฝน 2.2.4 ระบบจัดการมูลฝอย 2.2.5 ระบบระบายอากาศ 2.2.6 ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง 2.3 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย 2.3.1 บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ 2.3.2 เครื่องหมายและไฟปายบอกทางออกฉุกเฉิน 2.3.3 ระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควัน 2.3.4 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน 2.3.5 ระบบลิฟตดับเพลิง 2.3.6 ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม 2.3.7 ระบบการติดตั้งอุปกรณดับเพลิง 2.3.8 ระบบการจายน้ําดับเพลิง เครื่องสูบน้ําดับเพลิงและ หัวฉีดน้ําดับเพลิง

กรมโยธาธิการและผังเมือง

ใชได

ไมได

มีการแกไขแลว

หมายเหตุ

199 of 202

88

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สรุปผลการตรวจสอบอาคาร ลําดับที่

รายการตรวจสอบ 2.3.9 ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ 2.3.10 ระบบปองกันฟาผา 2.3.11 แบบแปลนเพื่อการดับเพลิง

3

การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณตาง ๆ 3.1 สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ 3.2 สมรรถนะเครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน 3.3 สมรรถนะระบบแจงสัญญาณเหตุเพลิงไหม

4

การตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยใน อาคาร 4.1 แผนการปองกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร 4.2 แผนการซอมอพยพผูใชอาคาร 4.3 แผนการบริหารจัดการเกีย่ วกับความปลอดภัยในอาคาร 4.4 แผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร

กรมโยธาธิการและผังเมือง

ใชได

ไมได

มีการแกไขแลว

หมายเหตุ

200 of 202

89

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

กรมโยธาธิการและผังเมือง

201 of 202

90

รายละเอียดการตรวจสอบอาคารสําหรับผูตรวจสอบ

สรุปความเห็นของผูต รวจสอบอาคาร……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………… เจาของอาคารผูจัดการ/นิติบคุ คลอาคารชุด/ผู ครอบครองอาคาร (………………………………)

หรือผูรับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรโยธาผูตรวจสอบระบบโครงสราง (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรไฟฟาผูต รวจสอบระบบไฟฟา (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรเครื่องกลผูตรวจสอบระบบเครื่องกล (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… วิศวกรผูตรวจสอบระบบสุขาภิบาล (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… สถาปนิกผูตรวจสอบอาคาร (ถามี) (………………………………)

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเลขทะเบียน……….

ลงชื่อ………………………………………… ผูตรวจสอบอาคาร (………………………………) เลขที่ทะเบียนผูตรวจสอบ…………………………. วันที… ่ ……………………

กรมโยธาธิการและผังเมือง

202 of 202

More Documents from "Surapoll K."

November 2019 13
April 2020 10
November 2019 19
November 2019 9
April 2020 12