รายงานวิจัย การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับค่าทางโลหิตวิทยาโคนมเพศเมียของสมาชิกสหกรณ์โคนมไทยเดนมาร์ก ห้วยสัตว์ใหญ่ จำกัด

  • Uploaded by: Chai Yawat
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View รายงานวิจัย การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับค่าทางโลหิตวิทยาโคนมเพศเมียของสมาชิกสหกรณ์โคนมไทยเดนมาร์ก ห้วยสัตว์ใหญ่ จำกัด as PDF for free.

More details

  • Words: 1,730
  • Pages: 12
ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5

การศึกษาเบื้องตนเกี่ยวกับคาทางโลหิตวิทยาโคนมเพศเมียของสมาชิก สหกรณโคนมไทยเดนมารก หวยสัตวใหญ จํากัด สุรวัฒน ชะลอสันติสกุล1# จรูญ ศรีออนเลิศ1 จารุณี เกษรพิกุล1

บทคัดยอ การศึกษาทางคาโลหิตวิทยาของโคนมที่มีสุขภาพดี เพศเมีย จํานวน 50 ตัวของเกษตรกร ผูเลี้ยงโคนมรายยอยที่เปนสมาชิกสหกรณโคนมไทย-เดนมารก หวยสัตวใหญ จํากัด ผลการศึกษา พบวาจํานวนเม็ดเลือดแดง มีคาเฉลี่ยเทากับ 5.32 x 106 เซลลตอมิลลิลิตร มีพิสัยคือ 2.88 - 8.38 x 106 เซลลตอมิลลิลิตร จํานวนเม็ดเลือดขาว มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.014 x 106 เซลลตอมิลลิลิตร มีพิสัยเทากับ 0.002 – 0.034 x 106 เซลลตอมิลลิลิตร การศึกษาชนิดของเซลลเม็ดเลือดขาว พบ ชนิดแบนดนิวโทรฟล (Band Neutrophil) เฉลี่ย 0.5% เซ็กเม็นตนิวโทรฟล (Segmenter Neutrophil) เฉลี่ย 24.4% อิโอซิโนฟล (Eosinophil) เฉลี่ย 4.6% แบโซฟล (Basophil) เฉลี่ย 1.0% ลิมโฟไซต (Lymphocyte) เฉลี่ย 65.1% และโมโนไซต (Monocyte) เฉลี่ย 4.4% ตามลําดับ

คําสําคัญ : โคนม, คาโลหิตวิทยา

43

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5 1 #

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ผูรับผิดชอบบทความ

Preliminary Studies on Hematological Profile of Dairy Cow of Huay Sat Yai Thai-Denmark Dairy Cooperative Limited’s Members Surawat Chalorsuntisakul1# Jaroon Sri-Onlerk1 Charunee Kasornpikul1

Hematological Profile study of 50 healthy dairy cows was RBC 5.32 x 106cell/ml (2.88 - 8.38 x 106cell/ml). WBC 0.014x106 cell/ml (0.0024 – 0.034 x 106 cell/ml.), Band Neutrophil is 0.5%. , Segmenter Neutrophil 24.4%. , Eosinophil 4.6%. , Basophil 1.0%. , Lymphocyte 65.1%. and Monocyte 4.4%

Keyword : Dairy Cow, Hematology

44

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5 1

Faculty of Animal Science and Agricultural Technology, Silpakorn University # Corresponding Author

บทนํา โคนมเปนสัตวเลี้ยงที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลายในประเทศไทย เนื่องจากรัฐบาลให การสงเสริมการเลี้ยงโคนมอยางจริงจัง ผลผลิตที่ไดจากโคนมที่มีความสําคัญและมีคุณคาทาง โภชนาการสู ง คื อ น้ํ า นม โคนมจะให น้ํ า นมที่มี คุ ณ ภาพ โคนมจํ า เป น ต อ งมี สุ ข ภาพดี วิ ธี ก าร ตรวจสอบสุ ข ภาพโคนมที่ มี ก ารตรวจสอบกั น อย า งกว า งขวาง คื อ การตรวจค า โลหิ ต วิ ท ยา (Hematology) ซึ่งเปนวิธีที่งาย สะดวกและสามารถประมวลผลไดรวดเร็ว อุปกรณและวิธีการ สัตวทดลอง โคนมเพศเมียในระยะใหนมที่ 3 ถึง 5 ที่มีสุขภาพดี ที่เลี้ยงในเขตพื้นที่ของ ต.ปาเด็ง อ.แกงกระจาน จ.เพชรบุรี และ ต.หวยสัตวใหญ อ.หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ จํานวน 50 ตัว วิธีการทดลอง 1. ทําการซักประวัติและตรวจคัดกรองเบื้องตนเพื่อจําแนกเฉพาะโคเพศเมียในระยะใหนม ที่ 3 ถึง 5 ที่มีสุขภาพดีเทานั้น 2. เก็บเลือดจากบริเวณเสนเลือดดําที่บริเวณหาง (Cocygeal vein) จากนัน้ เก็บเลือดไวใน หลอดเก็บเลือด ที่มีสารปองกันการแข็งตัวของเลือดชนิด EDTA ผลการทดลอง จากการศึ ก ษาค า โลหิ ต วิ ท ยาของโคนมเพศเมีย จากตั ว อย า งเลื อ ดของโคนมเพศเมี ย จํานวน 50 ตัวอยาง จากการนับเม็ดเลือดแดง(Red blood cell count) พบวามีคาเฉลี่ยประมาณ 5.32 x 106 cell/ul พิสัยในชวง 2.88-8.38 และจํานวนเม็ดเลือดขาว(White blood cell count) พบวามีคาเฉลี่ยประมาณ 1.38 x 104 cell/ml พิสัยในชวง 2.40-3.35 x 103 การจําแนกเม็ดเลือดชนิดตางๆโดยคิดจาก 100% ของจํานวนเม็ดเลือดที่นับไดมีคาตางๆ ดังนี้ เม็ดเลือดแดงมีคาเฉลี่ยที่ไดจากการทดลองมีคา 5.32 x 1012 cell/l สําหรับคาเฉลี่ยของเม็ด เลือดขาวที่ไดจากการทดลอง คือพบวามีคาเฉลี่ย 1.38 x 104 cell/mm2 ในการจําแนกเม็ดเลือด ขาวแตละชนิดสามารถจําแนกออกไดเปน 6 ประเภท คือ Band neutrophil, Segmented

45

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5

neutrophil, Eosinophil, Basophil, Lymphocyte และ Monocyte. จากการนับจํานวนเม็ดเลือด ขาวโดยคิดจาก 100% พบวาเม็ดเลือดขาวแตละชนิดมีคาที่ไดจากผลการทดลองดังนี้ Band neutrophil มีคาที่ไดจากผลการทดลอง คือ 0.5% Segmented neutrophil มีคาที่ไดจากผลการ ทดลอง คือ 24.4% Eosinophil มีคาที่ไดจากผลการทดลอง คือ 4.6% Monocyte มีคาที่ไดจาก ผลการทดลอง คือ 4.4% Basophil มีคาที่ไดจากผลการทดลอง คือ 1.0% Lymphocyte มีคาที่ได จากผลการทดลอง คือ 65.1% ดังแสดงผลสรุปในตารางขางลางนี้ ตารางที่ 1 : การหาคาเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว ( n=50 ) ดัชนี คาเฉลี่ย RBC count (x106เซลล/มิลลิลิตร) 5.32 WBC count (เซลล/มิลลิลติ ร) 13,815.54

พิสัย 2.88 - 8.38 2,400 - 33,500

ตารางที่ 2 : คาเม็ดเลือดขาวที่จําแนกเปนชนิดตางๆ ( n=50 ) ดัชนี (%cell/ul) ผลการทดลอง Band neutrophil 0.5 Segment neutrophil 24.4 Eosinophil 4.6 Monocyte 4.4 Basophil 1.0 Lymphocyte 65.0 กราฟที่ 1 การนับเม็ดเลือดขาวแตละชนิด (n=50) 70 60 Band Neutrophils

50

Segmented Neutrophils

40

Eosinophils

30

Lymphocyte

20

Monocyte

10

Basophils

0

คาเฉลี่ยเมื่อเทียบจาก 100 เซลล

46

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5

ภาพแสดงลักษณะทางกายภาพของเม็ดเลือดชนิดตางๆ ภาพที่ 1 เม็ดเลือดแดงมีลักษณะกลม มีเสนผาน ศูนยกลางประมาณ 7.5 ไมโครเมตร ตรงกลางเวาเขา หากันทั้งสองดาน (biconcave)

ภาพที่ 2 Eosinophil มีขนาด 10-15 ไมโครเมตร นิวเคลียสติดสีมวงน้ําเงิน มีแกรนูลขนาดเล็ก กลม ติดสี แดง

ไมโครเมตร นิวเคลียสของนิ

ภาพที่ 3 Basophil มีขนาดเซลล 11-14 นิวเคลียสติดสีมวงแดง มีรูปรางคลาย โทรฟล

ภาพที่ 4 Band neutrophil นิวเคลียสมีลักษณะติด สีมวงเขม โดยแยกจาก Segmented neutrophil โดยดู ที่นิวเคลียสเปนรูปตัวเอส ( S ) หรือตัวยู ( U )

47

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5

ภาพที่ 5 Segmented neutrophil มีขนาดเซลล 1015 ไมโครเมตร นิวเคลียสติดสีมวงเขม

ภาพที่ 6 Monocyte มี ข นาดเซลล 13-18 ไมโครเมตร นิวเคลียสมีรูปรางไมแนนอน

ภาพที่ 7 Lymphocyte เปนเซลลสวนใหญที่พบใน กระแสโลหิตของโคเฉลี่ย 58 % โดยจะพบลิมโฟซัยต 3 ขนาด คือ 1. ขนาดเล็ก 7 -10 ไมโครเมตร 2 .ขนาดกลาง 10-12 ไมโครเมตร 3.ขนาดใหญ 13-15 ไมโครเมตร

สรุปและวิจารณ การหาคาเม็ดเลือดแดง (RBC Count) จากการทดลองพบวาเม็ดเลือดแดงมีคา 5.32 x 1012 cell/l เมื่อเปรียบเทียบกับศิริชัย (2528)ซึ่งพบวาคาเม็ดเลือดแดงมีคา 5.61 x 1012 cell/l ซึ่งใหผลใกลเคียงกัน วิน (ม.ม.ป.)ทําการ ทดลองหาคาเม็ดเลือดแดงในโคพบวาคาเม็ดเลือดแดงในโคมีคา 7.0 x 1012 cell/l ซึ่งมีความ 48

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5

แตกตางกันเล็กนอย จากการศึกษา Silva, et al. (1999) รายงานคาเฉลี่ยของเม็ดเลือดแดงในโค วามีคา ประมาณ 5.0-10.0 x 1012 cell/l และ Kumar, et al. (2000) พบวาคาเฉลีย่ เม็ดเลือดแดง ในโคมีคา 5.12-9.48 x 1012 cell/l เมื่อเปรียบเทียบจากคาทีท่ ําการทดลองคือ 5.32 x 1012 cell/l พบวามีความแตกตางกันเพียงเล็กนอยตางกันประมาณ 2.0-3.0 cell/l นอกจากนี้ Pospis, et al. (1985) รายงานคาเฉลี่ยของเม็ดเลือดแดงในกระบือวามีคาประมาณ 9.76 x 1012 cell/l ซึ่งคาที่ได มีปริมาณไมแตกตางกันมากนัก การหาคาเม็ดเลือดขาว (WBC Count) จากการทดลองพบวาเม็ดเลือดขาวมีคา 13,815.54 cell/mm2 เมื่อเปรียบเทียบกับวิน (ม.ม.ป.) และ Silva, et al. (1999) ซึ่งพบวาคาเม็ดเลือดขาวมีคา 4,000-12,000 cells/ mm2 ซึ่งมี ความแตกตางกันเพียงเล็กนอย ศิริชัย (2528) ทําการทดลองหาคาเม็ดเลือดขาวในโคพบวามีคา เทากับ3,100-10,060 cell/mm2 นอกจากนี้ Pospis, et al. (1985) รายงานคาเฉลี่ยของเม็ดเลือด ขาวในกระบือพบวามีคาประมาณ 5,100-12,400 cell/mm2 ซึ่งคาที่ไดมีปริมาณไมแตกตางกัน มาก ลักษณะเม็ดเลือดแดงที่พบจะมีลักษณะเวาสองดาน มีขนาดเสนผานศูนยกลางเฉลี่ย 5.8 ไมโครเมตร เม็ดเลือดขาวมีการแยกชนิดของเม็ดเลือดขาวออกเปน Band neutrophil , Segmented neutrophil , Eosinophil , Basophil , Lymphocyte , Monocyte การหาคาเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทรฟล จากการทดลองพบวาเม็ดเลือดขาวมีคา 13,815.54 cell/mm2 เม็ดเลือดขาวชนิด Neutrophil แบงออกเปน 2 ชนิด คือ Band neutrophil และ Segmented neutrophil โดยมีคาที่ได จากการทดลองพบวา Band neutrophil มีคา 0.5% เมื่อเปรียบเทียบกับ Jain (1993) และ สถาพร และเสาวนิต (2531) พบวาคาเม็ดเลือดขาวชนิด Band neutrophil มีคา 0.5% ซึ่งมีความ สอดคลองกัน ศิริชัย (2528) และ Silva (1999)ทําการทดลองพบวาคาเม็ดเลือดแดงในโคมีคาอยู ใชวง 0.0-4.0% ซึ่งมีคาสอดคลองกับที่ที่ไดจกการทําการทดลองคือ 0.5% สําหรับ Segmented neutrophil พบวามีคาที่ไดจากการทดลองเทากับ 24.4% เมื่อเปรียบเทียบกับ Jain (1993) พบวา คาเม็ดเลือดขาวชนิด Segmented neutrophil มีคา 28.0% ซึ่งมีความแตกตางกัน Silva (1999) ทําการทดลองหาคาเม็ดเลือดขาวชนิด Segmented neutrophil ในโค พบวามีคาอยูในชวง 15.045.0 % และเมื่อนําผลการทดลองไปเปรียบเทียบกับสถาพรและเสาวนิต (2531) ซึ่งพบวาคาเม็ด เลือดขาวชนิด Segmented neutrophil มีคาอยูที่ 25.7% ซึ่งมีความแตกตางกับผลการทดลองที่ได เพี ย งเล็ ก น อ ย และศิ ริ ชั ย (2528)ทํ า การทดลองพบว า ค า เม็ ด เลื อ ดขาวชนิ ด Segmented 49

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5

neutrophil มีคาอยูในชวง 12.0-54.0% ซึ่งมีความสอดคลองกับคาที่ไดจากการทดลองคือ 24.4% โดยการแยก Segmented neutrophil สามารถดูจากลักษณะของนิวเคลียสติดสีมวงเข็ม โดยมี เสนใย ( filament ) แยกจากพลู ( lobe ) ไมชัดเจนโดยทั่วไปจะเห็นเปนรอยคอดของนิวเคลียส Cytoplasm ติดสีเทาชมพู มี Granule ละเอียดสีชมพูคลายฝุนกระจายทั่วไป Band neutrophill ที่ ไ ด จ าการทดลองจากตั ว อย า งที่ ทํ า การวั ด ได มี ค า 0.5 % โดยเม็ ด เลื อ ดขาวชนิ ด Band neutrophill นิวเคลียสมีลักษณะติดสีมวงเขมความแตกตาง ของ Band neutrophill และ Segment neutrophil สามารถสังเกตจากลักษณะนิวเคลียสของ Segment neutrophil คือ นิวเคลียสเปนรูปตัวเอส ( S ) หรือตัวยู ( U ) และมีดานทั้งสองของนิวเคลียสขนานกัน และมีดาน ทั้ง สองของนิ ว เคลี ย สขนานกั น ถ า มี ร อยกิ่ว ของนิว เคลี ย ส ก็ จ ะยัง คงมี ความกว า งมากกว า ครึ่งหนึ่งของเสนผานศูนยกลางของนิวเคลียส Neutrophil บอกไดถึงสุขภาพของสัตวตอการติด เชื้อของสัตว โดยการปลอย Neutrophil ออกสูกระแสเลือด ซึ่งถาติดเชื้อรุนแรง Neutrophil ที่ อายุนอยคือ Band neutrophill จะถูกปลอยออกมาดวย การแกไขในการตรวจวัดควรทําอยาง รวดเร็ว ไมควรเก็บเลือดไวในสารกันเลือดแข็งตัวนานเกิน 12 ชั่วโมงทั้งนี้เพื่อปองการเสียสภาพ ของเลือดและลดความคลาดเคลื่อนของผลการทดลองในกรณีที่มีการติดเชื้อปรสิตคาเม็ดเลือดขาว ชนิด Neutrophil ในโคนมมีคา 35.62+10.44 และ ในโคเนื้ออยูที่ 33.43+9.55 (Silva, et. al. 1999) การหาคาเม็ดเลือดขาวชนิดอิโอซิโนฟล จากการทดลองพบวาเม็ดเลือดขาวชนิด Eosinophil มีคา 4.6% เมื่อเปรียบเทียบ กับ สถาพรและเสาวนิต (2531) ซึ่งพบวาคาเม็ดเลือดขาวชนิด Eosinophil มีคา 16.43% ซึ่งมี ความแตกตางกัน ศิริชัย (2528) ทําการทดลองพบวาคาเม็ดเลือดขาวชนิด Eosinophil มีคาอยู ในชวง 2.0-25.0% Silva, et. al. (1999) พบวาคาเม็ดเลือดขาวชนิด Eosinophil มีคาอยูในชวง 2.0-20.0% ซึ่งมีความแตกตางกันเพียงเล็กนอยกับคาที่ไดจากการทดลองคือ 4.6% และ เมื่อ เปรียบเทียบกับ Jain (1993)ซึ่งพบวาคาเม็ดเลือดขาวชนิด Eosinophil มีคา 9.0% ซึ่งมีความ แตกตางกับผลการทดลองเพียงเล็กนอยลักษณะของเม็ดเลือดขาวชนิด Eosinophil มีลักษณะที่ พบมาก คือ Cytoplasm จะติดสีชมพูซีดๆ มี แกรนูลมากมาย แกรนูลมีลักษณะคลายฝุนกระจาย ไปทั่ว Cytoplasm ซึมจํานวนมาก จนบางครั้งมีแนวโนมที่จะบดบังนิวเคลียสได แกรนูลมีลักษณะ กลม ขนาดเทาๆ กัน และติดสีสม และลักษณะของนิวเคลียสที่พบมีลักษณะแบนดนิวเคลียส สวน ใหญจะมีสองพู ติดสีมวงเขม นิวเคลียสทั้งสองพู แยกออกจากกัน บางสวนก็คอดออกเปนสองพู โดยไมไดแยกออกจากกัน สวนใหญที่พบนิวเคลียสจะมีลักษณะกลม แตมีบางสวนที่นิวเคลียสเริ่ม มี ลั ก ษณะที่ ไ ม แ น น อน อาจเกิ ด จากเม็ ด เลื อ ดเกิ ด การเสี ย สภาพไปได เม็ ด เลื อ ดขาวชนิ ด 50

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5

Eosinophil มีขนาด คือ 10-15 ไมโคเมตร เม็ดเลือดขาวชนิด Eosinophil จะมีลักษณะคลายกับ เม็ดเลือดขาวชนิด Basophil เพียงเล็กนอย บางครั้งอาจทําใหจําแนกชนิดออกไปไดยาก เพราะ เม็ดเลือดขาวทั้ง 2 ชนิด มี แกรนูลเหมือนกัน และมีนิวเคลียสที่มีสองพูเหมือนกัน และเม็ดเลือด ขาวทั้ง 2 ชนิดยังมีขนาดที่ใกลเคียงกันอีกดวย แตมีลักษณะที่แตกตางกันบาง เชน Cytoplasm ทั้ง สองชนิด ติดสีตางกันนั่นคือ เม็ดเลือดขาวชนิด Basophile จะติดสีซีดคลายๆ กับเปนสีเทา และมี แกรนูลที่ติดสีดําแดง มี แกรนูลกระจายอยูทั่ว Cytoplasm แตเม็ดเลือดขาวชนิด Eosinophil จะมี แกรนูลที่ติดสีสม ทําใหเม็ดเลือดขาวทั้งสองชนิดมีลักษณะที่คลายคลึงกันมาก ถาไมสังเกตดีอาจ ทํ า ให เ กิ ด ความสั บ สน และผิ ด พลาดได ใ นกรณี ที่ เ กิ ด การติ ด เชื้ อ ปรสิ ต ขึ้ น ค า เม็ ด เลื อ ดขาว Eosinophil ในโคนมอยูที่รอยละ 7.5+4.58% ในโคเนื้ออยูที่ 6.91+2.45% (Silva, et. al. 1999) การหาคาเม็ดเลือดขาวชนิดโมโนไซต จากการทดลองพบวาเม็ดเลือดขาวชนิด Monocyte มีคา 4.4% เมื่อเปรียบเทียบกับ Jain (1993) และ Silva, et al (1999) รายงานวา คาเม็ดเลือดขาวชนิด Monocyte มีคา 4.0% ซึ่งมี ความแตกต า งกั น เพี ย งเล็ ก น อ ย ศิ ริ ชั ย (2528) ทํ า การทดลองพบว า ค า เม็ ด เลื อ ดขาวชนิ ด Monocyte คือ 0.0-7.0% ซึ่งมีความแตกตางกันเพียงเล็กนอย Monocyte มีลักษณะนิวเคลียสที่ไม แนนอนสังเกตยาก ถาสังเกตที่โครมาตินที่เปนขดคลายเชือกมีสีน้ําเงินมวง Cytoplasm มีมากติดสี น้ําเงินออกเทาๆและมักจะมีชองวางอยูภายในก็เลยทําใหสามารถมองแลวแยกประเภทออกมาได Monocyte มีขนาดใหญพอๆกับ Lymphocyte และพบเปนจํานวนนอยเมื่อเทียบกับ Neutrophil และ Lymphocyte ในกรณีที่เกิดการติดเชื้อปรสิตขึ้น คาของเม็ดเลือดชนิด Monocyte ในโคนมอยู ที่รอยละ 11.87+4.61 และโคเนื้ออยูที่ 9.43-2.49 ซึ่งมีคาสูงเกินคามาตรฐานที่อยูที่ 4.0% หรืออยู ในชวง 2-7 (Silva, et. al. 1999) การหาคาเม็ดเลือดขาวชนิดแบโซฟล จากการทดลองพบวาเม็ดเลือดขาวชนิด Basophil มีคา 1.0% เมื่อเปรียบเทียบกับ Jain (1993) ซึ่งพบวาคาเม็ดเลือดขาวชนิด Basophil มีคา 0.5% ซึ่งมีความแตกตางกันเล็กนอย ศิริชัย (2528) ทํ าการทดลองพบวา คา เม็ดเลือดขาวชนิด Basophil คือ 0.0% ซึ่งมี ความแตกต างกัน เล็กนอย และ Silva, et al (1999) พบวาคาเม็ดเลือดขาวชนิด Basophil มีคาอยูในชวง 2.07.0% ซึ่งมีความแตกตางกัน ลักษณะของ Basophil ที่พบมีลักษณะของ Cytoplasm ที่มีสีซีดจาง คลายสีเทา มีแกรนูลมากมาย ติดสีดําแดง แกรนูลมีลักษณะกลมและมีแนวโนมทีจะบังนิวเคลียส นิวเคลียสติดสีมวงแดง มีรูปรางคลายนิวเคลียสของนิวโทรฟล มีขนาดเซลล 11-14 ไมโครเมตร 51

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5

ลักษณะของ Basophil คลายกับ Eosinophil มากจนทําใหการจําแนกชนิดของเม็ดเลือดขาวสอง ชนิดนี้ทําไดยาก เนื่องจากเม็ดเลือดขาวทั้ง 2 ชนิด มี Granule เหมือนกัน และมีนิวเคลียสที่มีสอง พูเหมือนกัน และเม็ดเลือดขาวทั้ง 2 ชนิดยังมีขนาดที่ใกลเคียงกันอีกดวย แตมีลักษณะที่แตกตาง กันบาง เชน Cytoplasm ทั้งสองชนิด ติดสีตางกันนั่นคือ เม็ดเลือดขาวชนิด Basophile จะติดสีซีด คลายๆ กับเปนสีเทา และมี Granule ที่ติดสีดําแดง มี Granule กระจายอยูทั่ว Cytoplasm แต เม็ดเลือดขาวชนิด Eosinophil จะมี Granule ที่ติดสีสม ทําใหเม็ดเลือดขาวทั้งสองชนิดมีลักษณะที่ คล า ยคลึ ง กั น มาก ในกรณี มี ก ารติ ด เชื้ อ ปรสิ ต ค า เม็ ด เลื อ ดขาวชนิ ด Basophil จะอยู ที่ 0.56+1.50% ในโคเนื้อและโคนมซึ่งอยูในชวงคามาตรฐาน คือ 0-2 หรือ0.5% (Silva, et. al. 1999) การหาคาเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต เม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte ที่ไดจากการทดลอง คือ 65.1% มีโดยมีความแตกตางกับ คาที่ Jain (1993) และ Silva, et. al. (1999) ไดรายงานไวคือ 58.0% นอกจากนี้ ศิริชัย (2528) ได รายงานคาเม็ดเลือดขาวชนิด Lymphocyte วามีคาอยูในชวง 24.0-76.0% และ สถาพรและ เสาวนิตย (2531)ไดทําการศึกษาคาเม็ดเลือดและไดรายงานจํานวนเซลล Lymphocyte วาได คาเฉลี่ยเทากับ 53.4 % ซึ่งมีความแตกตางกันกับคาที่ไดจากการทดลอง โดย lymphocyte มี ลักษณะที่สําคัญคือ จะมีนิวเคลียสเกือบเต็มเซลล และมีลักษณะนิวเคลียสรูปรางกลม นิวเคลียส จะติดสีเขม ไซโทพลาสซึมจะติดสีซีด เม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte จะไมมีแกรนูลภายในเซลล เม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte จะมีลักษณะที่เห็นภายในกลองจุลทรรศนที่พบไดคือ มีลักษณะ คลายกับ เม็ดเลือดขาวชนิด monocyte นั่นคือมีนิวเคลียสเกือบเต็มเซลลเชนเดียวกัน แตลักษณะ ของนิวเคลียสที่พบจะมีลักษณะไมแนนอน รูปรางมีหลายลักษณะทําใหจุดนี้เปนจุดที่แตกตางจาก เม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte เม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte จะมีรูปราง 3 ขนาด

52

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5

เอกสารอางอิง กรณรงค อรุณ ศุภวัฒน โพธิมงคลและสุรวัฒน ชลอสันติสกุล. 2543. การศึกษาเบื้องตนเกี่ยวกับ คาโลหิตวิทยาและคาเคมีเลือดของตะพาบน้ําพันธุไตหวันเพศผู. คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ การะเกศ กอพงศาสตร และคณะ. 2545. การสํารวจคาโลหิตวิทยาของลอในจังหวัดเชียงใหม. คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชียงใหม เฉลียว ศาลากิจ. 2540. โลหิตวิทยาทางสัตวแพทย. ผูชวยศาสตราจารย ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ เฉลียว ศาลากิจ. 2540. ปฏิบัติการพยาธิวิทยาคลินิกทางสัตวแพทย. ผูชวยศาสตราจารย ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพ ศิริชัย วงษนาคเพ็ชร. 2528. คาโลหิตวิทยาในโคนมของสหกรณโคนมหนองโพ จังหวัดราชบุรี. การประชุมทางวิชาการครั้งที่ 23. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,กรุงเทพฯ. 2528. หนา 15-16 สถาพร จิตตปาลพงศและเสาวนิตย ทิพยเสวก. 2531. การศึกษาคาโลหิตวิทยาเบื้องตนของโคนม หนองโพ จั งหวัดราชบุ รี. รายงานผลงานการวิจัย ในการประชุมทางวิชาการของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ครั้งที่26, กรุงเทพฯ. 2531, หนา 165-169 Carolyn A.Sink and Bernard F.Feldman. 2004. Laboratory Urinalysis and Hematology. Virginia-Maryland Regionhe afral Collage of Veterinary Medicine, USA Kumar B. and S.P. Pachauri. Haematological profile of crossbred daily cattle to monitor herd health status at medium elevation in Central Himalayes. Research in Veternary Science. 2000. 69, 141-145 Maria Helena Matiko Akao LARSSON. Hematological values of Cebus apella anesthetized with ketamine. Departamento de Clínica Médica Faculdade de Medicina Veterinária e Zootecnia da U Cidade. Universitária Armando de Salles Oliveira Av Orlando Marques de, Paiva Pospis J., F.Kase and J. Vahala. 1985. Basuc haematological values in the African buffalo(Syncerus caffer caffer) and in the red buffalo(Syncerus caffer nanus). Comparative Biochemistry and Physiology Part A: Physiology. 3(82). P.495 - 498 Vanessa K. Lester and Others. 2005. Small Mammal Hematology: Leukocyte Identification in Rabbits and Guinea Pigs. DVM. Department of Pathology (Tarpley, Latimer) College of Veterinary Medicine. University of Georgia. Athens, Greese 53

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กุมภาพันธ - พฤษภาคม 2549 )

วารสารวิชาการปศุสตั วเขต 5

54

More Documents from "Chai Yawat"

June 2020 12
June 2020 5
June 2020 9
June 2020 4
May 2020 3