รายงานวิจัย ความสัมพันธ์ของโปรแกรมการถ่ายพยาธิของฟาร์มโคนมต่อผลผลิตน้ำนม

  • Uploaded by: Chai Yawat
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View รายงานวิจัย ความสัมพันธ์ของโปรแกรมการถ่ายพยาธิของฟาร์มโคนมต่อผลผลิตน้ำนม as PDF for free.

More details

  • Words: 821
  • Pages: 7
ความสัมพันธของโปรแกรมการถายพยาธิของฟารมโคนมตอผลผลิตน้ํานม สุรวัฒน ชลอสันติสกุล1# จารุณี เกษรพิกุล1 ศิริชัย เอียดมุสิก1 วันวิสาข แยมมีกลิ่น1 ธนารักษ ธีรศรัณยานนท1 จรูญ ศรีออนเลิศ1

บทคัดยอ จากการศึกษาความสัมพันธของโปรแกรมการถายพยาธิที่มีผลตอผลผลิตน้ํานมของฟารม โคนม ซึ่งสุมจากฟารมเกษตรกรรายยอยทั้งหมด 32 ฟารม โดยการศึกษาแบบวิจยั เชิงสํารวจทาง วิทยาการระบาดแบบวิเคราะห (observational study on analytic epidemiology) ดวยวิธี casecontrol study สามารถแบงกลุมการวิเคราะหออกเปน 4 กลุม และทําการเปรียบเทียบกลุมที่มี โปรแกรมการถายพยาธิ 1 ครั้งตอปและมากกวา 2 ครั้งตอป พบวาฟารมที่มีการถายพยาธิ 1 ครั้งตอป มีปริมาณน้าํ นมเฉลี่ยสูงกวาฟารมที่มีการถายพยาธิมากกวา 2 ครั้งตอป ซึง่ จากการคํานวณ อัตราสวนความเสี่ยงสัมพัทธ (Odds ratio) พบวาโคนมที่ไดรับการถายพยาธิ 1 ครั้งตอป มีความ เสี่ยงที่จะมีปริมาณน้าํ นมมากเทากับ 4.50 เทาของโคนมที่ไดรับการถายพยาธิทมี่ ีการถายพยาธิ มากกวา 2 ครั้งขึ้นไปและมีชว งของความเชือ่ มั่น (CI) ที่ 95 % เทากับ -0.325 จึงสรุปวาความสัมพันธ ของปริมาณน้าํ นมและโปรแกรมการถายพยาธิไมมีความแตกตางอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ (P<0.05)

คําสําคัญ : โปรแกรมการถายพยาธิ, ผลผลิตน้ํานม, โคนม 1

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี # ผูรับผิดชอบบทความ

บทนํา

ปจจุบันการเลีย้ งโคนม เปนอาชีพที่ไดรบั ความสนใจเปนอยางมาก ดัชนีที่เปนตัวบงชีถ้ ึง ความสําเร็จของการทําฟารมโคนมอยางหนึ่งก็คือ ผลผลิตของน้ํานม โรคพยาธิถือเปนปญหาสําคัญ อยางหนึง่ ของโคนมทีเ่ ลี้ยงโดยเกษตรกรรายยอย การสํารวจเกีย่ วกับพยาธิภายในของโคนมมีรายงาน วา พบพยาธิไสเดือน Toxocara vitulurum พยาธิตวั ตืด Moniezia spp. และพยาธิตัวกลม Strongyloides spp. ในลูกโคนม และโคนมทีโ่ ตเต็มที่ในบริเวณหนองโพ จังหวัดราชบุรี โดยพบ มากในชวงฤดูฝน (สถาพร และคณะ, 2530) และมีการศึกษาศึกษาเกีย่ วกับตัวออนของพยาธิตัว กลมในโค ในประเทศเคนยาพบวามีการระบาดของ Strongyloides spp., Trichostrongylus spp., Oesophagostomum spp., Haemonchus spp. และCooperia spp. (Tekdek and Ogunsusi, 1987) พยาธิภายในเหลานี้ทําความสูญเสียในการเลี้ยงโคนม โดยทั่วไปพยาธิภายใน ทางเดินอาหารมีสวนสําคัญตอการยอยและดูดซึมสารอาหาร และรบกวนการเกิดปฏิกิริยาเคมีของ อาหาร (Morris, 1981 and Oemigati, 1980) ซึ่งสงผลใหผลผลิตของสัตวลดนอยลง ดัง รายงานของ Bliss and Todd (1977) ซึ่งกลาววาปริมาณน้าํ นมโคลดลง เนื่องจากการติด พยาธิกลุม Trichostrongylids โปรแกรมการถายพยาธิเปนสิง่ สําคัญ เพราะถาแมโคมีพยาธิก็จะ สงผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของแมโค ทําใหแมโคมีประสิทธิภาพการผลิตน้ํานมลดลง วิทยา และคณะ (2544) กลาววา ผลผลิตน้ํานมเปนปจจัยที่สะทอนใหเห็นประสิทธิภาพการผลิต ของฟารม ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้จึงจัดทําขึ้นเพื่อเปรียบเทียบปริมาณน้ํานมของฟารมโคนมราย ยอยที่มีโปรแกรมการถายพยาธิ 1 ครั้งตอปและมีโปรแกรมการถายพยาธิมากกวา 2 ครั้งตอป เพื่อนําไปสูการวางแผนและปรับปรุงผลผลิตน้าํ นมใหดีขึ้นในอนาคต อุปกรณและวิธีการ ศึกษาแบบการวิจัยเชิงสํารวจทางวิทยาการระบาดแบบวิเคราะห (observational study on analytic epidemiology) โดยวิธี case-control study สุมจากเกษตรกรรายยอย ใน เขตรอยตออําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบตีรีขันธ และอําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี จํานวน ฟารมทั้งหมด 32 ฟารม

การวิเคราะหขอมูล

คํานวณคา Odds Ratio Odds ของกลุมที่มีการถายพยาธิ 1 ครั้ง/ป ที่มีปริมาณน้าํ นมนอยกวาน้าํ นมเฉลี่ยของโคนมทัง้ หมด *Odds ratio = Odds ของกลุมที่มีการถายพยาธิ 1 ครั้ง/ป ที่มีปริมาณน้าํ นมมากกวาน้าํ นมเฉลี่ยของโคนม ทั้งหมด คํานวณคา Confidence interval คาความเชื่อมั่นที่ 95 % 95 % CI

(±1.96

Ο Re

=

var( InOR)

)

คํานวณคา Correlation Coefficient r =

∑ xy − (∑ x )(∑ y )/ n [∑ x − (∑ x) / n][∑ y − (∑ y ) 2

2

2

2

/n

]

ผลการทดลอง ภาพที่ 1 แสดงกลุมของฟารมที่มีปริมาณน้ํานมเฉลี่ยมากกวาปริมาณน้ํานมเฉลี่ยทัง้ หมดของ ฟารม โคนมรายยอย (11.76 กก./ตัว/วัน) ที่มีการถายพยาธิ 1 ครั้งตอป และมากกวา 2 ครั้งตอป 25.00 20.00

16.39 ± 4.81 14.25 ± 2.76

15.00

ปริมาณน้ํานมเฉลี่ย (กก./ตัว/วัน) 10.00

กลุมที่มีปริมาณน้ํานมเฉลี่ยมากกวาปริมาณ น้ํานมเฉลี่ยของฟารมโคนมทั้งหมดที่มี การถายพยาธิ 1 ครั้งตอป กลุมที่มีปริมาณน้ํานมเฉลี่ยมากกวาปริมาณ น้ํานมเฉลี่ยของฟารมโคนมทั้งหมดที่มี การถายพยาธิมากกวา 2 ครั้งตอป

5.00 0.00

ภาพที่ 2 แสดงกลุม

1

2

กลุมที่มีปริมาณน้ํานมมาก

ของฟารมที่มปี ริมาณน้าํ นมเฉลี่ยนอยกวา

ปริมาณน้าํ นมเฉลี่ยทัง้ หมดของฟารม ครั้งตอป และมากกวา 2 ครั้งตอป

โคนมรายยอย (11.76 กก./ตัว/วัน) ที่มีการถายพยาธิ 1

12.00 10.00

8.28 ± 2.75

7.87 ± 2.67

8.00

กลุมที่มีปริมาณน้ํานมเฉลี่ยนอยกวาปริมาณ น้ํานมเฉลี่ยของฟารมโคนมทั้งหมดที่มี การถายพยาธิ 1 ครั้งตอป กลุมที่มีปริมาณน้ํานมเฉลี่ยนอยกวาปริมาณ น้ํานมเฉลี่ยของฟารมโคนมทั้งหมดที่มี การถายพยาธิมากกวา 2 ครั้งตอป

ปริมาณน้ํานมเฉลี่ย 6.00 (กก./ตัว/วัน) 4.00 2.00 0.00

1

2

กลุมที่มีปริมาณน้ํานมนอย

สรุปและวิจารณ จากการสํารวจปริมาณน้ํานมของฟารมโคนมรายยอยที่มีการจัดการทางดานโปรแกรมการ ถายพยาธิ จํานวนฟารมทัง้ หมด 32 ฟารม พบวาการถายพยาธิ 1 ครั้งตอปจะสงผลใหมีปริมาณน้าํ นม สูงกวาการถายพยาธิมากกวา 2 ครั้งตอป เมื่อนํามาหาคา Odd ratio พบวาโคนมที่ไดรับการถาย พยาธิ 1 ครัง้ ตอป มีความนาจะเปนทีจ่ ะมีปริมาณน้าํ นมมากเทากับ 4.50 เทาของโคนมที่ไดรับ การถายพยาธิมากกวา 2 ครั้งตอปโดยไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อหาคาความเชื่อมัน่ ที่ 95% จากการคํานวณคาความสัมพันธของโปรแกรมการถายพยาธิกับการผลิตน้าํ นมของฟารมโค นมรายยอยไดคา Correlation Coefficient (คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ) เทากับ -0.325 ซึ่งไมมี ความสัมพันธกันอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ (p<0.05) ดังนั้นอาจกลาวไดวา โปรแกรมการถาย พยาธิมีแนวโนมสงผลตอปริมาณน้าํ นมนอยมาก

เอกสารอางอิง วิจิตร สุขเพสน. 2524 ก. ผลของไทอาเบนดาโซลตอน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นในลูกโคและปริมาณน้าํ นม ในแมโค, น. 177-185. ใน รายงานการประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตรและ ชีววิทยา แหงชาติ ครั้งที่ 15, สาขาสัตว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. วิจิตร สุขเพสน และ กฤษณา จันทรศรี. 2524. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยาถายพยาธิราไนด และโทรแดกตอพยาธิใบไมตับโคนม. 186-190. ใน รายงานการประชุมทางวิชาการ เกษตรศาสตรและชีววิทยาแหงชาติ ครั้งที่ 15, สาขาสัตว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. วิทยา สุริยาสถาพร, ขวัญเกศ กนิษฐานนท และวรวิช โกวิทยากร. 2544. ความแตกตางของ ประสิทธิภาพการผลิตน้ํานมในแตละเดือนของโคนม, น. 55-56. เอกสารประกอบการ ประชุมวิชาการโคนม และผลิตภัณฑ ครั้งที่ 4, กรุงเทพฯ. อิทธิพล ชัยชนะพูลผล และพัชรา วิทูระกูล. 2539. อัตราการติดโรคพยาธิของโคนมในภาคเหนือ. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรครั้งที่ 34, 30 มกราคม-1 กุมภาพันธ 2539. สาขาสัตว สัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รวมกับกระทรวง เกษตรและ สหกรณ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม ทบวงมหาวิทยาลัย. 517 น. อุษา เชษฐานนท, สุทิน ธรรมยุติ, ชาติชาย สังขวิลัย, อุษณีย เจษฎาไกรสร และ ชวพันธุ อันตรเสน. 2536. การศึกษาประสิทธิภาพของยาถายพยาธิอัลเบนดาโซลตอพยาธิชนิดตาง ๆ ในโค. วารสารโรงพยาบาลสัตว 4 (1) : 1-7. สถาพร จิตตปาลพงศ, วีระพล จันทรสวรรค และ ธนู ภิญโญภูมิมินทร. 2530. การสํารวจ พยาธิภายในของโคนมที่หนองโพ. วารสารสัตวแพทย 8 (2) : 120-132. Bliss, D. M. and A. C. Todd. 1974. Milk production by Wisconsin diary cattle after Deworming with Thiabendazole. V.M. / SAC. 69 : 638-640. Bliss, D. M. and A. C. Todd. 1977. Milk losses in diary cows after exposure to Infective Trichostrongylid larva. Veterinary Medicine Small Animal clinic 72 : 12-16. Maye, D. E. 2001. The Effect of Anthelmintic Treatment in Adult Dairy Cows on Milk Production. Available Sourse : http://us.merial.com/Pdf/page_pdf/ The_Effect_of_Anthelmintic_Treatment_in_Adult_Dairy_Cows_on_Milk_Producti on.pdf Veterinary Bulletin, 2/08/2005. Morris, R. S. 1981. The effect of disease in animal population. In Animal Health : An

Epidemiological Approach. Commissioned by GTZ. 43 p. Oemigati, S. 1980. Public Health Importance of parasitic Infection. Lecture note of Diploma Course in Applied Nutrition. Jakarta : 1-6 p. Relationship between Dairy Farm’s Anthelminth Programs and Milk Production Surawat Chalorsuntisakul*# Charunee Kasornpikul* Sirichai Eardmusic* Wanwisa Yaemmeeklin* Tanarak Theerasarunyanont* Jaroon Sri-Onlerk* The relationship between Anthelminth Program and milk production of dairy cows were survey from random 32 small holder’s dairy farms by collected data of Anthelminth program between 1 time/year and >2 times/year and average milk production per kg per cow per day 11.76 kg/cow/day was the average milk production of this study. 20 farms had anthelminth program 1 time/year and average milk production at 13.15 kg/cow/day. 12 farms have >2 time/program and average milk production is 9.46 kg/cow/day. These shown milk production of cow with 1 time/year have quantity of milk high production farms of Anthelminth program >2 time/program are much more than > 2 times. Anyway calculated Odd ratio is 4.50 so risk of 1 time program to have milk production more than another is 4.50 time with no significant at 95 % (P<0.05)

Keyword: Anthelminth Program, Milk Production, Dairy Cow.

* Faculty of Animal Science and Agricultural Technology, Silpakorn University, Petchaburi IT campus. # Corresponding Author

More Documents from "Chai Yawat"

June 2020 12
June 2020 5
June 2020 9
June 2020 4
May 2020 3