พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
“พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก” “เด็กก็เป็ นมนุษย์คนหน่ ึงเหมือนกัน ถ้าการทำาร้ายคนอ่ ืนเป็ นเร่ ืองท่ีผิด ทำาไมผู้ใหญ่ถึงตีเด็กได้ ทัง้ๆ ท่ีเราตัวเล็กกว่า และเราก็เป็ นมนุษย์คนหน่ ึงเหมือนกัน”
“โครงการการสร้างวินัยด้วยวิธีการเชิงบวกเพ่ ือสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเป็ นมิตรต่อการ
เรียนรู้ของเด็ก”
โดย... กระทรวงศึกษาธิการ องค์การยูนิเซฟ องค์การช่วยเหลือเด็กแห่งสวีเดน และ มูลนิธิฟ้าเดียว
1
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
2
เกร่น ิ นำาโครงการ โครงการ “การสร้างวินัยด้วยวิธีการเชิงบวกเพ่ ือสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเป็ นมิตร ต่อการเรียนรู้ของเด็ก” เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ องค์การ ยูนิเซฟ องค์การช่วยเหลือเด็กแห่งสวีเดน และมูลนิธิฟ้าเดียว ซ่ึงเห็นความสำาคัญของ การสนับสนุนบุคลากรครูในสถานศึกษาให้ใช้แนวทางการสร้างวินัยด้วยวิธีเชิงบวกให้ เกิดขึ้นในชัน ้ เรียน แทนการลงโทษด้วยวิธีรุนแรงทัง้ทางร่างกายและจิตใจซ่ึงก่อผลก ระทบต่อเด็กมากกว่าจะเป็ นการสร้างการเรียนรู้ ความรุนแรงท่ีอยู่ในรูปแบบการลงโทษ สะท้อนให้เห็นว่าผูใ้ หญ่มักเช่ ือว่าเด็กจะ เรียนรู้ตอ ่ เม่ ือมีการลงโทษให้หลาบจำาแต่ความจริงแล้วการลงโทษเป็ นการสร้างวินัยเชิง ลบ ท่ีเป็ นส่ิงไม่จำาเป็ นและไม่ได้ผลในการสอนหรืออบรมเด็กรวมทัง้ปิ ดกัน ้ การเรียนรู้ ของเด็ก ตามหลักสิทธิมนุษยชน ถือว่ามนุษย์ทุกคนมีศักดิศ ์ รีมีคุณค่าท่ีควรจะได้รบ ั ความเคารพและการปฏิบัตอ ิ ย่างยุติธรรมจากผู้อ่ืนโดยเท่าเทียมกัน บุคคลใดจะถูก ทรมานหรือได้รับการปฏิบต ั ิ หรือลงทัณฑ์ซ่ึงทารุณโหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือเหยียด หยามเกียรติมิได้ การลงทัณฑ์นัน ้ หมายรวมไปถึงการลงโทษทางกายและทางจิตใจด้วย โดยเฉพาะกับเด็กก็ควรได้รับการคุ้มครองดูแลการปฏิบต ั ิอย่างเท่าเทียมเช่นเดียวกับ ผู้ใหญ่ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก พ.ศ. 2532 จึงได้ให้แนวทางเพ่ิมเติมเก่ียวกับการสร้าง วินัยเชิงบวกซ่ึงปลอดความรุนแรงไว้ในมาตราต่างๆ ว่า ต้องทำาเพ่ ือประโยชน์สูงสุดของ เด็ก เคารพต่อศักดิศ ์ รีความเป็ นมนุษย์ของเด็กในทุกเวลาและสถานท่ี ต้องรับฟั งความ คิดเห็นและคำานึงถึงระดับประสบการณ์ของเด็กท่ีมี ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กซ่ึงหมาย รวมถึงบุคลากรในสถานศึกษาต้องการสนับสนุนอย่างย่ิงในการดูแลเด็ก เพราะการ สร้างวินัยเชิงบวกต้องอาศัยความเข้าใจและทักษะซ่ึงอาจแตกต่างจากแนวทางท่ีเคย ปฏิบัติกน ั อยู่ โครงการ “การสร้างวินัยด้วยวิธีการเชิงบวกเพ่ ือสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเป็ นมิตร ต่อการเรียนรู้ของเด็ก” ได้ร่วมพัฒนาโรงเรียนเพ่ ือนเด็กโดยขยายแนวคิดและการรับรู้ ในประเด็นจิตสังคมและอารมณ์ แก่ผู้บริหารและครูด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วน ร่วมและการทำาวิจัย ทำาให้เกิดบทเรียนจากการใช้การสร้างวินัยด้วยวิธีเชิงบวกในชัน ้ เรียนในบริบทโรงเรียนท่ีแตกต่างกัน กับกลุ่มเด็กหลากหลายช่วงอายุ กว่า 3,000 คน เกิด เคร่ ืองมือและตัวอย่างการจัดชัน ้ เรียนปลอดความรุนแรง ครูได้เพ่ิมศักยภาพในการ สร้างวินัยด้วยวิธีเชิงบวก การจัดการชัน ้ เรียนปลอดความรุนแรง และการดูแลเด็กท่ีมี พฤติกรรมไม่เหมาะสมด้วยวิธีการทางจิตสังคมเบ้ืองต้น ความเข้าใจและแนวทาง ปฏิบัติท่ีเหมาะสมของโรงเรียน ยังสามารถเช่ ือมต่อกับระบบ/บริการด้านการคุ้มครอง เด็กของจังหวัดได้อีกด้วย เม่ ือมีการรับรู้ พบเห็นเด็กถูกละเมิด ละเลย หรือถูกแสวงหา ประโยชน์
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
3
เอกสารฉบับนีจ้ัดทำาขึ้นเพ่ ือนำาเสนอส่ิงท่ีค้นพบจากการดำาเนินงานในโครงการ ตลอดระยะเวลาปี กว่า ด้วยหวังว่าผลลัพธ์และบทเรียนท่ีเกิดขึ้นจะสามารถนำาไปปรับใช้ ในการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเป็ นมิตรต่อการเรียนรู้ของเด็ก ตลอดการวางนโยบายด้าน การศึกษาและการคุ้มครองเด็กในโรงเรียน ดังเช่นท่ีโครงการได้รเิ ร่ิมจุดประกายให้ บุคลากรทางการศึกษาทัง้ 30 สถานศึกษามาแล้ว
Save the Children Sweden
กิจกรรมท่ีได้ทำาผ่านมา โครงการ “การสร้างวินัยด้วยวิธีการเชิงบวกเพ่ ือสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเป็ นมิตรต่อการ เรียนรู้ของเด็ก” มีการดำาเนินงานในหลายกิจกรรม เพ่ ือให้โรงเรียนได้สามารถนำา แนวทางการสร้างวินัยเชิงบวกไปประยุกต์ใช้ได้จริงในชัน ้ เรียน 1.การแนะนำาโครงการฯ ต่อพ้ืนท่ีเขตการศึกษาทัง ้ 6 จังหวัด และ โรงเรียนท่ีเข้าร่วม โครงการ ทัง้ 75 โรงเรียน 2.การอบรมเร่ ือง “การสร้างวินัยเชิงบวกเพ่ ือส่งเสริมพฤติกรรมอันพึงประสงค์ของเด็ก” โดย Dr. Steve Van Bockern ร่วมกับมูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก(9-11 มกราคม 2551) 3.การอบรมวิทยากรโครงการสร้างวินัยเชิงบวกครัง ้ ท่ี 1 จ.ตรัง(2-3 กุมภาพันธ์ 2551) 4.การอบรมวิทยากรโครงการสร้างวินัยเชิงบวกครัง ้ ท่ี 2 จ.กระบ่ี(1-4 เมษายน 2551) 5.การอบรมเชิงปฏิบัติการเร่ ืองการสร้างวินัยเชิงบวกในโรงเรียน 75 โรงเรียน (เมษายน ถึง พฤษภาคม 2551) 6.การประชุมเพ่ ือประเมินผลโครงการการสร้างวินัยเชิงบวกสำาหรับโรงเรียน (19-20 มิถน ุ ายน 2551) การอบรมเชิงปฏิบต ั ิการสำาหรับผู้บริหารสถานศึกษา 7. “วิสัยทัศน์ทางการพัฒนาเด็ก” (6-7 กันยายน 2551) 8. “การพูดชักจูงอย่างสร้างสรรค์” (11-12 ตุลาคม 2551) 9. “การแก้ไขความขัดแย้งและเจรจาต่อรอง” (25-26 ตุลาคม 2551) 10. ”การพัฒนาสู่ระบบการดำาเนินการทางวินัยอย่างสร้างสรรค์” (15-16 พฤศจิกายน 2551) 11.อบรมการทำางานวิจัยในชัน ้ เรียนครัง้ท่ี 1 ผู้เข้าร่วมอบรมจากกระบ่ี, ตรัง และสตูล (6-7 กันยายน 2551) 12.อบรมการทำางานวิจัยในชัน ้ เรียนครัง้ท่ี 2 ผู้เข้าร่วมอบรมจากภูเก็ต, พังงา และ ระนอง (8-9 กันยายน 2551) 12.การทำางานวิจัยกับเด็ก กับนักเรียน 30 โรงเรียน (ตลอดเดือนกันยายน 2551) 13.การประเมินผลโครงการ 12 ธันวาคม 2551
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
4
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
5
การสร้างวินัยเชิงบวก เป็ นการบูรณาการระหว่างความรู้เก่ียวกับพัฒนาการเด็กท่ี สุขภาพดี ส่ิงท่ีค้นพบจากการวิจัยด้านการเลีย ้ งดูเด็กท่ีมีประสิทธิภาพ และหลักการของสิทธิเด็ก งานวิจัยเร่ ือง พัฒนาการเด็ก
วินย ั เชิง งานวิจย ั เร่ ืองการเลีย ้ ง ดูเด็กอย่างมี
การสร้างวินัยเชิงบวก ไม่ใช่ • • • •
การเลี้ยงดูเด็กแบบตามใจเด็ก การปล่อยให้เด็กทำาอะไรก็ได้ตามใจ ชอบ การไม่มีกฎระเบียบ ข้อจำากัด หรือ ความคาดหวัง การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือระยะ สั้นๆ ต่อพฤติกรรมเด็ก หรือการ ลงโทษด้วยวิธีการทางเลือกอื่นๆ ที่ใช้ แทนการตี หรือลงโทษทางวาจาต่อ
วินัยเชิงบวก
สิทธิเด็ก
การสร้างวินัยเชิงบวก หมายถึง • • • • • •
การแก้ปัญหาในระยะยาวเพื่อพัฒนาการสร้างวินัยในตนเองของเด็ก การสื่อสารอย่างชัดเจนเกี่ยวกับความคาดหวัง กฎระเบียบ และการกำาหนดขอบเขต ร่วมกัน โดยคำานึงถึงพัฒนาการแต่ละช่วงวัยของเด็ก การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็กที่ให้ความเคารพ ให้เกียรติซึ่งกันและกัน การสอนทักษะต่างๆ ให้เด็กที่เด็กจะใช้ไปได้ตลอดชีวิต การเสริมสร้างความสามารถและความมั่นใจให้เด็กที่จะจัดการกับสถานการณ์ที่ ท้าทาย การสอนให้เด็กมีมารยาท แก้ปัญหาโดยไม่ใช้ความรุนแรง เข้าถึงจิตใจผู้อื่น เคารพใน ศักดิ์ศรีของตนเองและผู้อื่น เคารพในสิทธิมนุษยชน
ปลอดความรุนแรง มุ่งแก้ปัญหา เคารพกันและกัน อยู่บนพัฒนาการเด็ก
การสร้างวินัยเชิงบวกคือวิธีการในการเลีย ้ งดูเด็ก ท่ีพ่อแม่ และผู้ดูแลเด็ก รวมไป ถึงครู สามารถใช้ได้ เพ่ ือสอน และแนะแนวทางในการประพฤติปฏิบัติต่อเด็ก โดย เคารพในสิทธิของเขาในอันท่ีจะได้มีโอกาสในการพัฒนาอย่างเต็มท่ท ี ัง้ในด้าน
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก สุขภาพร่างกาย และจิตใจ โอกาสในการได้รับการคุ้มครองจากความรุนแรงในรูป แบบต่างๆ และโอกาสในการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของเขา
6
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
การสร้างวินัยเชิงบวก เป็ นวิธี การ (approach) ในการเลีย ้ งดูเด็ก ซ่ ึงมีรากฐานอยู่บนหลักการส่ี ประการ ในการเลีย ้ งดูเด็กท่ีมีประสิทธิภาพ คือ การมุ่งมองท่ีเป้ าหมายระยะ ยาว การให้ความรักความอบอุ่นและ แนวทาง การเข้าใจวิธีคิดและความรู้สึกของ เด็ก และการแก้ปัญหาเพ่ ือนำาไปสู่ เป้ าหมายระยะยาวท่ีตัง้ใจไว้
7
หลักส่ีประการในการสร้างวินัย เชิงบวก การแก้ ปั ญหา เข้าใจว่าเด็กคิดและรู้สึก อย่างไร ความรัก แนวทาง ความอบอุ่น
ท่ช ี ัดเจน
เป้ าหมายระยะยาว
1. การวางเป้ าหมายระยะยาว
แต่ละวันของพ่อแม่และครู มักจะวุ่นอยูก ่ ับการจัดการกับเป้ าหมายเฉพาะหน้า เช่น ให้เด็กๆ ผูกเชือกรองเท้าได้ ให้เด็กๆ คิดเลขในใจเป็ น ให้เด็กๆ กินข้าวให้หมดชาม หรือให้เด็กๆ เลิกแกล้งเพ่ ือนซะที เหตุการณ์เฉพาะหน้าแบบนีม ้ ักทำาให้ผู้ใหญ่หมด ความอดทน และเครียด และจะนำาไปสู่การดุหรือตีเพ่ ือให้เด็กๆ ทำาตามท่ีต้องการ แต่ว่าการจัดการกับปั ญหาเฉพาะหน้าแบบนีไ้ม่ได้สอนเด็กในเร่ ืองท่ีเราอยาก สอนในระยะยาวเลย ผู้ใหญ่มักจะอยากสอนให้เด็กรู้จักแก้ไขปั ญหาและสามารถส่ ือสาร กับคนอ่ ืนได้ดี อยากมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับลูกๆ หรือกับนักเรียน อยากให้เด็กโตขึน ้ เป็ นคนมัน ่ ใจในตัวเอง อ่อนโยน มุ่งมัน ่ มีความรับผิดชอบ เห็นอกเห็นใจผูอ ้ ่ ืน ไม่ใช้ ความรุนแรง แต่ไม่ได้ตระหนักว่าวิธีการดุด่าหรือตีเด็กนัน ้ จะเป็ นอุปสรรคขัดขวางไม่ให้ เด็กพัฒนาไปในทิศทางท่ีเราต้องการ เม่ ือเราพิจารณาดูว่าเราอยากให้เด็กโตขึ้นเป็ นอย่างไร นัน ่ จะช่วยในการวางเป้ า หมายระยะยาวในการดูแลเขาได้ แล้วเราก็จะสามารถเปล่ียนสถานการณ์ปัญหาเฉพาะ หน้าให้กลายเป็ นโอกาสในการสอนและเลีย ้ งดูเด็กๆ ให้เป็ นไปตามเป้ าหมายระยะยาว และได้มีโอกาสในการสอนให้เด็กรู้จักการจัดการกับความเครียด การส่ ือสารกับผูอ ้ ่ ืน อย่างให้เกียรติ การจัดการกับความขัดแย้งโดยไม่ใช้ความรุนแรง การเอาใจเขามาใส่ใจ เรา และการทำาตามเป้ าหมายของเราโดยไม่ไปทำาร้ายผูอ ้ ่ ืนไม่ว่าจะทางร่างกายหรือจิตใจ
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
8
การวางเป้ าหมายระยะยาว ปั ญหาเฉพาะหน้า คือโอกาสท่ีเราจะสอนเด็กเพ่ ือให้เขาสามารถเป็ นอย่างท่ีเราหวัง ไว้ได้ ในระยะยาว เช่น เราจะมีโอกาสสอนเด็กให้รู้จักการ • จัดการกับความเครียด • ส่ ือสารอย่างเคารพและให้เกียรติซ่ึงกันและกัน • จัดการกับความขัดแย้งโดยไม่ใช้การตี • ใส่ใจกับความรู้สึกของผู้อ่ืน • ทำางานให้สำาเร็จโดยไม่ทำาร้ายผู้อ่ืนทางร่างกาย และจิตใจ 2. การให้ความรักความอบอุ่น
และแนวทางท่ช ี ัดเจน
การให้ความรักความอบอุ่น เม่ ือเรารู้แล้วว่าเรามีเป้ าหมายอะไรอยู่ข้างหน้า เราสามารถใช้เคร่ ืองมือท่ีมี ประสิทธิภาพมากท่ีสุดสองชิน ้ ต่อไปนีใ้นการไปให้ถึงเป้ าหมายของเรา อันหน่ึงคือ การ ให้ความรักความอบอุ่นแก่เด็กๆ และอีกอันก็คือการให้แนวทางท่ีชัดเจนแก่พวกเขา ใน ฐานะผู้ใหญ่ เรามักจะบอกว่าผิดเป็ นครู เราต้องเรียนรู้จากความผิดพลาดของเรา เพ่ ือท่ี จะทำาให้ดีกว่านีใ้นคราวหน้า และเม่ ือเรารู้ว่ามีคนคอยให้การสนับสนุนอยู่เราก็จะทำาได้ เด็กๆ ก็เช่นกัน พวกเขาเรียนรู้ได้ดีท่ีสุดเม่ ือเขารู้สึกว่าคนอ่ ืนให้เกียรติเขา เข้าใจเขา ไว้ใจเขา รักเขา และทำาให้เขารู้สึกปลอดภัย ถ้าเด็กเกิดความรู้สึกกลัวต่อคนท่ีอยู่รอบตัวเขา เขาจะไม่กล้าทำาอะไรเลย เขาจะ ไม่เป็ นคนซ่ ือตรง และขาดความมัน ่ ใจในตัวเอง บางคนอาจจะโกรธตลอดเวลา และ กลายเป็ นคนก้าวร้าว บางคนอาจเป็ นคนวิตกกังวลง่าย และเครียด ถ้าเด็กได้อยู่ใน สภาพแวดล้อมท่ีอบอุ่นปลอดภัยทัง้ทางกายและทางจิตใจ แม้เม่ ือเขาทำาอะไรผิด เขาจะ สามารถมุ่งมัน ่ ท่ีจะเรียนรู้ส่ิงท่ีถูกต้องได้ และจะสร้างความสัมพันธ์ท่ีดี ท่ีไว้วางใจกันกับ ผู้ใหญ่ ไม่ว่าจะเป็ นพ่อแม่ ผู้ดูแล หรือครู เด็กๆ จะเรียนรู้การเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน และ เคารพความรู้สึกของผู้อ่ืน การสร้างบรรยากาศท่ีดีและอบอุน ่ ท่ีบา้ น และโรงเรียน จะ เป็ นฐานสำาคัญในการก้าวไปสู่เป้ าหมายระยะยาวของเรา พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก หรือครู ให้ความรักความอบอุน ่ แก่เด็กๆ ได้ด้วยการแสดงให้ เห็นว่าเรารักเขา แม้เม่ ือเขาทำาอะไรผิดพลาดไปบ้าง ปลอบใจเขาเม่ ือเขาเจ็บปวดหรือ หวาดกลัว รับฟั งเขา มองดูสถานการณ์ผ่านสายตาเด็กๆ เล่นสนุกกับเขา หัวเราะด้วย กัน คอยให้ความช่วยเหลือเม่ ือเขาเจอกับเร่ ืองยากๆ ให้กำาลังใจเม่ ือเขาเจอส่ิงท้าทาย บอกเด็กๆ ว่าเราเช่ ือมัน ่ ในตัวพวกเขา รับรูค ้ วามพยายามของเด็กๆ และช่ ืนชมความ สำาเร็จของเขา และให้เขารู้ว่าเราไว้วางใจเขา
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
9
การให้ความรักความอบอุ่น คือ • • • • • •
ความปลอดภัยทางอารมณ์จิตใจ ความรักท่ีปราศจากเง่ ือนไข การให้ความรักทัง้ด้วยวาจา และด้วยการกระทำา การคำานึงถึงระดับพัฒนาการของเด็ก การใส่ใจในความต้องการของเด็ก การเอาใจเขามาใส่ใจเรา และเข้าใจความรู้สึกนึกคิดของเด็ก การให้แนวทางท่ีชัดเจน
เคร่ ืองมือชิน ้ ท่ีสองคือ การให้แนวทางท่ีชัดเจนแก่เด็กๆ ในฐานะผู้ใหญ่ เราจะ ประสบความสำาเร็จในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ ถ้าเราได้รับข้อมูลรอบด้าน เม่ ือมีคนคุยกับเรา อย่างใจเย็นถึงความผิดพลาดท่ีเราอาจกระทำาลงไป และให้คำาแนะนำาว่าควรปฏิบัติ อย่างไรในคราวหน้าเพ่ ือหลีกเล่ียงการกระทำาผิดพลาดซ้ำาสอง เด็กๆ ก็เช่นกัน พวกเขา เรียนรู้ได้ดีถ้าเขาได้รบ ั ข้อมูลท่ีครบถ้วนชัดเจน เม่ ือผู้ใหญ่ช่วยเขาหาทางออกในรูปแบบ ต่างๆ เพ่ ือจะทำางานให้สำาเร็จ และเม่ ือเขาเข้าใจว่าผู้ใหญ่มีความคาดหวังอย่างไรต่อเขา และเข้าใจถึงเหตุผลเบ้ืองหลังกฎเกณฑ์และคำาแนะนำาต่างๆ ของเรา ถ้าเรากำาหนดแนวทางให้กับเด็กๆ แต่เราไม่ทำาตามแนวทางเหล่านัน ้ หรือคาด หวังให้เด็กๆ รู้เองว่าควรทำาอะไร และลงโทษเม่ ือเขาทำาไม่ได้หรือทำาผิด พวกเขาจะ สับสนและเป็ นกังวล ถ้าเราใช้วิธีบังคับให้เด็กๆ ปฏิบัติตาม เขาจะขัดขืน ถ้าเราตีหรือดุ ว่าเขาเวลาเขาทำาผิด เด็กๆ จะไม่กล้าทำาอะไรอีกเลย แต่ถา้ เราปฏิบัติตนอย่างท่ีเรา ต้องการให้เขาทำา เป็ นตัวอย่างให้เขาดู และให้แนวทางเพ่ ือท่ีเด็กๆ จะได้ตัดสินใจเองได้ อย่างถูกต้อง พวกเขาจะเติบโตเป็ นคนท่ีมัน ่ ใจในตัวเอง มีศักยภาพ และเป็ นอิสระ พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก และครู ให้แนวทางแก่เด็กได้ง่ายๆ ด้วยการปฏิบัติเป็ นตัวอย่าง ให้เด็กเห็น พูดคุยให้เข้าใจกันถึงเหตุผลของกฎเกณฑ์ต่างๆ ท่ีกำาหนดขึ้น รวมไปถึงการ ร่วมกันสร้างกฎเกณฑ์ร่วมกัน รับฟั งความคิดเห็นของเด็กๆ ช่วยกันคิดหาทางออกเม่ ือ มีความผิดพลาดเกิดขึ้น ใช้โอกาสเช่นนีใ้นการสอนให้เขามองเห็นผลของการกระทำาท่ี อาจมีผลต่อผู้อ่ืนและต่อตัวของเขาเอง และวิธีการในการแก้ไข หรือทำาให้ดีขึ้น ผู้ใหญ่ ต้องส่ ือสารกับเด็กให้มากขึ้น ปฏิบัติต่อเขาอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม และยืดหยุ่นได้ ผู้ใหญ่ต้องควบคุมอารมณ์ของตนเองให้ดี และหลีกเล่ียงการดุด่า ตี หรือขู่ให้เด็กกลัว การให้แนวทางท่ช ี ัดเจน หมายถึง • • • • • •
การมีคำาแนะนำาท่ีชัดเจน ว่าเด็กควรประพฤติอย่างไร บอกเด็กว่าเราคาดหวังให้เขาทำาอะไร อธิบายเหตุผลให้เด็กรู้ด้วยว่าทำาไมจึงอยากให้เขาทำาเช่นนัน ้ คอยให้ความช่วยเหลือเพ่ ือให้เด็กทำาสำาเร็จ ส่งเสริมให้เด็กมีการใช้ความคิดอิสระ ให้มีการต่อรองได้ 3.
เข้าใจว่าเด็กคิดและรู้สึกอย่างไร
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
10
บางทีโดยไม่รู้ตัว ผู้ใหญ่อาจคาดหวังให้เด็กทำาอะไรท่ีเกินความสามารถและวัย ของเขา เช่น เราคาดหวังให้เด็กอายุสามขวบนัง่เฉยๆ เรียนหนังสือทัง้วัน เวลาท่ีเขา งอแงไม่ยอมนอนเราอาจคิดว่าเขาด้ือ หรือถูกตามใจจนเสียนิสัย เม่ ือส่ิงท่ีเราคาดหวัง ไม่ใช่ส่ิงท่ีเหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็กในวัยนัน ้ หรือเม่ ือเราคิดว่าเด็กตัง้ใจ ทำาตัวไม่ดี นัน ่ เป็ นช่วงเวลาท่ีสร้างความขัดแย้งให้เกิดขึ้น และความขัดแย้งนีแ ้ ก้ไขได้ ยากเพราะมันเกิดจากความเช่ ือท่ีผิดๆ ของเราเอง ถ้าเราพยายามมองและเข้าใจโลกผ่านสายตาของเด็กไม่ว่าจะอายุเพียงหน่ึงขวบ หรืออายุ 13 ปี เราจะเร่ิมเข้าใจเหตุผลต่างเบ้ืองหลังความประพฤติของเด็กๆ แล้วเราจะ สามารถเป็ นสอนเขาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน ้ จึงเป็ นเร่ ืองสำาคัญท่ีเราต้องเข้าใจ พัฒนาการทัง้ทางร่างกายและจิตใจอารมณ์ของเด็กๆ ตัง้แต่แรกเกิดจนกระทัง่เข้าสู่วัย รุน ่ จนกระทัง้เขาเป็ นผู้ใหญ่ เพ่ ือท่ีเราจะได้คอยให้ความรัก กำาลังใจ และคำาแนะนำาท่ี เหมาะสมกับเด็กแต่ละวัย และช่วยให้เขาเดินทางไปสู่เป้ าหมายระยะยาวท่ีเราวาดหวังไว้ ได้
ความสัมพันธ์ระหว่างเรากับเด็กๆ เร่ิมตัง้แต่แรกเกิดสำาหรับพ่อแม่ ในช่วงเดือน แรกๆ ของชีวิตพวกเขา เป็ นช่วงเวลาสำาหรับการสร้างความไว้วางใจในตัวเรา และสร้าง ความผูกพันระหว่างกัน ซ่ึงจะเป็ นรากฐานสำาคัญของความสัมพันธ์ระหว่างเรากับลูก ของเราตลอดไป งานของเราคือการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัยทัง้ทางร่างกายและ จิตใจสำาหรับเด็กเล็กๆ เหล่านี ส ้ ร้างสถานท่ีทค ่ี วามต้องการต่างๆ การตอบสนอง ท่ีท่ีจะไม่มีการตีหรือจับเขย่า ท่ีท่ีเด็กน้อยสามารถสำารวจทำาความรู้จัก ส่ิงต่างๆ ได้อย่างปลอดภัย และท่ีซ่ึงเขาจะได้รบ ั กำาลังใจ การปลอบใจ เม่ ือเขาตกใจ กลัว เราต้องเคารพในวิธีการส่ ือสารของเด็กๆ และทำาให้เขารู้ว่าพวกเขาไว้ใจเราได้ว่าเรา จะตอบสนองต่อส่ิงท่ีเขาส่ ือสารถึงเรา เม่ ือเด็กเล็กๆ ทำาความเข้าใจโลกรอบๆ ตัวมากขึ้น เราควรจะเร่ิมให้แนวทางท่ี ชัดเจนแก่เขาในสภาพแวดล้อมท่ป ี ลอดภัย โดยมองสถานการณ์ต่างๆ จากสายตาของ เด็กๆ ด้วย เพ่ ือท่ีเราจะสามารถให้แนวทางแก่พวกเขาได้อย่างสร้างสรรค์ เราต้อง ทำาความเข้าใจว่าเด็กกำาลังส่ ือสารอะไรกับเรา เวลาท่ีเขาร้องไห้ เวลาท่ีเขาบอกว่า “ไม่ เอา” หรือเวลาท่ีเขากระทืบเท้า งานของเราคือการสอนให้เขารู้จักแสดงอารมณ์ตา่ งๆ และแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นโดยไม่ใช้ความรุนแรง เม่ ือเขาโตขึน ้ อีกนิด เด็กๆ อยากเรียนรู้มากขึน ้ เร่ ือยๆ เราสอนเขาในเร่ ืองของ การเคารพตนเอง เม่ ือเราตอบคำาถามต่างๆ ของเขาอย่างให้เกียรติ เราสร้างแรงจูงใจให้ เด็กเรียนรู้มากขึ้นเม่ ือเราสนับสนุนให้เขาเรียนรู้และสำารวจส่ิงต่างๆ ด้วยตนเอง เรา ทำาให้เขามัน ่ ใจว่าเขาทำาส่ิงต่างๆ ได้ เม่ ือเราให้โอกาสเขาหาทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง เม่ ือเด็กเช่ ือว่าเขามีความสามารถ นัน ่ จะเป็ นการเตรียมเขาให้พร้อมสำาหรับการรับมือกับ ความท้าทายต่างๆ ท่ีเขาจะได้พบเม่ ือเติบโตขึน ้ เม่ ือถึงวัยเข้าเรียน ซ่ึงเป็ นช่วงเวลาท่ีคุณครูจะได้พบกับพวกเขา โลกของเขาขยาย กว้างขึ้นอย่างรวดเร็ว เด็กๆ ซ่ึงได้เห็นตัวอย่างจากพ่อแม่ จากคุณครู ในการจัดการกับ ความขัดแย้ง จัดการกับความโกรธ และความเครียด โดยไม่ใช้ความรุนแรงก้าวร้าว จะมี แนวโน้มท่ีจะจัดการกับความขัดแย้งได้ดี เด็กๆ ท่รี ู้สึกว่าตัวเองเป็ นคนดี มีความห่วงใย ผู้อ่ืน และมีความสามารถในการทำาส่ิงต่างๆ ได้ มีแนวโน้มท่ีจะตัดสินใจได้ดี เด็กๆ ท่ีได้ เรียนรู้ว่าเขาควรรับฟั งผู้อ่ืน ส่ ือสารกับผู้อ่ืน และปฏิบัติต่อผู้อ่ืนด้วยความเคารพและให้
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
11
เกียรติ เด็กๆ จะใช้วิธก ี ารอย่างเดียวกันกับเพ่ ือนๆ ของเขา และกับผูใ้ หญ่รอบๆ ตัวเขา เด็กๆ ท่ีรู้สก ึ ว่ามีผู้ใหญ่คอยให้กำาลังใจ และให้การยอมรับ จะมาขอคำาปรึกษาจากผู้ใหญ่ เม่ ือเขามีปัญหา สำาหรับเด็กวัยเร่ิมเข้าวัยรุ่น เขาจะมีความรู้สึกอยากเป็ นอิสระ เกิดการ เปล่ียนแปลงมากมายทางร่างกายและอารมณ์ของเขา เขาจะต้องการการยอมรับจาก เพ่ ือนๆ หน้าท่ีของผู้ใหญ่ตอนนีค ้ อ ื การให้กำาลังใจและสนับสนุนให้เขามีอิสระในการ ตัดสินใจเร่ ืองต่างๆ แต่ก็คอยอยู่ใกล้ๆเพ่ ือให้คำาแนะนำาและให้ความช่วยเหลือเม่ ือเขา ต้องการ ผู้ใหญ่ต้องช่วยให้เด็กเกิดการพัฒนาการตัดสินใจว่าส่ิงใดถูกส่ิงใดผิดได้ด้วย ตนเอง รวมทัง้การพัฒนาความรู้สก ึ รับผิดชอบ และความเช่ ือมัน ่ ในความสามารถของ ตนเอง ผู้ใหญ่จะคอยอยู่ไกล้ๆ เพ่ ือให้ความช่วยเหลือเสมอ เม่ ือมีความผิดพลาดเกิดขึ้น เด็กๆ ท่ีรู้วา่ ผู้ใหญ่รอบตัวเขา ทัง้พ่อแม่และคุณครู เป็ นคนท่ีเขาไว้ใจได้ เขาจะรับฟั งคำา แนะนำาของผู้ใหญ่มากขึน ้ เด็กๆ ท่ีได้รับการสนับสนุนและแนวทางจากผูใ้ หญ่ จะไปขอ คำาปรึกษาก่อนท่ีปัญหาจะเกิด ในวัยรุ่นตอนกลาง เด็กพยายามสร้างเอกลักษณ์ตัวตนของเขา เขาอาจเปล่ียน รุปแบบการแต่งตัว การฟั งเพลง ความสนใจในวิชาเรียน หรือแผนชีวิตในอนาคต เด็ก วัยรุ่นมักจะพยายามสร้างตัวตนท่ีต่างไปจากของผู้ใหญ่ใกล้ตัวอย่างพ่อแม่หรือคุณครู เขาจะฟั งเพลง แต่งกาย มีความคิดเห็น ท่ีต่างไปจากของผู้ใหญ่ และผู้ใหญ่อาจไม่ชอบใจ การพยายามแตกต่างไปจากผู้ใหญ่จะทำาให้เด็กๆ สามารถค้นหาตัวเองได้ง่ายขึ้น ในช่วงวัยรุ่นตอนปลาย ความไว้วางใจเป็ นเร่ ืองสำาคัญท่ีสุดสำาหรับเขา เด็กๆ ต้องการรู้ว่าผู้ใหญ่จะอยู่เสมอเม่ ือเขาต้องการ จะคอยให้คำาแนะนำา ข้อมูลต่างๆ ท่ีชัดเจน และตรงไปตรงมา ให้เขารู้ว่าผู้ใหญ่คาดหวังอย่างไรจากเขา และให้แนวทางท่ีจำาเป็ นต่อ การปฏิบัติตัวต่อเขา และสภาพแวดล้อมท่ป ี ลอดภัยสำาหรับเขา เด็กๆ อาจทำาอะไรผิด พลาดไปบ้าง ตราบใดท่ีผู้ใหญ่สร้างสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัยสำาหรับเขา ให้คำาแนะนำา ให้กำาลังใจ ให้ความสนับสนุน ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ใหญ่จะเป็ นความ สัมพันธ์ท่ีดี เข้มแข็ง ผู้ใหญ่จะสามารถคอยดูแลเด็กวัยรุ่นได้จากระยะห่างๆ และช่วยให้ เขาพัฒนาความเป็ นอิสระ เป็ นตัวของตัวเองได้ดี
4.
การแก้ปัญหา
เม่ ือเราได้กำาหนดเป้ าหมายระยะยาวในการเลีย ้ งดูเด็ก เรารู้ว่าการให้ความรัก ความอบอุ่นและให้แนวทางท่ีชัดเจนมีความสำาคัญมากแค่ไหน เราเข้าใจว่าเด็กคิดและ รู้สึกอย่างไรในแต่ละช่วงวัย เราจะสามารถนำาทัง้หมดนีม ้ ารวมกันเพ่ ือใช้ในการรับมือกับ ปั ญหาต่างๆ ด้วยวิธีการสร้างวินัยเชิงบวก การรับมือด้วยวิธีการสร้างวินัยเชิงบวกหมายความถึงการให้ความรักความอบอุ่น และแนวทางท่ีชัดเจนซ่ึงสอดคล้องกับความต้องการตามพัฒนาการแต่ละช่วงวัย และ เป็ นการสอนในส่ิงท่ีจำาเป็ นต่อการเจริญเติบโตทัง้ทางร่างกายและจิตใจของเด็กๆ เพ่ ือไป ให้ถึงเป้ าหมายระยะยาวท่ีเราตัง้ไว้ การสร้างวินัยเชิงบวกไม่เก่ียวกับการลงโทษ แต่ เป็ นการแก้ปัญหา ซ่ึงต้องใช้สติคิดพิจารณาและใช้การฝึ กฝนให้เคยชิน เม่ ือเราอยูใ่ นสถานการณ์ท่ีท้าทายเวลาท่ีเลีย ้ งดูหรือดูแลเด็กๆ อยู่ ลองคำานึงถึง ขัน ้ ตอนต่อไปนีก ้ อ ่ นท่ีจะตัดสินใจทำาอย่างใดอย่างหน่ึง
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก 1. 2. 3.
4.
5.
12
คิดถึงเป้ าหมายระยะยาวของเราสำาหรับเด็กๆ คำานึงว่าเด็กๆ ต้องการท่ีจะรู้สึกว่าได้รับการปฏิบัติด้วยอย่างให้เกียรติ ให้ความ เข้าใจ รูส ้ ึกปลอดภัย และได้รบ ั ความรักจากผู้ใหญ่ ถามตัวเองว่า เด็กต้องรู้อะไรบ้างเพ่ ือท่ีจะเข้าใจสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น และร่วมกัน แก้ปัญหา เราจะทำาอะไรได้บ้างเพ่ ือจะให้สถานการณ์นีช้ว่ ยให้เราบรรลุเป้ าหมาย ระยะยาวท่ีวางไว้ ทบทวนว่าเด็กในวัยนีค ้ ด ิ และรู้สึกอย่างไร อยู่ในช่วงพัฒนาการแบบไหน ลอง มองดูสถานการณ์จากมุมมองของเด็กๆ และคิดแบบเขาดู ลองถามตัวเองว่า ถ้า ให้เด็กๆ อธิบายสถานการณ์ตอนนี เ้ขาจะพูดอย่างไร จัดการกับสถานการณ์ด้วยวิธีการท่ท ี ำาให้เด็กๆ เห็นว่าเราให้เกียรติเขา ให้ข้อมูล ท่ีสำาคัญและจำาเป็ น และจะนำาไปสู่เป้ าหมายระยะยาวของเรา
การพยายามจะจัดการกับปั ญหาต่างๆ ด้วยวิธีการสร้างวินัยเชิงบวกไม่ใช่เร่ ืองง่าย นัก ดังนัน ้ จึงดีกว่าถ้าเราจะวางแผนไว้ล่วงหน้าว่าจะรับมือกับสถานการณ์ตา่ งๆ อย่างไร ดี และฝึ กปฏิบัติเม่ ือเกิดสถานการณ์ขึ้น
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
13
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
14
เสียงจากครู หน่งึ วันในชีวิตของครู
“ทุกๆ วันนีท ้ ่ีข้าพเจ้าเป็ นครูอยูเ่ พราะมีแรงบันดาลใจจากพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห ่ ัว พระบาทสมเด็จพระบรมราชินน ี าถ และสมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ ทรงเป็ นแบบอย่างในการช่วยเหลือบุคคลอ่ ืนโดยท่ีมริ ู้จักเหน็ดเหน่ ือย เม่ ือข้าพเจ้ามี โอกาสได้มาเป็ นข้าราชการ คือข้าของแผ่นดิน ข้าพเจ้าก็จะทำางานรับใช้แผ่นดิน ทำาความดี ทำาทุกอย่างท่ีจะช่วยเหลือผูอ ้ ่ ืนเท่าท่ีจะช่วยได้ โดยเฉพาะเด็กนักเรียนทุก คน ชุมชนท่ีข้าพเจ้าทำางานอยู่ เพราะโรงเรียนเป็ นหน่วยราชการท่ีอยู่ในชุมชนท่ีมี โอกาสช่วยเหลือชุมชนในเร่ ืองต่างๆได้มากท่ีสุด” อาจารย์ ถวิล ช่อเจีย ้ ง โรงเรียนบ้านแหลม จังหวัดตรัง “การท่ค ี รูจะต้องมาแบกรับภาระในการจัดการเรียนการสอนแล้วยังต้องมาทำา งานอ่ ืนๆ อีก ทำาให้บางครัง้เราก็ทำาอะไรไม่ถก ู ระหว่างท่ีต้องทำาการสอนกับงาน เอกสารหน้าท่ีอ่ืนท่ีเร่งด่วนต้องทำาเพราะสำาคัญทัง้คู่ เม่ ือสอนแล้วนักเรียนผล สัมฤทธิไ์ม่ดีก็ไม่ได้ การเงินพัสดุไม่ทำาก็ไม่ได้ บางครัง้ก็สับสน... น่าจะมีบุคลากร ทางการศึกษาท่ีไม่ใช่ครูมาทำาหน้าท่ี การเงิน พัสดุ งานธุรการ ฯลฯ เพ่ ือลดภาระ งานของครูลง ” ครูขาว (ทัง้ตัวและหัวใจ) โรงเรียนบ้านภูเขาทอง จังหวัดระนอง “ครูบางคน ไม่เคยสนใจไยดีต่อเด็กเลย... ปล่อยปละละเลย ไม่แนะนำาเด็ก ไม่ ให้กำาลังใจ ดุด่า ลงโทษเด็กด้วยความรุนแรง เขาคงคิดว่าการทำาโทษเช่นนีจ้ะทำาให้ เด็กกลัวและไม่กล้าทำาอีก แต่ในมุมหน่ึง เด็กเหล่านัน ้ เขามีจิตใจ เขาจะรู้สึกเจ็บปวด เช่นไร เด็กบางคนพูดกับผมด้วยจิตใจท่ีบริสุทธิว์่า “ทำาไมครูต้องลงโทษ ดุด่าเช่นนี้ ถ้าหากเป็ นลูกของครู ครูจะทำาเช่นนีไ้หม” ผมรู้สึกเจ็บปวดและซึมซับความรุนแรง กับคำาพูดท่ีเด็กแสดงออกมา ในการทำางานของผมนัน ้ ผมอยากได้กำาลังใจจากฝ่ ายบริหาร เพ่ ือนร่วมงาน ตลอดจนสังคมและหน่วยงานต่างๆท่ีเห็นความสำาคัญของเด็ก โดยอยากจะได้ความรู้ วิธก ี าร เทคนิค ในการอบรมสัมมนา ร่วมกันคิดค้นวิธีการแก้ปัญหาให้กับเด็กท่ีมี ปั ญหาหลากหลายแตกต่างกัน” โดย...นายมานะ สืบศักดิ โ ์ รงเรียนวัดสว่างอารมณ “ชีวิตการเป็ นครู มีทัง้ความสนุกสนาน ความทุกข์ ความข่ ืนขมปนเปกันไป... ด้วยวัยท่ีแตกต่างกัน บางครัง้ความคิดความอ่านไม่สามารถส่ ือถึงกันได้ นักเรียนชอบทำาในส่ิงท่ีตัวเองอยากทำา แต่ครูอยากให้นักเรียนทำาในส่ิงท่ีถูกต้อง แต่ บางครัง้นักเรียนไม่อยากจะทำา ดังนัน ้ จึงเป็ นโจทย์ปัญหาถามเราว่า เราจะทำาอย่างไร ให้นักเรียนอยากทำาให้ส่ิงท่ีถูกต้อง และนักเรียนชอบ นัน ้ ก็คือความท้าทายสำาหรับ เรา หน่ึงวันท่ีเกิดขึ้น ถึงแม้ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นมากมายก็ตามแต่คนท่ีขึ้นช่ ือว่าครู ซ่ึงมาจากทำาว่า ครุ ซ่ึงแปลว่า หนัก เราต้องไม่ย่อท้อต่อความยากลำาบาก ไม่ย่อท้อ ต่ออุปสรรค เพ่ ือลูกศิษย์ท่ีเรารัก เราต้องสร้างคนให้เป็ นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ให้จงได้” นายชัยณรงค์ นะบุตร โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑ จังหวัดกระบี่ “ส่ิงหน่ึงท่ีก่อตัวขึน ้ ทีละน้อยระหว่างชีวิตความเป็ นครู – ศิษย์ และฝั งลึกอยู่ ในใจของเรานัน ่ ก็คือ ความผูกพัน ความห่วงหาอาทร ความรักบริสุทธิท ์ ่ีมีให้กัน
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
15
และกัน และเป็ นส่ิงยัง่ยืนท่ีจะติดตัวพวกเขารวมทัง้พวกเราตลอดไป ถึงแม้พวกเขา จะก้าวออกไปจากรัว้โรงเรียนแต่ความห่วงใยท่ีมีให้ก็ไม่เคยเปล่ียนแปลง คนเป็ นครู จะคอยรับฟั งข่าวจากลูกศิษย์เสมอ และยังยินดีช่วยเหลือทุกอย่างเท่าท่ีกำาลังจะช่วย ได้ วันหน่ึง... ถ้าลูกศิษย์จบไปเป็ นคนดี มีหน้าท่ีการงานท่ีมัน ่ คง มีตำาแหน่งท่ี ใหญ่โต ครูคนนีก ้ ็ยินดีท่ีจะยกมือไหว้ลูกศิษย์ของตนด้วยความเต็มใจ เป็ นความ ภาคภูมิใจและมีความสุขท่ีสุดในชีวิตของความเป็ นครู ในวันนีพ ้ วกเขาอาจจะคิดไม่ ได้ แต่สักวันหน่ึงเม่ ือโตขึ้นพร้อมทัง้คุณวุฒิ และวัยวุฒิ วันนัน ้ พวกเขาก็คงจะ คิดถึงเรา.......เรือจ้าง” ครู ซี น้อย แต่ไม่ด้อยคุณค่าครู นางสาวกิตติมา สุดทอง โรงเรียนบ้าน ภูเขาทอง จังหวัดระนอง
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
16
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
17
ความคิดเห็นจากเด็กเก่ียวกับการสร้างวินัยในโรงเรียน - อยากเสนอปั ญหาให้ครูรบ ั ฟั ง
แต่ครูไม่ยอมฟั ง ทำาให้บางครัง้เราก็ต้องยอมรับกฎท่ีมี ปั ญหานีถ ้ งึ แม้รู้ว่าจะได้รบ ั โทษอย่างไร แต่ก็ยอมเพ่ ือจะได้แสดงให้ครูรู้ว่าเป็ นส่ิงท่ีเรา ต้องการเรียกร้องให้ครูแก้ไข - ถ้าได้รบ ั หน้าท่ีดูแลเพ่ ือน
แล้วเพ่ ือนไม่เช่ ือฟั งยังว่ิงเล่นกันในห้องเรียน บนอาคาร เรียน เราก็จะเอาไม้เรียวครูมาตีเพ่ ือน แต่บางครัง้เพ่ ือนก็ถีบเรากลับเหมือนกัน
- มีเพ่ ือนบางคนท่ีโดนทำาโทษแล้วโกรธครูมากๆ
ครัง้ว่ิงขึ้นข้ามบนรถ
- ของรางวัลมันไม่จำาเป็ น
ขอแค่ครูไม่ดุและรับฟั งเหตุผลของเด็ก แค่นีก ้ พ ็ อ
- ไม่ชอบเลยโดนตีเพราะเล่นลูกแก้ว
เห็น
ครูบอกว่าผิดกฎ ตอนนีเ้ลยต้องแอบเล่นไม่ให้ครู
- มีบางวิชาไม่ชอบครูเพราะครูเอาแต่ดุ
โดนลงโทษดีกว่า -ส่งสารเพ่ ือน
ร้องไห้
ก็จะแอบเอาตะปูไปดักล้อรถครู บาง
ด่าเก่ง เวลาครูสัง่การบ้านก็จะไม่ยอมทำาส่ง ยอม
ถ้าเพ่ ือนถูกโดนตี บางครัง้จะไม่ยอมมองเพ่ ือนตอนโดนตี มองแล้วเด๋ียว
- ถ้าเรามาเรียนท่ีโรงเรียนแล้วไม่ยอมรับกฎระเบียบอย่างเต็มใจตัง ้ แต่ตอนนี
ต่อเราตอนจบ
ก ้ ็จะมีผล
- โดนทำาโทษเพราะเล่น
ไม่ฟังครู จะโดนหยิกนม หยิกให้เจ็บจนแหกเลย บางทีก็โดนทุบ ไม่ชอบเพราะรุนแรงเกินไป - ถ้าครูลงโทษก็จะอยู่เฉยๆ
ดีกว่าไม่ตอบโต้ เพราะถ้าตอบโต้ครูจะมองว่า เราด้ือ พ่อแม่ ไม่สัง่สอน เร่ ืองเล็กอาจกลายเป็ นเร่ ืองใหญ่
- ก็เพราะมีกฎท่ีลงโทษนักเรียนด้วยวิธีรน ุ แรง
นักเรียนเลยใช้ความรุนแรงกลับ เพราะ หมัน ่ ไส้ว่าผิดแค่นิดหน่อยต้องลงโทษเรารุนแรงขนาดนัน ้ ก็มน ี ะท่ีนก ั เรียนตอบโต้ครู แกล้งครู ขีดรถ ปิ ดก๊อกน้ำามันรถ ถ้าระบายกับครูไม่ได้ก็จะระบายกับส่ิงของท่ีโรงเรียน เช่น เตะเก้าอีจ้นพังเพราะโกรธครู - มีบางเหตุการณ์ครูเข้าใจผิดคิดว่าเรากำาลังตบแย่งผู้ชายกัน
พอเราจะอธิบายครูก็ขู่ ตบ โต๊ะห้ามไม่ให้เราเถียง มีถึงขนาดกระชากคอเส้ือแล้วพูดหยาบ รู้สึกว่ามันแรงไป จน ทำาให้เราไม่อยากพูดความจริง รูส ้ ึกว่าส่ิงท่ีพวกเราทำานัน ้ จะผิดตลอดในสายตาของครู
- อึดอัดมากโดนครูด่าว่าโง่
ด่าถึงพ่อว่า พ่อก็โง่ ลูกก็โง่ มันทำาให้เจ็บใจ ถ้าเลือกได้ยอม โดนตีดีกว่าเจ็บตัวเดียวก็หาย เจ็บใจมันอยู่นาน - ถ้ามีเร่ ืองหนักใจร้ายแรงจะปรึกษาเพ่ ือนๆ
มากกว่าท่ีจะปรึกษาครู ถ้าทำาการบ้านไม่ เข้าใจยอมลอกการบ้านเพ่ ือนดีกว่าไปถามครู
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก -ไม่ชอบวิชาศิลปะ
18
วาดรูปไม่เก่ง พอเอางานส่งครู ครูบอกว่า อยู่ตัง้ ม.2 ยังวาดรูปเหมือน เด็กอนุบาล หมัน ่ ไส้ครูอย่างแรง ไม่ชอบวิชาศิลปะตัง้แต่วันนัน ้ เลย ตัง้แต่ถูกด่า พอขึ้น มาเรียนครูให้วาดก็วาดงัน ้ ๆ วาดให้เสร็จจะได้ส่งๆให้จบ ครูศิลปะด่าได้แรง
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
19
ความคิดเห็นจากเด็กเก่ียวกับการสร้างวินัยในโรงเรียน - อยากจะแก้ไขกฎบางข้อของโรงเรียน
เช่น การมาโรงเรียนสาย ครูจะไม่คอ ่ ยฟั งเหตุผล เหมือนกัน เวลาท่ีเรามาโรงเรียนสายบางครัง้ก็มีเหตุจำาเป็ นท่ีไม่ได้ขึ้นอยู่กับเรา มันขึ้น อยู่กบ ั คนขับรถรับส่งนักเรียน เขาต่ ืนสายเลยทำาให้เราต้องมาโรงเรียนสายไปด้วยถึงแม้ จะออกมารอแต่เช้า พยายามอธิบายแต่ครูไม่ยอมรับฟั ง เลยโดนหักคะแนน ทำาไมไม่มี หักคะแนนคนขับรถบ้างนะ - ถ้าเด็กทำาผิดครัง ้ แรกก็จะตักเตือน
แต่ถ้ายังไม่เช่ ือฟั งคราวนีพ ้ าขึ้นเวทีโชว์ตัวแล้วบอก ว่า คนนีท ้ ำาไม่ดี อย่าเอาเป็ นตัวอย่าง เห็นแล้วสงสารเพ่ ือน
- ครูคิดว่าถ้าตีแล้วเด็กจะเช่ ือฟั ง
ผมไม่ชอบ
บางทีก็มีหยิก แต่ท่ีไม่ชอบมากเลยคือครูใช้ไม้เขวีย ้ ง
- เวลาเรียนถ้าครูถามแล้วไม่ตอบจะโดนตีทัง ้ ห้องเรียนและเม่ ือถึงคาบเรียนแล้วนักเรียน
ไม่ไปตามครูมาสอน ก็จะโดนตีทัง้ห้องคนละ 1 ที หัวหน้าห้องจะโดน 3 ที สาเหตุท่ีไม่ไป ตามครูเพราะเพ่ ือนๆ ในห้องไม่อยากเรียนวิชานี ค ้ รูดุ - ไม่ชอบให้ครูลงโทษด้วยการตี
เพราะเจ็บและความผิดเร่ ืองเล็กๆ แค่ลืมของ อยากให้ ครูพูดจาดีๆ ตักเตือนแทนหรือเปล่ียนเป็ นการลงโทษแบบอ่ ืน เคยมีเด็กเล็กโดนตีเพราะ ไปท้าครูให้ตีรวดเดียว 10 กว่าที เด็กคนนัน ้ เครียดแอบมาอ้วกเลย - โดนด่าประจานหน้าเสาธง
รูส ้ ึกอึดอัด อายเพ่ ือนไม่ชอบเลย เพ่ ือนก็ล้อเหมือนตัวตลก แล้วปั ญหาก็ไม่ได้แก้ไข หรอก
- ถ้ามีเวทมนต์อยากเสกให้ครูเป็ นหุ่นยนตร์
เคร่ ืองเสียเลย
ครูจะได้ไม่ตี แถมอยากแกล้งครูก็แอบปิ ด
- ถ้าผิดจริงก็ยอมรับ
แต่ไม่ควรดุด่ากับนักเรียน ควรพูดให้ดีๆ บางทีเร่ ืองเล็กน้อยแค่บาง ครัง้ลืมการบ้านไว้ท่ีบ้านไม่ได้เอามาส่ง ครูบอกว่าเอาการบ้านไปให้พ่อเธอทำาหรือ
- ไม่ชอบเลยโดนครูตัดผมจนแหว่ง
เสียใจ แล้วก็อายเพ่ ือน เพ่ ือนชอบล้อ ครูน่าจะตัก เตือนกันก่อน / ไม่ชอบให้ครูตัดผมแหว่ง เป็ นแฉก น่าจะให้โอกาสกลับไปตัดผมมา ถ้า ยังไม่ทำาค่อยลงโทษ หรือบอกกันก่อนว่าจะมีการตรวจวันไหน - ก็เพราะมีกฎท่ีลงโทษนักเรียนด้วยวิธีรน ุ แรง
นักเรียนเลยใช้ความรุนแรงกลับ เพราะ หมัน ่ ไส้ว่าผิดแค่นิดหน่อยต้องลงโทษเรารุนแรงขนาดนัน ้ ก็มน ี ะท่ีนก ั เรียนตอบโต้ครู แกล้งครู ขีดรถ ปิ ดก๊อกน้ำามันรถ ถ้าระบายกับครูไม่ได้ก็จะระบายกับส่ิงของท่ีโรงเรียน เช่น เตะเก้าอีจ้นพังเพราะโกรธครู - มีครูบอกว่าถ้าทำางานไม่เสร็จไม่ต้องไปกินข้าว
แต่ครูออกไปกินข้าวก่อนแล้ว นักเรียน จะเหลืออะไรให้กิน ย่ิงทำาให้ไม่อยากทำางานส่ง ขีเ้กียจ พาลไม่ส่งงานไปเลย
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
20
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
21
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
22
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
23
กรณีศึกษาตัวอย่างการใช้แนวทางสร้างวินัยด้วยวิธีเชิงบวก ท่ีประสบผลสำาเร็จ
กรณีศึกษาท่ี 1 เร่ ือง ศึกษาการพัฒนาพฤติกรรมการมาเรียนของเด็กชาย
สิชล(นามสมมุติ)โดยใช้การสร้างวินัยเชิงบวก โรงเรียนบ้านลาหงา จังหวัด สตูล จากการใช้เทคนิคโดยการปรับพฤติกรรม สิชลมาโรงเรียนทุกวันและไม่มา โรงเรียนสาย และไม่ต้องให้ยายมาส่งถึงห้องเรียนไม่ต้องนัง่เฝ้ าสิชล สิชลเล่นกับเพ่ ือน มากขึ้น รับผิดชอบงานดีขึ้นในระดับหน่ึง ตัง้ใจทำางานท่ีได้รับมอบหมายมากขึ้น
จากกรณีตัวอย่างเร่ ืองศึกษาการพัฒนาพฤติกรรมการมาเรียนของเด็กชายสิชล(นาม
สมมุติ)โดยใช้การสร้างวินัยเชิงบวก โรงเรียนบ้านลาหงา จังหวัดสตูล จะเห็นได้ว่า
เป็ นการแก้ไขปั ญหาด้านพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ของนักเรียนเพียง 1 คน โดยครูผู้
สอนได้สังเกตเห็นและพบว่ามีนก ั เรียนจำานวนหน่ึงมีพฤติกรรมการมาเรียนสาย ขาด เรียนบ่อย เม่ ือพิจารณาเป็ นรายบุคคลได้พบว่า มีนักเรียนคนหน่ึงท่ีมีพฤติกรรมดัง กล่าวค่อนข้างรุนแรงจนถึงขนาดต้องให้ผู้ปกครองเฝ้ าหน้าห้องเรียนอยู่เป็ นประจำาเพ่ ือ ให้เข้าเรียน ดังนัน ้ เม่ ือครูวิเคราะห์จนทราบถึงสาเหตุของพฤติกรรมดังกล่าวแล้วจึง ดำาเนินการแก้ไขปั ญหาด้วยเทคนิคการสร้างวินัยเชิงบวกโดยการทำาสัญญากับสิชลด้วย การเร่ิมให้ความสนใจและเข้าหาสิชลและพูดคุยเป็ นการส่วนตัวถามสาเหตุการมา โรงเรียนสายและการขาดเรียนบ่อยของสิชล พูดคุยเหตุและผลให้ฟัง สร้างข้อสัญญากัน ว่าถ้าสิชลครูจะให้รางวัล และร่วมสัญญากับเพ่ ือนร่วมชัน ้ โดยสัญญากันว่าถ้าทุกคนมา เรียนคบครูจะให้รางวัลแก่นก ั เรียนถ้าสิชล อยากให้เพ่ ือนได้รางวัลด้วยสิชลต้องมา โรงเรียนทุกวัน จากนัน ้ มอบหมายงานให้สิชลรับผิดชอบเป็ นหัวหน้าห้อง คอยช่วย เหลือเพ่ ือนและครู เม่ ือเวลาว่างครูจำาให้ความสำาคัญจะให้เขาช่วยงานภายในห้องเรียน นอกจากนีค ้ รูยังให้ความเป็ นกันเองด้วยการทักทายสิชลทุกครัง้เม่ ือสิชลมาโรงเรียนและ กล่าวชมเชยว่าสิชลเป็ นคนเก่งมาโรงเรียนทุกวันและไม่มาโรงเรียนสาย พูดคุยกับสิชล โอบไหล่ โดยครูถอ ื โอกาสอบรม ปลูกฝั งความเป็ นคนดี การมาเรียนทุกวันและไม่มา สายจะช่วยสิชลอย่างไรบ้าง ซ่ึงพบว่าหลังจากครูใช้เทคนิคการสร้างวินัยเชิงบวกดัง กล่าวแล้ว สิชลมีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีดีขึ้นโดยมาโรงเรียนทุกวันและ ไม่มาโรงเรียนสาย และผู้ปกครองไม่ต้องนัง่เฝ้ าหน้าห้องเรียน เล่นกับเพ่ ือนมากขึ้น รับผิดชอบงานและตัง้ใจทำางานท่ีได้รับมอบหมายมากขึน ้
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
24
กรณีตัวอย่างท่ี 2 เร่ ืองการแก้ปัญหาพฤติกรรมรบกวนในชัน ้ เรียนของ นักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 67 (บ้านนาพรุ)
จังหวัดระนอง
จากการแก้ปัญหาพฤติกรรมรบกวนในชัน ้ เรียน ของ เด็กชายแนน (นามสมมุติ)
ท่ีมีพฤติกรรม ชวนเพ่ ือนคุย เฉล่ีย 7.66 ครัง้ต่อ 30 นาที แหย่เพ่ ือนในเวลาเรียน 2 ครัง้ต่อ 30 นาที หยอกล้อเฉล่ีย 2 ครัง้ต่อ 30 นาที และเดินไปเดินมาเฉล่ีย 4.66
ครัง้ต่อ 30 นาที เม่ ือใช้เทคนิคการเตือนตนเองเป็ นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า สามารถ แก้ปัญหาได้อย่างดี พฤติกรรมชวนเพ่ ือนคุยลดลงเหลือ 0.5 ครัง้ต่อ 30 นาที หรือ
เหลือชัว่โมงละ 1 ครัง้ ลดลงได้รอ ้ ยละ 93.47 พฤติกรรมหยอกล้อและพฤติกรรมเดิน ไปเดินมาลดลงเหลือ 0.33 ครัง้ต่อ 30 นาที หรือเหลือชัว่โมงละไม่ถึง 1 ครัง้ และ พฤติกรรมแหย่เพ่ ือนในเวลาเรียน ไม่ปรากฏอีก นัน ่ คือลดลง ร้อยละ 100
จากกรณีศึกษาเร่ ืองการแก้ปัญหาพฤติกรรมรบกวนในชัน ้ เรียนของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 พบปั ญหาท่ีสำาคัญมาก คือ การมีพฤติกรรมรบกวนในชัน ้ เรียนของ
เด็กชายแนน (นามสมมุติ) ได้แก่ การชวนเพ่ ือนคุย แหย่เพ่ ือนในเวลาเรียน หยอกล้อ
เดินไปเดินมา ฯลฯ ซ่ึงเป็ นปั ญหาต่อตัวนักเรียนเอง คือ ไม่ได้ฟังครูผู้สอน ไม่ได้ทำา กิจกรรมการเรียนรู้ ทำาให้ไม่เข้าใจในส่ิงท่ีเรียน ปั ญหาต่อครูผู้สอน คือ ทำาให้ รบกวนสมาธิในการสอน อาจทำาให้หยุดชะงักการสอน ต้องคอยเตือนเสียเวลากับการ แก้ปัญหา ทำาให้การเรียนการสอนขาดคุณภาพหรือลดคุณภาพลง ปั ญหาต่อเพ่ ือนใน ชัน ้ คือ รบกวนการเรียนทำาให้เพ่ ือนขาดสมาธิ เรียนไม่เข้าใจอาจทะเลาะกันหรืออาจ ร่วมรบกวนในชัน ้ เรียนด้วยทำาให้ปัญหาเพ่ิมขึ้น การแก้ไขแต่เดิมครูเคยใช้วธ ิ ีการดุว่า ลงโทษต่าง ๆ แต่นักเรียนก็ยังมีพฤติกรรมดังกล่าวอยู่ ครูตอ ้ งเลือกใช้เทคนิคการสร้าง วินัยเชิงบวกโดยคือ เทคนิคการเตือนตนเอง (Self-Monitoring) ร่วมกับการร่วมกันกำาหนด เป้ าหมายระหว่างครูกับนักเรียนว่าจะเลิกพฤติกรรมรบกวนในชัน ้ เรียนทัง้ 4 ประเภท โดยใช้ช่วงเวลา 4 สัปดาห์โดยให้นก ั เรียนเตือนตนเองไม่ให้มีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม
ประกอบกับใช้แบบบันทึกพฤติกรรมและแบบสังเกต พร้อมทัง้ให้นักเรียนดูผลจากการ บันทึกและการสังเกต ทำาให้นักเรียนทราบว่าตนเองมีพฤติกรรมอย่างไร ซ่ึงพบว่า นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีดีขึ้นโดยบางพฤติกรรมมีปริมาณลดลงและบางพฤติกรรมหายไป
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
25
กรณีศึกษาท่ี 3 เร่ ืองแนวทางแก้ไขปั ญหานักเรียนขาดความรับผิดชอบต่อ
ตนเองในการทำาความสะอาดโรงเรียนในบริเวณท่ีรับผิดชอบของนักเรียน ชัน ้ ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ถึงมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียนบ้านบางกล้วยนอก จังหวัดระนอง
นักเรียนส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อตนเองดีขึ้น มีความกระตือรือร้นในการ ช่วยกันทำาความสะอาดในบริเวณท่รี ับผิดชอบโดยท่ีครูเวรประจำาวันไม่ต้องบอกให้ทำา เม่ ือเห็นขยะนักเรียนก็ช่วยกันเก็บ มีความสามัคคีรู้จักช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน นอกจาก นีจ้ากการวิจัยพบว่า ในการนำาธงสะอาดมาใช้แก้ปัญหานักเรียนขาดความรับผิดชอบต่อ ตนเอง ในการทำาความสะอาดโรงเรียนบริเวณท่ีรบ ั ผิดชอบ ทำาให้นักเรียนมีความรับผิด ชอบมากขึ้น นักเรียนช่วยกันทำาความสะอาดเพ่ ือท่ีจะได้รบ ั ธงสะอาด และเม่ ือครบ สัปดาห์จะมีการประกาศห้องเรียนท่ีผ่านเกณฑ์การประเมินจะได้รับการยกย่องให้เป็ น ห้องเรียนยอดเย่ียมทำาให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นท่ีจะช่วยกันทำาความสะอาด มี ความสามัคคีในหมูค ่ ณะ และรู้จักช่วยเหลือซ่ึงกันและ ไม่น่ิงดูดายเม่ ือเห็นเพ่ ือน ๆ ทำาความสะอาด นักเรียนก็จะช่วยกันทำาความสะอาดโดยท่ีครูเวรประจำาวันไม่ต้องคอย บอกให้ทำา หรือคอยว่ากล่าวตักเตือน ปั ญหานักเรียนขาดความรับผิดชอบต่อตนเองในการช่วยกันรักษาความสะอาด โรงเรียนบริเวณท่ีรับผิดชอบ ไม่ช่วยกันทำา คนใดท่ท ี ำาก็จะทำาอยู่ตลอด คนใดไม่ทำาก็ ไม่ทำาเลย ต้องให้ครูเวรประจำาวันคอยบอกให้ทำา ต้องไปเรียก ต้องไปใช้ถึงจะไปทำา บางคนก็แอบอยู่ข้างโรงเรียนโดยท่ีไม่ยอมเข้ามา รอให้เพ่ ือน ๆ เข้าแถวก่อนถึงจะมา โรงเรียน เคยทำาโทษโดยการตีก็ไม่ได้ผลเท่าท่ค ี วร บางคนยอมให้ตีโดยไม่ยอมทำาเวร เคยให้ว่ิงรอบสนามนักเรียนก็ยอมว่ิง หรือทำาโทษโดยการถอนหญ้าเจ้าชู้ นักเรียนก็ ยอมถอน เคยเรียกนักเรียนท่ีไม่ช่วยกันทำาความสะอาดมาสอบถามถึงปั ญหานักเรียน มักจะบอกว่า ขีเ้กียจครับ ลืมทำาครับ และส่วนใหญ่จะเป็ นผู้ชายมากกว่าผู้หญิง การ แก้ไขมีการนำาแนวทางท่ีโรงเรียนอ่ ืนเคยใช้ได้ผลดีมาปรับใช้ โดยการประชุมนักเรียน เพ่ ือช่วยกันหาแนวทางในการแก้ไขปั ญหาและให้นักเรียนช่วยกันเสนอบทลงโทษให้ กับนักเรียนท่ียังขาดความรับผิดชอบในการไม่ช่วยกันทำาความสะอาดยังบริเวณท่ีรับผิด ชอบ และครูจัดแบ่งบริเวณสถานท่ีในการทำาความสะอาดของแต่ละชัน ้ เรียน รับสมัคร นักเรียนแกนนำาท่ีจะทำาหน้าท่ีในการเช็คช่ ือเป็ นรายวัน ลงในแบบบันทึกการทำาความ สะอาดรอบบริเวณโรงเรียน ในชัว่โมงประชุมวันศุกร์สุดสัปดาห์ ครูเวรประจำาวันจะ รวบรวมห้องเรียนท่ีได้รับธงสะอาดมากท่ีสุด เพ่ ือประกาศห้องเรียนท่ีทำาความสะอาดได้ ยอดเย่ียมประจำาสัปดาห์ พร้อมทัง้กล่าวคำาชมเชยและมีของรางวัลมอบให้เพ่ ือเป็ นของ ขวัญกำาลังใจในการทำาความดีและเป็ นการเสริมแรงทางบวก เช่น ให้ขนม ให้ดินสอ ไม้บรรทัด และประกาศห้องเรียนท่ีทำาความสะอาดได้ไม่ผ่านเกณฑ์ประจำาสัปดาห์ พร้อมกล่าวคำาให้กำาลังใจแก่นักเรียนเพ่ ือให้นักเรียนเกิดแรงกระตุน ้ ในการช่วยกัน ทำาความสะอาดให้ดีย่ิงขึ้นในสัปดาห์ต่อไป
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
26
กรณีศึกษาท่ี 4 เร่ ือง การแก้ปัญหาพฤติกรรมขาดความมั่นใจในการอ่าน
หนังสือของเด็กชายอาร์มโดยใช้วินัยเชิงบวก โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู จังหวัดตรัง
ครูสุวิทย์ คุย ่ ปรัง ได้มีการทดลองใช้กระบวนการวินัยเชิงบวกในการแก้ไขปั ญหา พฤติกรรมเด็กชายอาร์มท่ีขาดความมัน ่ ใจในการอ่านหนังสือ อ่านถูกบ้างไม่ถูกบ้าง พอ อ่านคำาผิดๆ เพ่ ือนจะพากันหัวเราะ ล้อเลียนจนทำาให้ขาดความมัน ่ ใจเพ่ิมมากขึ้น ทำาให้ ครูสุวิทย์ต้องหาวิธีแก้ไข การใช้วิธีเสริมแรงสร้างความมัน ่ ใจให้เด็กชายอาร์มเม่ ืออ่านได้ ถูกต้องครูจะชมและให้กำาลังใจพร้อมกับอธิบายให้เห็นว่าการอ่านหนังสือทำาให้เรามี ความรู้กว้างไกล สามารถนำามาใช้ในชีวิตประจำาวันเราได้ รูข ้ ่าวสารและสามารถนำาส่ิงท่ีรู้ ไปพูดคุยแลกเปล่ียนกับผู้อ่ืนได้ เด็กชายอาร์มจะได้รับการบ้านทุกวันโดยครูจะให้มาอ่านพาดหัวข่าว ข้อความข่าว ในหนังสือพิมพ์ให้ครูฟังเหมือนเป็ นนักข่าวในทีวีรายงานข่าวให้เพ่ ือนๆ ในห้องฟั ง ยัง เป็ นการส่งเสริมให้นก ั เรียนคนอ่ ืนได้สนใจเร่ ืองการอ่านไปด้วย ครูยังได้ชีแ ้ นะเพ่ิมเติม เพ่ ือให้เด็กชายอาร์มได้รู้จักวิธีการใช้ห้องสมุด นักเรียนสามารถเข้าไปค้นคว้าหรือหา หนังสือท่ีสนใจได้หลากหลาย หลังจากครูสุวิทย์ได้ใช้กระบวนการวินัยเชิงบวกแก้ไข ปั ญหาพฤติกรรมการอ่าน เด็กชายอาร์มมีความมัน ่ ใจ อ่านออกเสียงดังชัดถ้อยชัดคำา ไม่ กลัวว่าจะถูกหรือผิด บางครัง้จะนำาเร่ ืองท่ีตนเองแต่งจากภาพมาอ่านให้เพ่ ือนๆ ในห้อง ฟั งด้วยความภาคภูมิใจ จนทำาให้เพ่ ือนๆ สนใจท่ีจะอ่านให้ได้แบบเด็กชายอาร์ม
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
27
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก
Save the Children Regional Office for Southeast Asia Pacific 14th Floor, Maneeya Center South Building, 518/5 Ploenchit Road, Pathumwan, Bangkok, 10330 Thailand
28
พัฒนาผู้เรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก Tel: (66-2) 684-1046, 684-1047 Fax: (66-2) 684-1048
29