Ole

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Ole as PDF for free.

More details

  • Words: 6,441
  • Pages: 45
บทที่ 9

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา

ทฤษฎีความรู้ของศาสตร์สมัยใหม่

(Modern Science's Epistemology) -------------ความนำา

การแสวงหาความรู้เป็ นแรงกระตู้นภายในของมน้ ษย์ผู้มีความ

กระหายอยากรู้ อ ยากเห็ น และตู อ งการตอบขู อ สงสั ยของตน นั บ แต่

อดีตมาจนปั จจ้บัน มน้ ษย์จะถามปั ญหาและพัฒนาความคิ ดของตน อย่างต่อเนื่ องจนกลายเป็ นการคูนพบความรู้ความจริงและเทคโนโลยี

อันทันสมัยเพราะมน้ ษย์มีความสามารถในการแกูปัญหาทั้งบอกวิธีแกู ปั ญหาเอาไวูดูวย

ปั ญหาพื้ นฐานทางปรัชญาคือการแสวงหาคำา ตอบเกี่ยวกับความ

จริงในสิ่งต่อไปนี้

1. ปั ญหาเรื่องธรรมชาติของมน้ ษย์ การที่จะเขูาใจมน้ ษย์เราจะ

ตูองทราบว่ามน้ ษย์คืออะไร โดย

แบ่งการคูนควูาออกเป็ น 2 ประเด็นคือ อะไรเป็ นตัวเนื้ อแทูหรือธาต้

แทูของมน้ ษย์ ตัวเนื้ อแทูน้ ั นมีองค์ประกอบอะไรบูาง ประเด็นต่อมาก็ คือ มน้ ษย์ดำา เนิ น ชีวิตไปอย่างไร พฤติกรรมของมน้ ษย์จะมีลักษณะ อย่างไรเป็ นอิสระถือถ้กกำาหนดเอาไวูตายตัว

2. ปั ญหาเรื่อ งธรรมชาติ ข องโลก ในประเด็ น นี้ ก็ ม่้ ง ศึ ก ษาว่ า

อะไรเป็ นแก่นแทูของโลกและจักร

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 153 วาล มี อ งค์ ป ระกอบอะไรบู า ง โลกและจั ก รวาลดำา เนิ นไปอย่ า งไร

เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร

3. ปั ญหาความสั มพั นธ์ ระหว่ างโลกกั บ มน้ ษย์

ประเด็ น นี้ เป็ น

ปั ญหาทางทฤษฎีความรู้ท่ีจะศึกษาว่า มน้ ษย์กับโลกมีค วามสั มพั นธ์

กั น ในร้ ป แบบใด ทั้ง นี้ ด้ จากความคิ ดหลั ก ของแต่ ล ะกล่้ ม ว่ า จะมี ม้ ม

มองธรรมชาติของโลกและมน้ ษย์อย่างไร เขาก็จะแจงแบบแห่งความ สัมพันธ์ออกมาตามทัศนคติของตน

4. ปั ญหาความสัมพันธ์ระหว่างมน้ ษย์กับมน้ ษย์ นั ่ นคือ มน้ ษย์

มิใช่ชีวิตเดียวที่อาศัยอย่้บนโลก แต่มน้ ษย์ยังมีเพื่อนมน้ ษย์คนอื่นๆ ร่ ว มอาศั ย อย่้ และการจะจั ด ร้ ป แบบความสั ม พั น ธ์ ข องตนกั บ เพื่ อน

มน้ ษย์ออกมาเป็ นแบบใดนั้ นก็ จะขึ้นอย่้ กับ ความคิ ดเห็น ในเรื่องชีวิ ต โลก และจักรวาลของผู้น้ ั นเป็ นเกณฑ์เช่นเดียวกัน

หากจำาเป็ นจะตูองสร้ปความคิดการมองโลกและชีวิตของมน้ ษย์

คงรวมไดู 2 กล่้มหลักๆ คื อ กล่้ มปรัช ญาจิ ตนิ ย ม(รวมเอาเหต้ ผ ล นิ ยมเขูาดูวย)และกล่้มปรัชญาวัตถ้นิยม และประวัติศาสตร์ของปรัชญา ที่ยาวนานมาร่วม 2500 ปี ก็เกิดจากความขัดแยูงทางความคิดของสอง กล่้มหลักนี้

ประเด็ น ที่ ค วรศึ ก ษาในบทที่ 9 นี้ เกี่ ย วกั บ ทฤษฎี ค วามรู้ ข อง

ศาสตร์ ส มั ย ใหม่ ซึ่ ง ผู้ เ ขี ย นขอเลื อ กเพี ย ง สองศาสตร์ ท่ี ทำา หนู า ที่ คูนหาองค์ความรู้อย่างจริงจัง ทั้งถ่ายทอดกระบวนการเรียนรู้ แสดง บทบาทที่สำาคัญต่อวิชาการและเทคโนโลยีปัจจ้บัน ไดูแก่

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 154 1. วิท ยาศาสตร์ อาจจะกล่ าวไดู ว่ าเป็ นตั ว แทนของสำา นั ก

ปรัชญากล่้มวัตถ้นิยม ดูวยเหต้ผลที่

ว่ า ปรั ช ญาสายวั ต ถ้ นิ ยมเป็ น ฐานใหู เ กิ ด การคิ ดคู น ความรู้ ท าง วิทยาศาสตร์ อีกประการหนึ่ ง ยิ่งความรู้ทาง

วิทยาศาสตร์เจริญมากเท่ าใด ความจริงทางวิทยาศาสตร์ก็จะถ้ กคูน พบมากเท่านั้ น ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในปั จจ้บัน ไดูพิส้จน์ใหูเห็นว่า

แนวคิดทางปรัชญาสายวัตถ้นิยมมีความถ้กตูองและมีความน่าเชื่อถือ กว่า แนวคิดทางปรัชญาสายจิตนิ ยม

2. ศึ กษาศาสตร์ เป็ นศาสตร์ ท่ี ว่ า ดู ว ยกระบวนการเรีย นรู้ แ ละ

เทคนิ คการถ่ายทอดความรู้ของมน้ ษย์อย่างเป็ นระบบ นั บแต่อดีตมา

จนปั จจ้บัน นั กการศึกษาไม่ไดูจำากัดอย่้เฉพาะปรัชญาสายใดสายหนึ่ ง

หากเป็ นตัว แทนทั้ งสายจิตนิ ย ม เหต้ผลนิ ย ม และสายวัตถ้นิ ยมดูว ย ซึ่งจะเห็นไดูอย่างชัดเจนในส่วนที่ว่าดูวยทฤษฎีการศึกษา 9.1 ทฤษฎีความรู้ของวิทยาศาสตร์

9.1.1 ความหมายของวิทยาศาสตร์

นั กคิดทางตะวันตกใหูความหมายของวิทยาศาสตร์ไวูหลาย

ทรรศนะ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

1) วิทยาศาสตร์เ ป็ นตั วความรู้ เป็ นการสื บคู นหรือ

วิธีการหาความรู้ และเป็ นแนวทางในการคิ ดแสวงหาความเขู าใจใน ธรรมชาติ 1

1

A.T.Collect and Eugene Chiappetta, Science introduction in the

Middle and Secondary Schools, (Columbia, Ohio : Charles E. Merrill

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 155 2) วิทยาศาสตร์ตูองเกี่ยวขูองกับประสบการณ์ตรง มีการ

สืบคูนหรือการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ และมีการเก็ บรวบรวม

ขูอม้ล วิทยาศาสตร์ตูองมีการจัดกระทำา และการตีความหมายขูอม้ลที่

รวบรวมไวูโดยใชูวิธีการที่มีเหต้ผล นอกจากนี้ วิทยาศาสตร์ตูองมีการ สรู างสรรค์ มี ความพยายามที่ จะอธิ บ ายและเขู า ใจธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดลูอมต่างๆ โดยตรง

โดยใชูประสบการณ์ท่ีมากกว่าการใชูประสาทสัมผัส

2

3) วิทยาศาสตร์เป็ นการเรียนการสะสมความรู้อย่าง

เป็ นระบบที่ ใ ชู เ กี่ ย วกั บ ปรากฏการณ์ ธ รรมชาติ ความกู า วหนู า ทาง วิทยาศาสตร์ไม่ไดูอย่้ท่ีการสะสมขูอเท็จจริงเท่านั้ น แต่รวมถึงวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ดูวย

3

สร้ปความว่า วิทยาศาสตร์เป็ นวิชาที่สืบคูนหาความจริงเกี่ยวกับ

ธรรมชาติ โดยใชูกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ วิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เพื่อใหูไดูมาซึ่งความรู้ วิทยาศาสตร์ท่ีเป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไป

4

Publishing Company, 1986), p.5. 2

John W. Renner, and Don G. Stafford, Teaching Science in the

Secondary School,(New York : Harper & Raw Publishers,1972), pp. 1 - 4. 3

Arthur A. Carin and Robert B.Sund, Teaching Modern Science. 2nd.

ed.,(Columbus, Ohio : Charles E. Merrill Publishing Company, 1975), pp.4 6.

4

ภพ เลาหไพบ้ลย์, การสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา, (เชียงใหม่ :

โรงพิมพ์เชียงใหม่คอมเมอร์ เชียล, 2534), หนูา 2.

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

156 9.1.2 ปรัชญาและวิทยาศาสตร์

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา

ไดูทราบความหมายโดยย่อพอเป็ นที่เขูาใจถึงกระบวนการ

ทางวิ ท ยาศาสตร์ ว่ า มี แ บบฉบั บ เป็ นเอกลั ก ษณ์ อ ย่ า งไรแลู ว ต่ อ ไปนี้ มาพิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับวิทยาศาสตร์ท้ ังจ้ดร่วม

และจ้ดต่างเพื่อทราบถึงการสรูางองค์ความรู้จากสาขาวิชาทั้งสอง

เมื่อกล่าวถึงปรัชญา โดยทัว่ ไปก็คิดถึงวิช าที่ว่าดูวยเรื่อง

จิต มน้ ษย์ และสรรพสิ่งในโลก

เท่าที่สติปัญญาของมน้ ษย์สามารถจะรับรู้ไดูพูนขอบเขตของประสาท สัมผัส

5

หากจะจำากัดขอบเขตก็จะเห็นว่า ปรัชญาเป็ นระบบความคิด

ในการแสวงหาความรู้ ภ าคทฤษฎี

ในขณะที่ วิ ท ยาศาสตร์ เ ป็ นการ

ศึกษาที่เป็ นระบบเป็ นกระบวนการและสามารถพิส้จน์ออกมาไดูเป็ นร้ป ธรรม ในภาคปฏิบัติการ

ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ มีจ้ดเริม ่ ตูนที่การแสวงหาความรู้

เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ

ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราที่เราไดูคู้นเคยและไดูประสบอย่้เสมอ อธิบายปรากฏการณ์น้ ั นดูวยเหต้ผล

ปรัชญาจะ

ทางตรรกวิทยา แต่วิทยาศาสตร์ จะอธิบายปรากฏการณ์น้ ั นดูวยสิ่งที่ สามารถรับรู้ไดูทางประสาทสัมผัส

วิทยาศาสตร์กับปรัชญาแต่ก่อนยังไม่ไดูแยกจากกัน เพราะ

แต่เดิม วิทยาศาสตร์ก็เป็ นสาขา 5

ส้พจน์ ศ้ภก้ล, ปรัชญาและประวัติวิทยาศาสตร์ (เอกสารชุดที่ 3), (เชียงใหม่

: ภาควิชามัธยมศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2538), หนูา 3.

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 157 หนึ่ ง ของปรัช ญา ที่ เ รีย กว่ า ปรัช ญาธรรมชาติ (Natural Philosophy)

แต่การแสวงหาคำาตอบทางวิทยาศาสตร์ในย้คเริม ่ ตูนมักจะลึกซึ้งและ

พูนขอบเขตของขูอที่จะยอมรับกันไดูทางประสาทสัมผัส

ต่อมากระ

บวนการทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ แมูจะเริม ่ ตูนจากปรัชญาแต่หันมา แสวงหาความรู้ความจริง ดู วยการคู นควูาเอาจากความเป็ นจริงหรือ

ปรากฏการณ์รอบตัว โดยไม่ไดูอาศัยเพียงการนึ กคิด คาดเดาเอาเอง ดูวยเหต้ผล แต่มีวิธีเฉพาะของตนที่เรียกว่า วิธีวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)

6

ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับวิทยาศาสตร์ มีมาตั้ ง แต่

แรกเริม ่ แต่จ้ดแยกอย่้ท่ีวิธีการที่เป็ นร้ปธรรมของวิทยาศาสตร์ เพื่อ ใหูเห็นภาพความสัมพันธ์ชัดเจน เบอร์ทรันด์ รัสเซล นั กปรัชญาชาว อังกฤษร่วมสมัยใหูความเห็นว่า

"ปรัชญาด้จะอย่้กึ่งกลางระหว่างเทววิทยากับวิทยาศาสตร์

เหมื อ นเทววิ ท ยาตรงที่ ว่ าดู ว ยเรื่อ งที่ ไม่ ส ามารถหาความรู้ ไ ดู อ ย่ า ง

แน่นอน

แต่เหมือนวิทยาศาสตร์ตรงที่ใชูหลักเหต้ผลยิ่งกว่าจะ

อาศัยอำานาจอื่นใดมาเป็ นเกณฑ์ ถือกันมาก่อน

หรือว่าหลักแห่งความเชื่อนั้ นไดูมาโดยรหัสนั ยจาก

พระผู้เป็ นเจูาก็ตาม ของวิทยาศาสตร์ ของเทววิทยา ของปรัชญา" 6

ไม่ว่าจะเป็ นหลักเกณฑ์ท่ีเคยเชื่อ

ขูาพเจูาถือว่า

ความรู้ท่ีแน่นอนเป็ นเรื่อง

หลักคำาสอนที่อย่้เหนื อความรู้ท่ีแน่นอนเป็ นเรื่อง

ช่องว่างระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทววิทยาเป็ นเรื่อง

7

ส้วัฒก์ นิ ยมคูา, ทฤษฎีและทางปฏิบัติในการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะ

หาความรู้ เล่ม 1, (กร้งเทพฯ : เจเนอรัลบุ้คเซ็นเตอร์ ,2531), หนูา 81

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 158 ปรัช ญาโดยทั ่ว ไปคื อ การแสวงหาความรู้ โ ดยวิ ธี ก ารคาด

คะเนและใชูเหต้ผลทางตรรกวิทยาจึงยากที่จะไดูคำาตอบที่ตรงกับความ

จริง และยากที่จะไดู คำา ตอบที่แน่นอนตายตัว เพราะขาดการทดลอง พิส้จน์

เดียวกัน

แมู ว่ า จ้ ด เริ่ม ของวิ ท ยาศาสตร์ แ ละปรัช ญาจะมาจากที่

ถือว่าอย่้ในกล่้มความรู้แนวเดียวกัน แต่จ้ดต่างมีมากอาจ

แยกออกมาไดู 4 ประการ คือ

8

1. ตั ว ความรู้ ท่ี แ สวงหา ปรัช ญาแสวงหาตั ว ความรู้ ที่ เ ป็ น

ส่วนรวมหรือเป็ นหนึ่ งเดียว โดยพยายามหาหลักการใหญ่ๆมาอธิบาย โลกและจักรวาล วิทยาศาสตร์เนูนตัวความรู้ท้ ังความจริงส่วนเล็กและ

ส่ ว นใหญ่ แต่ แ ยกเป็ นส่ ว นๆ เช่ น วิ ท ยาศาสตร์ ส าขาฟิ สิ ก ส์ เคมี เป็ นตูน

2. วิธีการที่ใชูในการแสวงหาความรู้ ปรัชญาโดยส่วนมาก

ใชู วิ ธี คิ ด หาเหต้ ผ ลแต่ เ พี ย งอย่ า งเดี ย วในการอธิ บ ายความเป็ นจริง ์ ราศจากประสาทสัมผัสเขูามาเกี่ยวขูอง เพื่อจะไดูความรู้ท่ีบริส้ทธิป

วิทยาศาสตร์ใชูวิธีการวิทยาศาสตร์ท่ีอย่้บนฐานของประสบการณ์ทาง ประสาทสัมผัสและอาศัยเหต้ผลเชิงตรรกศาสตร์เป็ นเครื่องมืออีกอย่าง

หนึ่ ง นั ่ น คื อ วิ ท ยาศาสตร์ ยื น ยั น ว่ า ความรู้ ตู อ งเกิ ด ภายหลั ง การมี ประสบการณ์ 7

Bertrand Russell, A History of Western Philosophy, p.13; ส้พจน์ ศ้ภ

ก้ล, ปรัชญาและประวัติวิทยาศาสตร์ (เอกสารช้ดที่ 3) หนูา 8 - 9. 8

ส้วัฒก์ นิ ยมคูา, เล่มเดียวกัน, หนูา 82 - 83. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 159 3. ขอบเขตของความรู้ ปรั ช ญาศึ ก ษาทั้ งสิ่ ง ที่ อ ย่้ ใ น

ขอบเขตของร้ ป ธรรมและสิ่ ง ที่ อ ย่้ เ หนื อ การรับ รู้ ท างประสาทสั ม ผั ส ส่วนวิชาวิทยาศาสตร์กำาหนดสิ่งที่จะศึกษาไวูท่ีการรับรู้ทางประสาท

สัมผัสเฉพาะสิ่งที่เป็ นร้ปธรรมเท่านั้ น เหนื อไปกว่านั้ นไม่ใช่หนูาที่ทาง วิทยาศาสตร์

4. ปรัชญาเป็ นส่วนเริม ่ และส่วนต่อของวิทยาศาสตร์ วิธี

การทางวิ ท ยาศาสตร์ เ ป็ นวิ ธี ท่ี ส ร้ ป ความรู้ ไ ดู ดี ท่ี ส้ ด หากจะถามว่ า เพราะเหต้ใดจึงว่าเป็ นวิธีดีท่ีส้ด วิทยาศาสตร์จะตอบไม่ไดู ตัวอย่าง กฎแห่งสาเหต้และผล จะนำา มาอธิบายโดยวิธีการทางประจักษ์คงยาก จึงตูองอธิบายโดยวิธีการทางปรัชญาแทน ดังนั้ นปรัชญาที่อธิบายว่า

วิทยาศาสตร์คืออะไร ศึกษาเรื่องอะไร โดยวิธีการอย่างไร มีธรรมชาติ เป็ นอย่างไร เป็ นตูน จึงนั บว่าเป็ นปรัชญาวิทยาศาสตร์

ดังนั้ น ลักษณะเฉพาะของปรัชญาและวิทยาศาสตร์จึงสร้ป

ไดู ว่ า เรื่อ งอะไรที่ ความคิ ดเห็ น ยั ง ไม่ เ ป็ นที่ ต กลงยอมรับ กั น ไดู อ ย่ า ง

แน่นอน ถือว่าอย่้ในขอบเขตของปรัชญา แต่เรื่องอะไรที่มีความคิด

เห็ น เป็ นที่ ต กลงยอมรับ กั น โดยทั ่ว ไป ใหู ถื อ ว่ า อย่้ ใ นขอบเขตของ วิทยาศาสตร์

9.1.3 ธรรมชาติและลักษณะของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์เป็ นการคู นหาความลี้ ลับ ของธรรมชาติ

โดยใชู ก ระบวการทางวิ ท ยาศาสตร์ จึ ง ไม่ ไ ดู ตั ว ความรู้ วิ ท ยาศาสตร์

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 160 9 ลู ว น ๆ ห า ก ป ร ะ ก อ บ ดู ว ย วิ ธี ก า ร ที่ จ ะ ไ ดู ค ว า ม รู้ นั้ น ม า ดู ว ย

กระบวนการวิทยาศาสตร์นับแต่เริม ่ ตูน จนถึงบทสร้ปเป็ นองค์ความรู้ นั้ น มี 3 ขั้นตอนคือ

1) ขั้ นตั้ งคำา ถามเชิ ง วิ ท ยาศาสตร์ ในกรณี ที่ พ บ

ปรากฏการณ์ท่ีน่าพิศวงนั กคิดจะตั้งคำาถาม 3 ประเด็นคือ

(1) อะไร (What) เกิดขึ้นบูาง การสังเกต

และบันทึกขูอม้ลจะช่วยใหูนักคิดไดูวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรูางเป็ นองค์ ความรู้ โดยจะช่วยคูนหาสิ่งที่ยังไม่รู้

(2) อย่างไร (How) มันจึงเกิดขึ้นมา การ

ตั้งคำาถามนี้ จะช่วยใหูนักคิดลำาดับเหต้การณ์อะไรเกิดก่อนและอะไรเกิด หลัง หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ เพื่อเป็ นเครื่องมือตั้งขูอ สมม้ติฐานและการคาดคะเนหาคำาตอบ

(3) เพราะเหต้ ไ ร (Why )มั น จึ ง เกิ ด ขึ้ น

มาไดู คำาถามนี้ จะทำาใหูนักคิดคูนหาคำาอธิบายปรากฏการณ์น้ ั นแลูวตั้ง เป็ นทฤษฎี

2) ใชูกระบวนการทางวิทยาศาสตร์คูนหาคำาตอบ นั ่น

คือ การสังเกต การวัด การหาความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางกับเวลา การจัดประเภท การคำา นวณ การถ่ายทอดผลงาน

การพยากรณ์

การลงขูอวินิจฉัย การควบค้มตัวแปร การแปลผลจากขูอม้ล การตั้ง สมม้ ติ ฐ าน การกำา หนดนิ ย มเป็ นเชิ ง พฤติ ก รรม การทดลอง การ ตีความหมาย 9

ส้วัฒก์ นิ ยมคูา, การสอนวิยาศาสตร์แบบพัฒนาความคิด, หนูา 11. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 161 3) การสร้ ป เป็ นองค์ ค วามรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์

จำา แนกออกเป็ น ความรู้ ค วามจริง เชิ ง เดี่ ย ว(Fact) ความรู้ ค วามจริง

ห ลั ก (Principle) ก ฎ (Law) ค ว า ม คิ ด ร ว บ ย อ ด (Concept)แ ล ะ ทฤษฎี(Theory)

ลักษณะสำา คัญของวิทยาศาสตร์ เครื่องบ่งชี้ที่สำา คัญอันจะ

เป็ นตั ว บอกว่ า อะไรเป็ นวิ ท ยาศาสตร์ สามารถจำา แนกออกไดู 4 ลักษณะ คือ

10

1. วิทยาศาสตร์ไดูจากประสบการณ์ และทดสอบดูวย

ประสบการณ์ เป็ นความรู้ท่ีไดูจากประสาทสัมผัส ใชูวิธีอ้ปนั ย คือการ สั ง เกตปรากฏการณ์ แ ละอธิ บ ายปรากฏการณ์ หมายถึ ง การอาศั ย

ขูอม้ลเชิงเดี่ยว(Fact) จากเฉพาะกรณี แลูวสร้ปความจริงสากลออกมา วิธีอ้ปนั ยเป็ นหัวใจของวิทยาศาสตร์

2. วิ ท ยาศาสตร์ เ ป็ นสาธารณะ หมายถึ ง ความรู้ ตู อ ง

สามารถทดลองใหูท้กคนเห็นประจักษ์ไดูเหมือนกัน

3. วิทยาศาสตร์มีลักษณะสากล คือขยายความรู้แบบสากล

ใหูมากที่ส้ด

4. วิ ท ยาศาสตร์ ช่ ว ยในการคาดหมายอนาคต คื อ

สามารถช่วยใหูเราคาดหมายสิ่งที่จะเกิดในอนาคตไดู

อีกประการหนึ่ งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มีธรรมชาติเฉพาะ

คือ

10

ส้พจน์ ศ้ภก้ล, ปรัชญาและประวัติวิทยาศาสตร์, หนูา 34. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 162 เป็ นความรู้เชิงประจักษ์ ที่ไดูมาจากประสบการณ์ทาง

ผัสสะ

เป็ นความรู้ไดูมาโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งอาจ

เป็ นกระบวนการ หรือ วิธีทางวิทยาศาสตร์ก็ไดู จริงเฉพาะราย

มีลักษณะเป็ นความจริงสากลมากกว่าที่จะเป็ นความ มี ลั ก ษณะที่ ยั ง ไม่ เ ป็ นความจริง ที่ ส มบ้ ร ณ์ มี เ พี ย ง

ความน่าจะเป็ นไปไดู แต่ก็สอดคลูองกับความเป็ นจริงที่มีความน่าเชื่อ ไดูส้ง ยังตูองมีการแกูไขปรับปร้งเพื่อความสมบ้รณ์มากยิ่งขึ้น

มีลักษณะเป็ นปรนั ย คื อท้ กคนสามรถเขู าใจตรงกัน

สื่อความหมายและแปลไดู ตรงกัน ทดสอบในสภาพแวดลูอ มที่ คลู าย กันผลย่อมปรากฏออกมาคลูายกันเสมอ

สร้ปความว่า วิทยาศาสตร์ประกอบดูวยลักษณะ 2 ประการ

คือ การเขูาใจธรรมชาติ และการยกระดับความเขูาใจธรรมชาติใหูส้ง ขึ้น

9.1.4 ลักษณะและระดับของความรู้

ในบทที่ 1 ไดูกล่าวถึงความหมาย ลักษณะและระดับความ

รู้ มาบูางแลู ว แต่กล่าวในกรอบความคิ ดทางปรัช ญาเพี ย งดู านเดี ย ว

ยังไม่ครอบคล้มความรู้ในสาขาอื่นๆ เพื่อใหูเห็นภาพแบบมหภาคของ ลักษณะความรู้อย่างหมดสิ้น องค์การย้เนสโกไดูรวมความรู้บรรดามีใน โลก จำาแนกเป็ นกล่้มไดู 8 สาขาวิชา ดังนี้ 11

11

ส้วัฒก์ นิ ยมคูา, เพิ่งอูาง,หนูา 1 - 2. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 163 1) กล่้มวิชามน้ ษยศาสตร์(Humanities) เป็ นความรู้ท่ีควรรู้

เพื่อคงความเป็ นมน้ ษย์เอาไวู

เช่ น วิ ชา โบราณคดี ประวั ติศ าสตร์ ภาษาศาสตร์ ปรัช ญา จิ ตวิ ท ยา เป็ นตูน

2) กล่้ ม วิ ช าสั ง คมศาส ตร์ (Social Sciences) เป็ น

ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมของมน้ ษย์ใน

สังคมเพื่อทำาใหูมน้ ษย์อย่้ร่วมกันดูวยความเป็ นระเบียบเรียบรูอยและมี ความส้ข เช่นวิชารัฐศาสตร์ เศรษฐ

ศาสตร์ ภ้มิศาสตร์ สังคมวิทยาเป็ นตูน

3) กล่้ ม วิ ช าศึ ก ษาศาสตร์ (Education)เป็ นความรู้ เ กี่ ย วกั บ

วิชาคร้และการศึกษาท้ก

ประเภท เช่นการฝึ กหัดคร้ การบริหารการศึกษา พลศึกษาเป็ นตูน

4) กล่้มวิชาวิจิตรศิลป์ (Fine Arts) เป็ นความรู้เกี่ยว

กับความประณี ตงดงาม เช่นสถาปั ตยกรรมศาสตร์ วาดเขียน ดนตรี ละครเป็ นตูน

5) ก ล่้ ม วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ธ ร ร ม ช า ติ (Natural

์ ี่ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติ ไดูแก่ ฟิ สิกส์ Sciences)เป็ นความรู้บริส้ทธิท เคมี ชีววิทยา ดาราศาสตร์เป็ นตูน

6) กล่้ ม ความรู้ วิ ช าวิ ศ วกรรมศาสตร์ (Engineering)

เป็ นการนำา เอาวิ ท ยาศาสตร์ ธ รรมชาติ บ างสาขาไปสรู า งความรู้ เ ชิ ง

ปร ะ ย้ กต์ เ ช่ น ค ว า มรู้ เ กี่ ย ว กั บ กา ร ก่ อ ส รู าง กา ร ทำา เ ห มื อ ง แร่ วิศวกรรมเครื่องกลเป็ นตูน

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 164 7) ก ล่้ ม วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก า ร แ พ ท ย์ (Medical

Sciences)เป็ นการนำา เอาความรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ธ รรมชาติ บ างสาขาไป

สรูางความรู้เชิงประย้กต์เพื่อรักษาโรคภัยไขูเจ็บ บำาร้งส้ขภาพอนามัย เช่น

แพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ สาธารณส้ขศาสตร์เป็ นตูน

8) กล่้ ม วิ ช าเกษตรศาสตร์ (Agricultural Sciences)

เป็ นการนำาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติบางสาขาไปสรูางความ รู้เชิงประย้กต์ เช่นการผลิตนมจากโค สัตวบาล การประมง การป่ า ไมู การกสิกรรมเป็ นตูน

ลักษณะของความรู้ทางวิทยาศาสตร์

ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ต่ างจากความรู้ แขนงอื่ น ๆ

ดูวยเอกลักษณ์ต่อไปนี้

12

1. ความรู้ ทางวิ ทยาศาสตร์ เ กิ ดขึ้ นซำ้ าซากเสมอและ

ตู อ งไดู ผ ลเหมื อ นเดิ ม ไม่ เ หมื อ นความรู้ แ ขนงอื่ นๆที่ เ กิ ด เพี ย งครั้ง เดียวจะไม่เกิดซำ้าสอง เช่น ประวัติศาสตร์สงครามโลก จะเกิดกี่ครั้งก็ เป็ นสงคราม แต่ต่างกันที่สาเหต้และผลลัพธ์

2. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีลักษณะเป็ นปรนั ย มี

ความถ้กตูองในตัวเองไม่มีขูอโตูแยูงไดูกฎเกณฑ์แน่นอนตายตัว

3. ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ เ ป็ นวิ ช าสากล ใชู ก ฎ

เกณฑ์เดียวกันทัว่ โลกไม่จำากัดเป็ นของชาติใดชาติหนึ่ ง ไม่เหมือนวิชา ประวัติศาสตร์ไทย ประวัติศาสตร์อเมริกันเป็ นตูน 12

ส้วัฒก์ นิ ยมคูา, เรื่องเดียวกัน , หนูา 14 -15. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 165 4. ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ มี ก ารสะสมถ่ า ยทอด

เพิ่มพ้น ไม่มีวันส้ญหาย สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์คูนพบจะถ้กเก็บเอาไวู เป็ นมรดกใหูอน้ ชนไดูศึกษาและขยายความรู้ต่อยอดออกไปไดูเสมอ ระดับความรู้

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ส ามารถแบ่ง ออกไดู 2 ระดับ

คือ

1. ความรู้ในระดับโลกของประสบการณ์ทางประสาท

สัมผัส

2. ความรู้ในระดับความคิด หรือโลกของทฤษฎี ประเภทความรู้ทางวิทยาศาสตร์

ความรู้ท่ีจัดว่าเป็ นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไดู จะตูองตั้ง

อย่้บนฐานแห่งเงื่อนไข 3 ประการคือ

13

1. จ ะ ตู อ ง เ ป็ น ค ว า ม รู้ ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ ห รื อ

ปรากฏการณ์ของธรรมชาติ

2. ตู อ งไดู จากการใชู กระบวนการสื บ เสาะหาความรู้

แบบวิทยาศาสตร์เขูาศึกษาคูนควูา เป็ นความจริง

3. จะตูองเป็ นความรู้ท่ีผ่านการทดสอบยืนยันแลูวว่า

ดังนั้ น

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จึงเป็ นผลผลิตจากการใชู

กระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ คูน ควู า สามารถจำา แนกออกไดู เ ป็ น 6 ประเภท คือ 13

ส้วัฒก์ นิ ยมคูา, ทฤษฎีและการปฏิบัติในการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะ

หาความรู้ เล่ม 1, หนูา 111.

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 166 1. ขูอ เท็จจริงเชิง เดี่ ย ว(Facts) หมายถึ งขูอ ม้ล ดิ บ ที่ ยัง ไม่

ไดูจัดเป็ นระเบียบ เป็ นสิ่งที่ไดูมาจากการสังเกตเหต้การณ์ท่ีเกิดแต่ละ ครั้ง ไม่ว่าจะเคยเกิดหรือกำาลังเกิด

จะไม่เปลี่ยนแปลงคลาดเคลื่อน

มาก แมูจะสังเกตหลายครั้ง ความรู้เกี่ยวกับขูอเท็จจริงจะไม่มีลักษณะ พยากรณ์อนาคต เพราะเหต้การณ์ยังไม่เกิด ในทางวิทยาศาสตร์

ความรู้เกี่ยวกับขูอเท็จจริง (Fact)กับ

ความจริง (Truth)จะเป็ นสิ่งเดียวกัน หรือบนเสูนทางเดียวกัน ไม่ต่าง กั น เพราะขู อ เท็ จ จริง จะตู อ งเป็ นความจริง หากไม่ ใ ช่ เ ป็ นความจริง

ความรู้ทางวิท ยาศาสตร์ท่ี จะสรู างจากขู อเท็จจริงจะไม่ เป็ นความจริง

และเชื่อไม่ไดู นำาไปใชูไม่ไดูดูวย ดังนั้ น ขูอเท็จจริงจะตูองสังเกตไดู โดยตรง และตู องคงความจริงไวูไดู โ ดยสามารถสาธิ ตทดสอบไดู ผ ล เหมือนกันท้กครั้ง

2. ความคิ ด รวบยอด(Concepts) หรือ มโนคติ หมายถึ ง

ความคิดความเขูาใจที่สร้ปเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ ง หรือ เรื่องใดเรื่อง

หนึ่ ง อั น เกิ ด จากการสั ง เกต หรือ ไดู ร บ ั ประสบการณ์ เ กี่ ย วกั บ สิ่ ง นั้ น

หลาย ๆ แบบแลูวใชูค้ณลักษณะของสิ่งนั้ นหรือเรื่องนั้ นนำามาประมวล เขูาดูวยกันใหูเป็ นขูอสร้ปหรือคำาจำากัดความของสิ่งใดสิ่งหนึ่ งหรือเรื่อง

ใดเรื่องหนึ่ ง มโนคติเป็ นความรู้ความเขูาใจของแต่ละบ้คคลเกี่ยวกับ วัตถ้หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ โดยนำาความรู้มาสัมพันธ์กับประสบการณ์ เดิม

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 167 ความคิดรวบยอดหรือมโนคติทางวิทยาศาสตร์ อาจเกิดจาก

การนำาเอามโนคติหลายอย่างสัมพันธ์กันอย่างมีเหต้ผล และมีลักษณะ เป็ นสากล แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ

14

1. มโนคติเกี่ยวกับการแบ่งประเภท(Classificational

Concepts) เป็ นคำาอธิบายชี้แจงค้ณสมบัติ บอกค้ณสมบัติรวม นำาไป

ใชูบรรยายวัตถ้หรือปรากฏการณ์น้ ั นๆ เช่น สัตว์มี 2 ประเภทคือ มี กระด้กสันหลังและไม่มีกระด้กสันหลัง

2. มโนคติทางทฤษฎี(Theoretical Concepts) เป็ น

ความพยายามที่จะอธิบายค้ณลักษณะของบางสิ่งหรือปรากฏการณ์บาง สิ่ ง ที่ ไ ม่ อ าจสั ง เกตไดู โ ดยตรงทั้ งหมด

แต่ มี ห ลั ก ฐานเป็ นเหต้ ผ ล

สนั บสน้ นแลูวสรูางเป็ นความเขู าใจของตนเอง เช่น โปรตีน เป็ นสาร อาหารที่อย่้ในเนื้ อสัตว์

3. ม โ น ค ติ เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ (Correlational

Concepts) เป็ นการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสาเหต้และผล นำาไป ใชู ใ นการทำา นายหรือ พยากรณ์ เ หต้ ก ารณ์ ต่ า งๆไดู เช่ น อาหารใหู พลังงาน ทำาใหูร่างกายอบอ่้น 4.

ห ลั ก ก า ร วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ห รื อ ก ฎ ข อ ง

ธรรมชาติ (Principles or Laws) คำา ทั้งสองนี้ มี ความหมายคลูายคลึง กันมากและใชูแทนกันไดู

หลักการ (Principles) เป็ นความจริงที่สามารถใชูเป็ นหลัก

อูางอิงไดู หลักการเป็ นการนำามโนคติท่ีเกี่ยวกับกับความสัมพันธ์ซ่ึงไดู 14

ภพ เลาหไพบ้ลย์, การสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา,หนูา 4. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 168 รับการทดสอบว่าเป็ นจริงแลูว มาผสมผสานกันแลูวนำา ไปใชูอูางอิง

ต่างๆ หลักการตู องเป็ นความจริง ที่ส ามารถตรวจสอบไดู และไดู ผล เหมือนกัน มีความเป็ นปรนั ยและเขูาใจตรงกัน

กฎ (Laws) คื อ หลั ก การอย่ า งหนึ่ ง เป็ นขู อ ความที่ ร ะบ้

ความสัมพันธ์ระหว่างเหต้กับผลผ่านการทดสอบจนเป็ นที่เชื่อถือไดูมา แลู ว หากมี ผ ลใดขั ด แยู ง กฎนั้ นตู อ งเลิ ก ไป กฎอาจไดู ม าจากการ

อน้ มาน(Deduction) จากทฤษฎีและอ้ปมาน(Induction)จากการนำาเอา ขูอเท็จจริงมาผสมผสาน

5. ส ม ม้ ติ ฐ า น ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ (Scientific

Hypotheses) เป็ นขู อ ความที่ ค าดคะเนคำา ตอบ ที่ ผู้ คิ ด ยั ง ไม่ ท ราบคำา

ตอบอั น อาจเป็ นไปไดู ห รือ ไม่ ไ ดู ข องปั ญหาที่ กำา ลั ง ศึ ก ษา โดยอาศั ย ขูอม้ลและความรู้เดิมเป็ นพื้ นฐาน หรืออาจคาดคะเนจากความเชื่อหรือ

ความบันดาลใจของนั กคิดก็ไดู คำาตอบยังไม่ทราบว่าจริงหรือเท็จตูอง

ทำา การทดสอบโดยการทดลอง โดยการหาหลั ก ฐานมาคั ด คู า นหรือ สนั บสน้ นสมม้ติฐานนั้ นๆเสียก่อน

6. ทฤษฎี(Theory) เป็ นขูอความที่เป็ นที่ยอมรับกัน

โดยทัว่ ไปในการอธิบายกฎ หลักการหรือขูอเท็จจริง อันเป็ นขูอความ ที่ใชูอธิบายหรือทำานายปรากฏการณ์ต่างๆนั ่นเอง

ทฤษฎีกับกฎมีระดับความลึกที่ต่างกัน คือ กฎ อธิบายโดย

ใชูความสัมพันธ์ระหว่างเหต้กับผลเป็ นหลัก คือบอกไดูว่า ผลนั้ นเกิด จาดสาเหต้ใด เหต้กับผลสัมพันธ์กันอย่างไร แต่ไม่บอกว่า เพราะเหต้

ใดจึงตูองสัมพันธ์กันเช่นนั้ น ทฤษฎี สามารถอธิบายความสัมพันธ์ใน อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 169 กฎไดู เช่น การอธิบายกฎว่า “ถูาเอาขั้วเหมือนกันของแม่เหล็กวาง

ใกลูกันมันจะผลักกัน ถูาขั้วต่างกันมันจะด้ดกัน” นี่ เป็ นความสัมพันธ์

ในร้ ปของกฎ แต่ไม่ อาจบอกว่ า ทำา ไมตูอ งเป็ นเช่ นนั้ น จึง ตูอ งอาศั ย ทฤษฎีโมเลก้ลแม่เหล็กมาช่วยอธิบายจึงจะเขูาใจ

ทฤษฎีจะน่าเชื่อหรือไม่ใหูด้เงื่อนไขต่อไปนี้ คือ

ตูองอธิบายกฎ หลักการหรือขูอเท็จจริงของเรื่องราว

ทำานองเดียวกันไดู

ตูองอน้ มานออกไปเป็ นกฎหรือหลักการบางอย่างไดู ตูองทำานายปรากฏการณ์ท่ีอาจเกิดตามมาไดู

ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ แ มู จ ะแบ่ ง ไดู 6 ประเภท แต่ เ มื่ อจั ด

ระดับแลูวคงไดูเพียง 3 ระดับ คือ

15

1. ระดั บ ปรากฏการณ์ หรือ ขู อ เท็ จ จริง ที่ บ อกว่ า มี

อะไรเกิดขึ้นบูางจากการสังเกตและการวัด ไดูขูอม้ลที่น่าเชื่อถือไดู

2. ระดับหลักการหรือกฎที่บอกความสัมพันธ์ระหว่าง

เหต้กับผลว่าสัมพันธ์กันอย่างไร

3. ระดับ ทฤษฎี ที่อธิ บายความสั มพั นธ์ ท่ีมีอย่้ ในกฎ

ไดู เช่นบอกว่าเพราะเหต้ไรจึงเกิดปรากฏการณ์เช่นนั้ นไดู

9.1.5 ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ ท า ง

วิทยาศาสตร์(Process of Science)

วิทยาศาสตร์เป็ นศาสตร์ท่ีม่้งแสวงหาความรู้ความจริงของ

ปรากฏการณ์ต่าง ๆ และอธิบายออกมาจนเป็ นที่ยอมรับกันไดู และ 15

ส้วัฒก์ นิ ยมคูา, เรื่องเดียวกัน , หนูา 127 -128. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 170 ถื อ ว่ า เป็ นความรู้ ส ากล นั กวิ ท ยาศาสตร์ เ มื่ อมี ค วามสนใจในการ

แสวงหาความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ จำา เป็ นตู อ งใชู ก ระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ และขั้นตอนในการสืบเสาะแสวงหาความรู้แบบมีลำา ดับ เป็ นวงจรเรียกว่า ระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)

โดยอาศัยระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์น้ ี นั กวิทยาศาสตร์ท้กคน

จะทำางานคลูายกันในลำาดับการหาคำาตอบ เมื่อพบปั ญหา จะใชูวิธีการ

แกูปัญหาในแนวทางเดียวกัน นั ่นคือ เริม ่ ตูน ณ จ้ดหนึ่ ง และทำาต่อ เนื่ องกั น ไปตามลำา ดั บ ขั้ น ตอน

จนถึ ง จ้ ดส้ ดทู ายก็ จะครบวงจรของ

การแกูปัญหา หากมีการผิดพลาดอยากตรวจ ณ จ้ดใดก็สามารถจะ

ทบทวนตรวจสอบไดูตามวงจรนั้ นๆ ระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์หลักๆ มี 4 ขั้น ตอน

16

คือ

1. ขั้นระบ้ปัญหา(Recognize & State Problem) หมายถึง

เมื่อพบปรากฏการณ์แลูวจะตูองตั้งคำาถามเพื่อระบ้ปัญหาและกำาหนด

ขอบเขตของปั ญหา ตู อ งใหู ชั ด เจนและไม่ กำา กวม ส่ ว นมากมั ก ตั้ ง

คำาถามที่ตูองการคำา ตอบ ทั้งถามหาสาเหต้ความสมพันธ์และถามเพื่อ

ตูองการคำาอธิบายเชิงทฤษฎี เช่น อะไร อย่างไร และทำาไม เสร็จแลูว ตูองกำาหนดขอบเขต ขีดวงทั้งระบ้ขอ ู จำากัดของสิ่งที่จะศึกษาใหูชัด

2. ขั้นตั้งสมมติฐาน(Make a Hypothesis) หมายถึง การ

ค า ด ค ะ เ น ห า คำา ต อ บ ที่ ไ ดู จ า ก ขู อ ม้ ล บ น ฐ า น ข อ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ สมมติฐานสรูางจากขูอม้ลที่ไดูจากการสังเกต อาศัยประสบการณ์เดิม

และความรู้เดิมที่เกี่ยวขูอง ผนวกความคิดสรูางสรรค์และใชูวิธีอ้ปมาน 16

ภพ เลาหไพบ้ลย์, การสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา, หนูา 10. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 171 (เปรียบเทียบ)เขูาช่วย สมมติฐานอาจมีหลายอัน แต่ท่ีถ้กมีเพียงหนึ่ ง

ตูองตรวจสอบตามลำาดับจนไดูคำาตอบ

3. ขั้นรวบรวมขูอม้ล(Gather Evidence) หมายถึง เมื่อจะ

ตรวจสอบสมมติฐานว่าจริงหรือเท็จ ตูองรวบรวมขูอม้ลหรือหลักฐาน

มาสนั บ สน้ น การรวบรวมขูอ ม้ ล ก็ ใ ชู ตามวิ ธีก ารทางวิ ท ยาศาสตร์ ใ หู มากพอที่จะเชื่อถือไดู

4. ขั้นสร้ปผล(Reach a Conclusion) หมายถึงขั้นแปลผล

ตีความหมาย ของขูอม้ลที่ไดูหาความจริงที่ปรากฏในตัวขูอม้ล อธิบาย

เป็ นความรู้ ส้ ด ทู า ย อาจเป็ นการสมนั ย หรือ ขั ด แยู ง กั บ ขู อ สมมติ ฐ าน ก็ไดู บทสร้ปที่ถ้กตูองจึงถ้กตั้งเป็ นทฤษฎี หรือ กฎ ส่วนบทสร้ปที่ขัด แยูง ก็กลายเป็ นปั ญหาใหม่ใหูทำาการศึกษาต่อไป

มีนักวิทยาศาสตร์บางท่านไดูเพิ่มขั้นตอนเขูามาอีก เป็ น 6 ขั้น

17

ดังนี้

1. ขั้ น ระบ้ ขู อ ความของปั ญหา 2. ขั้ นตั้ งสมมติ ฐ าน 3.

ขั้ น การสื บ เสาะหาขู อ ม้ ล หลั ก ฐานเพื่ อทดสอบสมมติ ฐ าน 4. ขั้ น

ประเมินความเที่ยงตรงของสมมติฐ าน 5. ขั้นทบทวนสมมติฐ านถู า จำาเป็ น 6. ขั้นนำาขูอสร้ปไปใชูกับปั ญหาอื่นที่คลูายกัน

ดั งนั้ น การแสวงหาความรู้ท างวิท ยาศาสตร์ เป็ นลั กษณะ

ของการเปลี่ยนแปลงการสะสมความรู้ประเภทต่างๆ นั บแต่ ขูอเท็จ จริง มโนคติ ห ลั ก การ กฎ ทฤษฎี สมมติ ฐ าน การตรวจสอบ การ 17

Louis I. Kuslan and A. Harris Stone, Teaching Children Science: an

Inquiry Approach, (Belmont : Wadsworth Publishing Company, 1969, pp.15 -16.

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 172 พยากรณ์ของความรู้ประเภทต่ างๆจึง เป็ นสรูางเสริมความเชื่ อมั น ่ ใน

ความรู้เดิม ระบ้ปัญหาใหม่ ตั้งสมมติฐ านและไดูคูนพบความรู้ใหม่ๆ

ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ตู อ งไม่ ห ย้ ด นิ่ ง เพราะขู อ เท็ จ จริง ย่ อ มมี ใ หม่ เสมอ

9.1.6 การถ่ายทอดความรู้

ในทางวิทยาศาสตร์ การถ่ายทอดความรู้

ทางวิทยาศาสตร์เป็ นหลักดังที่

ก็ตูองใชูวิธีการ

กล่าวมาแลูว หากจะแบ่งส่วนคงจำา แนกไดูเป็ น 3 มีรายละเอียดดังนี้ คือ

9.1.6.1 คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ผู้ อ ย า ก เ ป็ น นั ก

วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ตู อ ง มี อ้ ป นิ สั ย เ ฉ พ า ะ ที่ เ รี ย ก ว่ า มี เ จ ต ค ติ ท า ง วิทยาศาสตร์(Scientific Attitude) 6 ประการ คือ

18

1. ความอยากรู้ อ ยากเห็ น ตู อ งมี ค วาม

อยากรู้ อ ยากเห็ น เกี่ ย วกั บ ปรากฏการณ์ ธ รรมชาติ เ พื่ อหาคำา ตอบใน ปั ญหาต่าง ๆ อย่างมีเหต้ผล

2. ความเพี ย รพยายาม

ตู อ งเป็ นผู้ มี

ความมานะพยายาม แมู พ บอ้ ป สรรค หรือ เกิ ดความลู มเหลวในการ

ทำางานก็ไม่ทูอถอย ถือส้ภาษิตผิดเป็ นคร้จะไดูเปลี่ยนวิธีการใหม่ หา แนวทางใหม่ ที่ผิดเป็ นขูอม้ลทำาการบันทึกเป็ นฐานไวู

3. ความมี เ หต้ ผ ล ตู อ งเป็ นผู้ มี เ หต้ ผ ล

ยอมรับในคำาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือขูอม้ลมาสนั บสน้ นอย่างเพียง 18

ภพ เลาหไพบ้ลย์, อูางแลูว, หนูา 12 -13. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 173 พอ แสวงหาหลักฐานและขูอม้ลอย่างเพียงพอก่อนที่จะสร้ปผล และ

ยินดีท่ีจะเปิ ดใหูตรวจสอบพิส้จน์ตามเหต้ผลและขูอเท็จจริง 4. ความซื่ อสั ต ย์

ตู อ งเป็ นผู้ มี ค วาม

ซื่อสัตย์ บันทึกผลตามความเป็ นจริงบนฐานแห่งขูอม้ล สามารถตรวจ สอบในภายหลัง โปร่งใส ไม่บิดเบือนขูอม้ล

5. ความมี ร ะเบี ย บและรอบคอบ ตู อ ง

เป็ นผู้ ท่ี เ ห็ น ความสำา คั ญ ของการทำา งานอย่ างเป็ นระบบ มี แผนงาน ละเอียดถี่ถูวน รอบคอบก่อนการสร้ปผล

6. ความใจกวู า ง

ยอมรับ ฟั งความคิ ด เห็ น จากผู้ อ่ ื น

ตู อ งมี ใ จกวู า งที่ จ ะ

ไม่ ยึ ด มั ่น ความคิ ด ของตนฝ่ าย

เดี ย ว สามารถยอมรับ การเปลี่ ย นแปลง

ใหม่เพิ่มเติมเสมอหากเกิดความไม่สมบ้รณ์

และพรูอ มที่ จะหาขู อ ม้ ล

นอกนี้ อาจมี ก ารเพิ่ ม ค้ ณ สมบั ติ อี ก แบบหนึ่ ง เมื่ อรวมกั น

แลูว ไดู 9 ประการ คื อ

19

1. มีความอยากรู้อ ยากเห็น 2. ชอบสงสั ย

ชอบซักถาม 3. มี เหต้ผ ล 4. มี ใจกวู างยอมรับฟั งความคิ ดเห็น คน อื่ นแลกเปลี่ ย นความคิ ดเมื่ อมี ห ลั กฐานที่ ดี ก ว่ า

5. มี ค วามซื่ อสั ต ย์

ยึดความถ้กตูองตามความเป็ นจริง 6. มีความพยายามอดทนในการ

คูนหาคำาตอบ 7. มีการพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนการตัดสินใจลงขูอ

สร้ป 8. ไม่โอูอวด 9. ไม่เชื่อสิ่งที่อย่้เหนื อธรรมชาติ เพราะไม่มีอะไร เกิดขึ้นโดยปราศจากเหต้ท่ีแน่นอน

19

ส้วัฒก์ นิ ยมคูา, อูางแลูว, หนูา 259. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 174 9.1.6.2 ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง

วิทยาศาสตร์(Science Process Skills)

การถ่ า ยทอดความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ น อกจากจะมี

เจตคติ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ท่ี ก ล่ า วมาแลู ว การแสวงหาความรู้ ท าง

วิ ท ยาศาสตร์ แ ละการถ่ า ยทอดจะไดู ผ ล ตู อ งขึ้ นอย่้ กั บ ความสามารถ และทั กษะกระบวนการทางวิ ทยาศาสตร์ มี ท้ ัง การปฏิบั ติท ดลองและ การฝึ กพัฒนาความคิด เช่น ฝึ กการสังเกต การบันทึกขูอม้ล เป็ นตูน

การฝึ กปฏิบั ติท่ี ผ่านขั้ นตอนอย่ างเป็ นระบบเพื่อ ใหูเ กิดความชำา นาญ เรีย กว่ า กระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ ซึ่ ง แบ่ ง ออกเป็ น 2 กล่้ ม ดังนี้

1.

20

ก ลุ่ ม ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น (Basic Science

Process Skills) แบ่งออกเป็ น 8 ทักษะ คือ

1) การสังเกต หมายถึง ความสามารถ

ในการใชู ประสาทสั ม ผั ส อย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง หรือ หลายอย่ า งรวมกั น

ทางที่ดีควรใชูประสาทสัมผัสใหูมากที่ส้ดเท่าที่จะทำา ไดู เขูาไปสัมผัส (รับรู้ )โดยตรงกั บวั ตถ้ หรือปรากฏการณ์ ต่างๆโดยไม่ ล งความคิ ดเห็ น

ของผู้ สั ง เกตเขู า ไป เป็ นการเฝู าสั ง เกตลู ว น สั ง เกตอย่ า งละเอี ย ด ถี่ถูวนและหลายๆครั้ง และขูอม้ลที่ไดูจากการสังเกตคือ

(1) ขูอม้ลเชิงค้ณภาพ หมายถึงค้ณสมบัติหรือ

ลักษณะของสิ่งที่สังเกตแต่ยังไม่สามารถระบ้เป็ นตัวเลข

20

ภพ เลาหไพบ้ลย์, อูางแลูว, หนูา 13 -30. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 175 (2) ขู อ ม้ ล เชิ ง ปริม าณ หมายถึ ง ขู อ ม้ ล ที่ บ อก

รายละเอียดทางปริมาณไดู เช่น ขนาด นำ้าหนั ก อ้ณหภ้มิ ฯลฯ

(3) ขูอม้ลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง หมายถึง

ขูอม้ลที่ไดูจากการสังเกตการเกิดปฏิสัมพันธ์ของสิ่งที่สังเกตกับสิ่งอื่น เพื่อด้ผลของการเปลี่ยนแปลง

2) การวัด หมายถึง ความสามารถในการ

ใชูเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์เพื่อวัดหาปริมาณของสิ่งต่างๆไดูอย่างถ้ก ตูอง ตรงตามหน่วยวัดมาตรฐาน เช่น วัดความยาว วัดมวลสาร

และวั ด เวลา และสามารถอ่ า นค่ า ที่ ไ ดู จ ากการวั ด อย่ า งถ้ ก ตู อ งและ รวดเร็ว

3) การคำานวณ หมายถึง การนำาจำานวนที่

ไดูจากการสังเกตเชิงปริมาณ การวัด การทดลองและจากแหล่งอื่นมา

จั ด กระทำา ใหู เ กิ ด ค่ า ใหม่ เช่ น การนั บ บวก ค้ ณ หาร หาค่ า เฉลี่ ย

เป็ นตูน ตูองใหูเกิดความสามารถในการคำานวณ และไดูค่าตัวเลขใหม่ ที่จะสื่อใหูทราบถึงสิ่งที่ตูองการ

4) การจำา แนกประเภท หมายถึง ความสามารถใน

การจัดจำาแนกหรือเรียงลำาดับปรากฏการณ์ต่างๆใหูออกเป็ นหมวดหม่้

ใชูเกณฑ์ ความเหมือน ความต่าง หรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ ง และจัดสิ่งที่มีค้ณสมบัติบางประการร่วมกันใหูเขูาอย่้ในกล่้มเดียวกัน 5)

การหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติของ

วัตถ้กับวัตถ้และมิติของวัตถ้กับเวลา หมายถึง ความสามารถในการ ห าคว ามสั ม พั น ธ์ ท าง มิ ติ ข อ ง วั ตถ้ ที่ มี 3 มิ ติ คื อ คว ามกวู าง

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 176 ความยาว และความลึกหรือส้ง กับมิติของวัตถ้อ่ ืนๆ และหาความ

สั ม พั น ธ์ ข องมิ ติ วั ต ถ้ กั บ เวลาที่ วั ต ถ้ ห นึ่ ง ไดู เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงไป พรูอมกับเวลา เช่น การวาดร้ป 2 มิติ และ 3 มิติ และความส้งของ ตูนขูาวเมื่อปล้กไป หนึ่ งเดือน

6) การ จั ด กระ ทำา แล ะสื่ อคว ามห มาย

ขูอม้ล หมายถึง ความสามารถในการจัดการรวมขูอม้ลที่ไดูมาจัดระบบ

ใหม่และนำา เสนอใหูเป็ นที่เขูาใจในร้ป กราฟ ตาราง แผนภ้มิ สมการ และบรรยายเป็ นตูน

7) การลงความคิดเห็นจากขูอม้ล หมาย

ถึง ความสามารถในการอธิบายขูอม้ลที่มีอย่้อย่างมีเหต้ผล โดยการ

พยายามเชื่ อ มโยงความรู้ แ ละประสบการณ์ เ ดิ ม ที่ มี อ ย่้ มาสั ม พั น ธ์ กับ

ขู อ ม้ ล ที่ ป รากฏ การลงความคิ ด เห็ น ตู อ งมี ค วามสมเหต้ ส มผลกั บ ปรากฏการณ์ท่ีเกิด ส่วนจะผิดหรือถ้กใหูหาหลักฐานมาอื่นมาประกอบ

ช่วยตรวจสอบและพิส้จน์ การลงความเห็น มี 4 แบบ คือ แบบสร้ป รวมทัว่ ไป แบบเชิงพยากรณ์ แบบอธิบาย และแบบสมมติฐาน

8) การพยากรณ์ หมายถึง ความสารถ

ในการ คาดคะ เนหรื อ ทำา น าย สิ่ ง ที่ จ ะเ กิ ด โ ดย อาศั ย การสั งเ กต

ปรากฏการณ์ท่ีเคยเกิดซำ้าบ่อย ๆ เป็ นฐาน หรืออาศัยความรู้จากหลัก

การ กฏทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับสิ่งนั้ นๆมาช่วย การทำา นายอาจทำา ไดูท้ ังใน ภายในขอบเขตและนอกขอบเขตขูอม้ล

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 177 2. กลุ่ ม ทั ก ษะผสมผสาน(Integrated Science

Process Skills) แบ่งออกเป็ น

1) การตั้ งสมมติ ฐ าน หมายถึ ง ความ

สามารถในการใหูคำาอธิบายซึ่งเป็ นคำาตอบล่วงหนูาก่อนที่จะดำาเนิ นการ ทดลองเพื่ อ ตรวจสอบความถ้ กตู อ งต่ อ ไป สมมติ ฐ านยั ง เป็ นขู อ สร้ ป รวมเชิงหลักการ อาจถ้กหรือผิด ก็ไดู มีลักษณะคลูายยกร่างหลัก

การทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ต่ ก็ ไ มู ใ ช่ ส่ิ ง ที่ ส รู า งจากความว่ า งเปล่ า หากมี

ขูอม้ลและมี ตัว แปรสนั บ สน้ นเพีย งพอที่จะเป็ นเคูาไดู อย่้ใ นลั กษณะ ประโยคว่า ถูา ... แลูวก็ ...

2) กา ร กำา ห น ด นิ ย า มเ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร

หมายถึง ความสามารถในการกำาหนดความหมายและขอบเขตของคำา หรือตัวแปรต่างๆใหูเป็ นที่เขูาใจตรงกัน

3) การกำาหนดและควบค้มตัวแปร หมาย

ถึ ง ความสามารถที่ จะระบ้ ช้ ีว่ า ตัว แปรใดเป็ นตั ว แปรอิส ระ ตั ว แปร

ตามและตัวแปรควบค้ม ในการหาความสัมพันธ์ในสมมติฐานหนึ่ ง การ ควบค้มตัวแปรนั้ นเป็ นการควบค้มตัวแปรอื่นนอกจากตัวแปรอิสระที่ จะทำาใหูผลการทดลองคลาดเคลื่อน

4) การทดลอง หมายถึง ความสามารถ

ในการตรวจสอบสมมติฐานโดยการทดลอง นั บแต่ การออกแบบการ ทดลอง การทำา การทดลองตามลำา ดับขั้นตอนที่กำา หนด การใชูเครื่อง

มือทดลองอย่างถ้กตูอง จนถึงการบันทึกผลการทดลองเอาไวู ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์เกิดจากการทดลอง

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 178 5) การตีความหมายขูอม้ลและลงขูอสร้ป

หมายถึ ง ความสามารถในการบอกความหมายของขู อ ม้ ล ที่ ไ ดู จั ด กระทำา และอย่้ ในร้ปแบบที่ ใ ชู ใ นการสื่ อความหมายแลู ว รวมทั้ง การ

บอกความหมายทางสถิ ติ ไ ดู โดยการนำา เอาความหมายของขู อ ม้ ล

ทั้ ง หมดมาสร้ ป ใหู เ ห็ น ความสั ม พั น ธ์ ข องขู อ ม้ ล ที่ เ กี่ ย วกั บ ตั ว แปรที่ ตูองการศึกษาภายในขอบเขตของการทดลองนั้ นนั้ น

Instruction)

9.1.6.3 ระบบการสอน(Systematic Model of 21

การแสวงหาความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ เ กิ ด จาก

การปฏิ บั ติ อ ย่ างเป็ นระบบที่ ผ่ า นการสั ง เกต ทดลองและลงขู อ สร้ ป จากขูอม้ลที่ไดูมาเพื่อสรูางทักษะทางวิทยาศาสตร์ท่ีกล่าวมาแลูว การ สอนหรือการถ่ายทอดความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จึงไดูกำาหนดระบบการ

สอนเอาไวู สามารถจำา แนกไดูหลายวิธี ซึ่งจะยกมาเป็ นเพียงตัวอย่าง เท่านั้ น คือ

1. ร ะ บ บ ก า ร ส อ น แ บ บ OLE'(OLE' Teaching Model)

เป็ นระบบที่ง่าย จำาแนกส่วนประกอบไดู 3 อย่าง คือ

1) จ้ ด ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร ส อ น แ ท น ดู ว ย O =

(Instructional Objectives) ตูองมีวัตถ้ประสงค์จัดเจน แน่นอน

21

ส้วัฒก์ นิ ยม คูา, อูางแลูว, หนูา 278 - 285. อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 179 2) ประสบการณ์ ใ นการเรีย นรู้ แทนดู ว ย L =

(Learning Experiences) ตูองมีการจัดประสบการณ์ตรง หรืออูอมใหู

นั กเรียนไดูฝึกปฏิบัติทดลอง

3) ป ร ะ เ มิ ล ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ แ ท น ดู ว ย E =

(Evaluation) เมื่ อสิ้ นส้ ด การเรี ย นตู อ ง ประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ไ ดู ปฏิบัติการไดู

2.

ระบบการสอบแบบ

OLE'F มี 4

องค์ประกอบ

เพิ่มการใชูขูอม้ลยูอนกลับ (Feedback)มาใหูครบวงจร เพื่อตรวจสอบ

ความบกพร่อง

3. ระบบการสอนแบบ OELE เพิ่ ม Entering Behaviors

(พฤติกรรมก่อนการเรียน)เขูามา หมายถึงภ้มิหลังของผู้เรียน

4. ระบบการสอนแบบ OELE'F เพิ่ ม Feedback เขู า มา

เพื่อการตรวจสอบและปรับปร้ง

5. ระบบการสอบแบบ เกอร์ลาซและอีลี(Gerlach & Ely)

มีองค์ประกอบ 10 อย่าง คือ

1) กำาหนดเนื้ อหา(Specification of Content)

2) กำาหนดจ้ดประสงค์(Specification of Objective)

3) ทดสอบพฤติกรรมก่ อนเขู าเรีย น (Measurement

of Entering Behaviors) Strategy)

4) เลื อ กวิ ธี จัด การเรีย นการสอน(Determination of 5) จัดกล่้มนั กเรียน(Organization of Group) อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 180 6) กำาหนดเวลาสอน(Allocation of Time)

7) จัดหูองเรียนและสถานที่ (Allocation of Space)

8) เ ลื อ ก สื่ อ ก า ร ส อ น แ ล ะ วิ ท ย า ก ร (Selection of

Resources) Performance) of Feedback)

9) ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น (Evaluation of 10) ใชูขูอม้ลยูอนกลับเพื่อปรับปร้งแกูไข (Analysis

9.1.7 เขตจำากัดของความรู้วิทยาศาสตร์

วิชาการของศาสตร์ท้กชนิ ด สามารถกล่าวไดูว่า ขาดความ

สมบ้ ร ณ์ ช นิ ด ที่ ไ ม่ ตู อ งเสริม เติ ม อี ก เพราะแต่ ล ะศาสตร์ ต่ า ง ๆ ก็ มี ขอบเขตจำากัดในความความรู้ การแสวงหาความรู้และความไม่สมบ้รณ์

ของความรู้ บางศาสตร์ จำา กั ด ที่ ป ระสบการณ์ ท างประสาทสั ม ผั ส

ศาสตร์บางชนิ ดไม่สามารถตรวจสอบความจริงใหูเห็นประจักษ์ไดู แมู

วิทยาศาสตร์ท่ีถือว่า เป็ นศาสตร์สากลอันแสดงใหูปรากฏเชิงประจักษ์

ไดู แต่ก็ตูองมีขูอจำากัดเช่นกัน ซึ่งขูอจำากัดทางวิทยาศาสตร์จำาไดู 5 ประการ

22

คือ

1. จำากัดตัวเองที่ปรัชญาวิทยาศาสตร์ หมายความว่า

นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ยึ ด ปรัช ญาสสารนิ ย ม ปรัช ญาจั ก รกล(กลไก)นิ ย ม และปรัชญาประจักษ์นิยมเป็ นกรอบความคิด จึงไดูจำา กัดความรู้อย่้ 22

ส้วัฒก์ นิ ยมคูา, ทฤษฎีและทางปฏิบัติในการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะ

หาความรู้ เล่ม 1, หนูา 136 -141.

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 181 ในกรอบที่ผ่านเขูามาทางประสาทสัมผัสเท่านั้ น และการทดสอบความ

จริงก็ตูองสามารถแสดงใหูเห็นประจักษ์ไดู สิ่งใดที่เหนื อการสังเกตทาง ประสาทสัมผัสจึงพูนความรู้ทางวิทยาศาสตร์

2. จำา กัดตัวเองที่วิธีการศึกษาคูนควูา หมายความว่า

วิทยาศาสตร์ใชูวิธีเฉพาะของตนคือ

วิ ธี ท างวิ ท ยาศาสตร์ ซ่ึ ง มี เ กณฑ์ วั ด ความจริง อย่้ 3 อย่ า งคื อ 1. ตู อ ง

สังเกตไดู 2. ตูองสาธิตใหูปรากฏประจักษ์ชัดไดูท้กครั้ง 3. ตูองนำาไป ปฏิบัติใชูงานไดู พูนเกณฑ์น้ ี ไป เป็ นศาสตร์อ่ ืน

3. จำา กั ด ตั ว เ อ ง ที่ เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี

หมายความว่า ความกูาวหนูาทางความรู้ข้ ึนอย่้กับการสรูางเครื่องมือ

เทคโนโลยี่ ท่ี ทั นสมั ย และมี กำา ลั ง มากกว่ า พั ฒ นาใหู ซั บ ซู อ นมากกว่ า

แต่ก่อนมน้ ษย์ยังไม่มีเครื่องมือเทคโนโลยี ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ

ก็จำากัด ปั จจ้บันแมูว่าจะมีเครื่องมือ แต่ก็ปรากฏว่าเครื่องมือยังไม่ไดู พัฒนาถึงขีดส้งส้ด ดังนั้ น ความรู้ก็ยังไม่สมบ้รณ์ถึงที่ส้ดเช่นกัน

4. จำา กั ด ตั ว เองที่ วิ ธี ก ารสร้ ป ลงเป็ นองค์ ค วามรู้

หมายความว่า นั กวิทยาศาสตร์ใชูวิธีอ้ปนั ยในการแสวงหาความรู้ ซึ่ง เป็ นเพี ย งการเลื อ กเก็ บ ขู อ ม้ ล ที่ เ กี่ ย วขู อ งเท่ า นั้ น ขจั ด สิ่ ง ที่ ไ ม่ เกี่ยวขูองออกไป การสร้ปความรู้ก็จึงบกพร่อง เป็ นความรู้บางส่วน

การสรูางความรู้เกิดจากการเก็บขูอม้ลจากกล่้มตัวอย่าง แลูวนำา ไป

สร้ปเป็ นส่วนใหญ่จึงไม่น่าจะถ้กตูองทั้งหมด แต่ก็มีเหต้น่าเชื่อและน่า เป็ นไปไดูพอจะยอมรับกัน สิ่งที่คูนพบใหม่ ดูวยขูอม้ลที่มากกว่า ใหม่ กว่า บทสร้ปจึงใกลูความจริงกว่าเป็ นตูน

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

ส้ น ทรีย ศาสตร์

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 182 5. จำา กั ด ตั ว เองที่ ไ ม่ ส ามารถเขู า ถึ ง จริ ย ศาสตร์

เทววิ ท ยาและศาสนา หมายความว่ า ความรู้ บ าง

อย่างที่เกี่ยวกับความเชื่อในสิ่งเหนื อธรรมชาติ เช่น ศาสนา เทววิทยา หรือกฎความดีที่ควรประพฤติ และความงามทางส้นทรียศาสตร์เหล่า

นี้ อย่้เหนื อวิธีการทางทางวิทยาศาสตร์ท่ีจะหาคำาตอบไดู ------------------

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

183

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา

9.2 ทฤษฎีความรู้ของศึกษาศาสตร์

นอกจากวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ลู ว

กระบวนวิ ช าที่ เ กี่ ย วกั บ

ความรู้และการถ่ายทอดความรู้ของมน้ ษย์ สำาคัญในสายศิลป์ (Arts)ไม่

นู อ ยกว่ า สายศาสตร์ (Sciences)นั ่ น คื อ ศึ ก ษาศาสตร์ ขอใหู พิ จ ารณา กระบวนการทางศึกษาศาสตร์เกี่ยวกับ ความรู้ ระดับ และกระบวนการ สรูางองค์ความรู้

อันที่จริงศึกษาศาสตร์ก็เกิดมาจากแนวคิดของนั กปรัชญา

ทางการศึ ก ษาหลายท่ า น ที่ มี ม้ ม มองอาจแบ่ ง เป็ นสายเหต้ ผ ลนิ ย ม ประสบการณ์ นิ ย มและ ปฏิ บั ติ นิ ย ม แต่ ผู้ เ ขี ย นจะเลื อ กมาเท่ า ที่

จำาเป็ นเพื่อแสดงใหูเห็นวิธีการสรูางองค์ความรู้อย่างไรเท่านั้ น 9.2.1 ความหมาย

เป็ นการยากที่ จ ะจำา กั ด ความใหู เ ป็ นสากลว่ า การศึ ก ษา

หมายถึงอะไร เพราะการศึกษาเป็ น

แนวคิดที่ละเอียดอ่อนสลับซับซูอน เกิดขึ้นมาจากความแตกต่างของ

สถานการณ์และสิ่งแวดลูอมทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อใหูท่ีเป็ น ที่เขูาใจกันบูาง จึงสร้ปเป็ น 2 ความหมาย คือ 9.2.1.1 ความหมายที่เป็ นอัตนัย

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 184 ตามร้ ป ศั พ ท์ ศึ ก ษา(Education) ความหมายตาม

ทรรศนะและม้มมองของนั กปรัชญาและนั กการศึกษาแต่ละคน แต่ละ ย้คสมัย เช่น

เพลโต(Plato) "การศึกษาเป็ นศิลปะซึ่งนำาทาง สรูางสรรค์ และ

ความค้ ม ประสบการณ์ ข องมน้ ษย์ โ ดยขึ้ นอย่้ กั บ ค่ า นิ ยม และการ ปรับปร้งท้กระดับชั้นในกิจกรรมของมน้ ษย์"

ล็ อ ค(Locke) "การศึ ก ษา คื อ องค์ ประกอบของพลศึ ก ษา

จริยศึกษาและพ้ทธิศึกษา"

ร้ ส โซ(Rousseau)

"การศึ ก ษา คื อ การปรับ ปร้ ง คนใหู

เหมาะกับโอกาส และสิ่งแวดลูอมที่

เปลี่ยนไป หรือกล่าวไดูว่า การศึกษา คือ การนำา ศักยภาพมาใชู ใหูเกิดประโยชน์"

ดิวอี้(Dewey) ใหูความหมายของการศึกษา สร้ปไดูดังนี้ 1. การศึกษา คือ ชีวิต

2. การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม ใหูแก่ชีวิต

3. การศึกษา คือ การเสริมสรูางประสบการณ์ 4. การศึกษา คือ กระบวนการทางสังคม 5. การศึกษา คือ การปรับปร้ง

9.2.1.2 ความหมายในภาพรวม จากความคิดของนั กการศึกษา ทั้งหลาย ความหมายการศึกษา

สามารถสร้ปไดูดังนี้

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 185 1) "ก า ร ศึ ก ษ า คื อ ก า ร ก ร ะ ทำา ก า ร ป ฏิ บั ติ แ ล ะ

ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อชีวิตมน้ ษย์"

2) "การศึ ก ษา คื อ ขบวนการถ่ า ยทอดมรดกทาง

สังคม ไดูแก่ความรู้ ความชำานาญ วัฒนธรรม ค่านิ ยม ศิลปะและความ งาม จากสมัยหนึ่ งส่้สมัยต่อ ๆ มา" มน้ ษ ย์

3) "การศึกษาคื อ กระบวนการกล่ อ มเกลาจิ ตใจของ

เพื่ อใหู ส ามารถอย่้ ร่ ว มกั บ เชื้ อชาติ และเผ่ า พั น ธ์้ ข องตนไดู

อย่างเป็ นส้ข และเป็ นกระบวนการถ่ายทอดมรดกทางสังคมแก่คนใน ชาติ"

4) "การศึ ก ษา คื อ การสรู า งสม และการถ่ า ยทอด

ความรู้ ประสบการณ์ของมน้ ษย์ เพื่อการแกูปัญหาและยังใหูเกิดความ เจริญงอกงามทางพ้ทธิปัญญา จิตใจสังคม และพลานามัย" 9.2.2 ความมุ่งหมายของการศึกษา

เบนจามิน ไดูจำาแนกวัตถ้ประสงค์ทางการศึกษาออกดูานต่าง ๆ

เพื่อใหูกระบวนการเรียนรู้

เกิดความชำานาญไดูครบ 3 ดูาน

23

ดังนี้

9.2.2.1 ดู า นความรู้ แ ละ ความคิ ด (Cognitive Domain)

หมายถึ ง ความสามารถในการระลึ ก ไดู จำา ไดู สามารถแยกแยะ

วิ นิ จ ฉั ย ในความรู้ ท่ี เ รีย นมาแลู ว เป็ นตู น เป็ นความสามารถทางดู า น สมองอย่างเดียว จำาแนกออกเป็ น 6 ระดับ คือ 23

Benjamin S. Bloom, Texonomy of Educational Objectives : The

Classification of Educational Goals, (New York : David Mckay Company Inc, 1956), p.7.

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 186 1) ความรู้ความจำา (Knowledge or Memory) หมาย

ถึง ความสามารถจดจำาสิ่งที่เคยมีประสบการณ์มาแลูว เป็ นพฤติกรรม ที่เนูนการจำา ไดู การระลึกไดู การฟื้ นความหลัง ในความรู้ เหต้การณ์ หรือวัตถ้สิ่งของต่าง ๆ ที่ตนเคยมีประสบการณ์มา เมื่อถ้กซักถามก็จะ

สามารถบอก ระบ้ ชี้ สิ่ ง นั้ น ๆ เรื่อ งนั้ น ๆ ไดู สร้ ป ความคื อ ความ

สามารถในการจดจำาสิ่งต่อไปนี้ คือ จำาเนื้ อเรื่อง จำาวิธีดำาเนิ นการ และ จำาในความคิดรวบยอด

2) ความเขูาใจ (Comprehension or Understanding)

หมายถึ ง ความสามารถในการนำา ความรู้ ค วามจำา ที่ มีอ ย่้ ไ ปสื่ อความ หรืออธิบายความใหูผู้อ่ ืนเขูาใจดูวยความคิดของตัวเอง ทั้งยังสามารถ รักษาความหมายเดิมไวูไดู จำาแนกเป็ นความสามารถในการแปลความ ตีความ และขยายความ

3) การประย้ ก ต์ ใ ชู (Application) หมายถึ ง การนำา

ความรู้ ไปใชูใ นการแกู ปัญหา อาจเป็ นปั ญหาเดิ มในสถานการณ์ ใ หม่ หรือ ปั ญหาใหม่ก็ไดูโดยอาศัยความรู้เดิมเป็ นฐาน จำาแนกเป็ นความ สามารถในการแกูปัญหาเดิมไดู แกูปัญหาใหม่ไดู

4) การวิเคราะห์ (Analysis) หมายถึง ความสามารถ

ในการแยกสิ่งหนึ่ งออกเป็ นส่วนประกอบย่อย ๆ ไดู สามารถมองเห็น ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบนั้ นๆ ทั้งสามารถมองหาวิธีการที่

ส่ ว นประกอบจะรวมตั ว เป็ นสิ่ ง นั้ น การวิ เ คราะห์ มี 3 ประเภทคื อ วิเคราะห์หาองค์ประกอบ หาความสัมพันธ์ และหาหลักการที่รวมตัว เป็ นระบบ

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 187 5) การสั ง เคราะห์ (Synthesis) หมายถึ ง การนำา เอา

องค์ ป ระกอบย่ อ ย ๆ หรื อ ส่ ว นย่ อ ย ๆ มาประกอบกั น เป็ นสิ่ ง สมบ้ ร ณ์ อ ย่ า งใหม่ ข้ ึ นมาอย่ า งหนึ่ ง การสั ง เคราะห์ เ ป็ นความคิ ด

สรูางสรรค์ เช่นความสามารถในการสังเคราะห์ขูอความเพื่อใชูส่ ือความ สัง เคราะห์แผนงานหรือ กิจกรรที่ จะปฏิ บัติและสั งเคราะห์ กล่้ มของ

ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

6) การประเมิ น ค้ ณ ค่ า (Evaluation) หมายถึ ง การ

ตัดสินใจเกี่ยวกับค้ณค่าของความคิด

การกระทำา การแกู ปั ญหา วิ ธีก ารที่ ใ ชู เ พื่ อความประสงค์ บ างอย่ า ง ตามเกณฑ์ท่ีไดูต้ ังขึ้นมา ซึ่งประเมิน

จากขูอเท็จจริง จากภายในและภายนอก

9.2.2.2. ดู า น จิ ต พิ สั ย (Affective Domain) ห ม า ย ถึ ง

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในจิตใจ เป็ นความรู้สึก เกี่ยวขูองกับความ

สนใจ ท่าที การปรับตัวและเต็มใจที่จะรับสิ่งเรูา เกิดการกระทำา เช่น นั้ นอย่างสมำ่าเสมอ ในผู้น้ ั นว่า

ต่อเนื่ องจนเป็ นนิ สัย ขึ้นอย่้กับเจตคติท่ีฝังแน่น

ร้นแรงเพียงใด พฤติกรรมก็ ออกมาทั้ งทางบวก หรือ

ทางลบก็ไดู แบ่งเป็ น 5 ระดับ

24

ดังนี้ .

1) สนใจในการรับ สิ่ ง เรู า (Receiving) เกิ ด ความอยากรู้

อยากเห็ น อยากคู น ควู า ทดลอง แสดงออกโดยการใหู ค วามสนใจ ซาบซึ้ง มีเจตคติท่ีดี 24

David R. Krathwohl, Texonomy of Education Objectives, (New York

: David Mckay Company Inc, 1964), p.95.

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 188 2) การตอบสนองต่อสิ่งเรูาดูวยการกระทำา (Responding)

ระดับนี้ จะเกิดการยินยอม เต็มใจ พอใจ ตอบสนองดูวยการลงมือ กระทำา

3) การเกิ ด ค่ า นิ ยมเฉพาะอย่ า ง

(Valuing) เมื่ อไดูกระทำา ก็ จะเกิ ดการเห็น ค้ณ ค่ าของสิ่ ง ที่ ไดู ทำา ลงไป เกิดความนิ ยมชมชอบ เกิดเป็ นค่านิ ยม

4) การจั ด ระบบค่ า นิ ย มสำา หรับ ถื อ ปฏิ บั ติ (Organization)

เมื่อเกิดค่านิ ยมก็จะสรูางความคิดรวบยอดของค้ณค่า จัดระบบค้ณค่า

ตามความสั ม พั ท ธ์ เลื อ กแต่ ส่ิ ง ที่ เ ป็ นนโยบายเพื่ อส่ ว นรวม เป็ น อ้ดมคติ

5) การปฏิ บั ติ จ นเป็ นลั ก ษณะนิ สั ย

(Characterization) เมื่ อมี อ้ ด มคติ ก็ จ ะยึ ด ถื อ และปฏิ บั ติ จ นเป็ นนิ สั ย เป็ นการสรูางลักษณะนิ สัยที่เป็ นส่วนบ้คคล

9.2.2.3 ดู า นทั ก ษะการปฏิ บั ติ (Psychomotor

Domain)

หมายถึง พฤติกรรมที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของกลูามเนื่ อที่แสดง

ปฏิกิรย ิ าออกมาใหูเห็น ซึ่งอย่้ในการควบค้มของจิต โดยการประสาน

สัมพันธ์ระหว่างประสาทสัมผัส สมองและและประสาทกลูามเนื้ อ จน สามารถทำาเป็ นและสอนคนอื่นไดู แบ่งเป็ น 5 คือ

25

1) การเลี ย นแบบ (Imitation) เมื่ อพบตั ว อย่ า งตู อ งหั ด

เลียนแบบ เพิ่มประสบการณ์ 25

Karlheinz, Ingenkamp, Development in Educational Testing Vol. 1.,

(London : University of London Press Ltd., 1969, p. 208 -210.

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 189 2) ทำา ต า ม แ บ บ (Manipulation) เ มื่ อ

ปฏิบัติจนถึงระดับหนึ่ งก็สามารถทำาตามไดู

3) หาความถ้กตูอง (Precision) ในระดับ

นี้ ไม่ตูองอาศัยแบบแต่เล่นเองไดู

4) การ ทำา อ ย่ าง ชำ่ า ชอ ง (Articulation)

ระดับนี้ สามารถปฏิบัติการไดูอย่างคล่องแคล่ว

5) การทำาโดยธรรมชาติ (Naturalization)

ปฏิบัติใหูโดยอัตโนมัติอย่างเป็ นธรรมชาติ

9.2.3 ระดับของความรู้

จากวัตถ้ ประสงค์ของการศึกษา เพื่อพัฒนาความรู้ 3 ดูานดังที่

กล่าวมา สามารถจำาแนกความรู้ออกเป็ น 3 ระดับ คือ 3.2.3.1 ความรู้ระดับความทรงจำา 9.2.3.2 ความรู้ระดับความเขูาใจ

9.2.3.3 ความรู้ระดับการนำาไปใชูและแกูปัญหาไดู

9.2.4 สิ่งที่ถ้กรู้

สิ่งที่ถ้กรู้ในศึกษาศาสตร์ไม่ตายตัวเหมือนวิทยาศาสตร์ เพราะยึด

ตามนั กปรัชญาตูนทฤษฎีทางการศึกษา ซึ่งจะจำาแนกตามสายปรัชญา ดังนี้

1. ปรัชญาจิตนิ ยม ที่ยึดถือว่าสิ่งแทูจริงคือจิตใจ หรือโลก

แห่งจิตใจ ความจริงหรือความรู้เป็ นเรื่องของความคิดที่อย่้ในจิต

2. ปรัชญาสัจนิ ยม ที่มีแนวคิดว่า สิ่งในโลกมีจริง 2

ดูานคือ กาย + ใจ โลกภายนอกมีจริง และการรู้ไดูทางประสาทสัมผัส

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 190 ความจริงเป็ นสภาวะทางธรรมชาติ และอย่้ใตูกฎธรรมชาติ ความจริง

คือสิ่งที่สามารถสังเกตเห็นไดู

3. ปรัชญาประสบการณ์นิยม ที่มีหลักคิดว่า ความรู้

เกิ ด จากประสบการณ์ จิ ต มน้ ษย์ เ ดิ ม ว่ า งเปล่ า ด้ จ กระดาษเปล่ า ประสบการณ์เป็ นที่มาของความรู้ผ่ านอายตนะผั สสะ ไม่ ยอมรับว่ ามี ความรู้ติดตัวมาแต่เกิด ยอมรับความจริงแบบสังเคราะห์ วิเคราะห์

= สั ง เ ค ร า ะ ห์ ย อ ม รั บ วิ ธี อ้ ป นั ย ย อ ม รั บ ว่ า ค ว า ม รู้ เ กิ ด ห ลั ง ประสบการณ์

4. ปรัชญาอัตถิภาวนิ ยม มีทัศนะว่า โลกและชีวิตคือ

สิ่งที่มีอย่้เอง มน้ ษย์มีเสรีภาพในการเลือกอย่างรับผิดชอบ กฎเกณฑ์ ต่าง ๆ เป็ นเครื่องกั้นการพัฒนา 9.2.5 การสรูางองค์ความรู้

1. ปรัชญาจิตนิ ยม

1) พัฒนาการใชูเหต้ผล วิจารณ์ วิเคราะห์

2) เขูาส่้ความรู้จริงเกิดจากเหต้ผลลูวน ๆ

3) ใชูคร้เป็ นศ้นย์กลาง (Teacher-Centered)

4) ไม่เป็ นการลงมือปฏิบัติจริง 2. ปรัชญาสัจนิ ยม

1) ใหูรู้สรรพสิ่งรอบตัวตามสภาพที่เป็ นจริง

2) ใหู เ ขู า ใจความจริ ง ทางธรรมชาติ โ ดยวิ ธี ท าง

วิทยาศาสตร์ สังเกต ทดลอง ปฏิบัติ

พิส้จน์เหต้ผลเพื่ออธิบาย อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

191 3) ใหูหลักส้ตรเป็ นศ้นย์กลาง

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา

3. ปรัชญาประสบการณ์นิยม

1) ใหูมน้ ษย์นำาประสบการณ์มาใชูแกูปัญหา

2) การศึกษาเป็ นเรื่องที่คนในสังคมเห็นร่วม 3) ยึดผู้เรียนเป็ นศ้นย์กลาง

4) เป็ นสังเกตความสัมพันธ์ของกฎ 4 อย่าง 1. ความเกี่ยวเนื่ อง 2. ความคลูาย

3. ความใกลูชิดในกาละเทศะ 4. สาเหต้และผล

4. ปรัชญาอัตถิภาวนิ ยม

1) ใหูรู้จักสภาพของแต่ละคน พรูอมศักยภาพ

2) ใหูเสรีภาพในการเลือกแสวงหาความรู้และ ความจริง

3) ใหู รู้ จักรับ ผิ ดชอบต่ อ ตนเองบางครั้ง การเลื อ กของตน อาจจะขัดต่อรสนิ ยมของคนส่วนใหญ่ 4) ใชูนักเรียนเป็ นศ้นย์กลาง วิธีการเรียนการสอน

1. สอนโดยวิธี โสคราตีส ถาม-ตอบ

2. กระตู้นและเรูาใหูผู้เรียน กระหายอยากรู้

และคูนหาคำาตอบเอง บังคับบงการ

3. เนูนการสรูางวินัยในตัวผู้เรียน ไม่ตูอง

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา

192 บทบาทของผู้เรียน ผู้สอน

1. คร้ ทำาหนูาที่กระตู้นผู้เรียนใหูรบ ั ผิดชอบต่อการกระทำา

ของตน เป็ นกันเองกับผู้เรียน

2. นั กเรียน ตูองช่วยตัวเองใหูมาก คิดใหู

มาก

3. ผู้เรียนสำาคัญที่ส้ด เช่น โรงเรียน ซัมเม

อร์ฮิลล์ ของ A.S.Neill ในอังกฤษ

5. ทฤษฎีการศึกษากลุ่มนิ รันดรนิ ยม

วิธีการเรียนการสอน

แนวคิดเรื่องการเรียนการสอน เนูนหนั กทางพ้ทธิปัญญา

และวิชาการ

การถกเถี ย ง อภิ ปราย การซั กถาม การ

คูนควูางานเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ บทบาทของผู้เรียน ผู้สอน

เนูนคร้เป็ นจ้ดศ้นย์กลาง

เป็ นผู้ช่วยแนะนำา

สรูางบทบาทและ

แต่ไม่ส้งนั กในการ

บรรยากาศในการศึกษา เป็ นผู้นำา ทางสติปัญญา นั กเรียน

ควรอย่้ ใ นการควบค้ มและด้ ล ยพิ นิ จ ของคร้ ไตร่ตรองอย่างลึกซึ้ง

เพราะยั ง ขาดเหต้ ผ ลที่

6 . ทฤษฎีการศึกษาแบบสารัตถนิ ยม

1. เนูนเนื้ อหาวิชา มากกว่าความสนใจของนั กเรียน

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 193 2. วิ ช าที่ เ นู น ความรู้ พื้ นฐาน (เหมื อ นของนิ รัน ดร

นิ ยม)

3. เป็ นหลักส้ตรแบบเดียวทัว่ ประเทศ วิธีการเรียนการสอน

1. เนูนการสอนแบบบรรยาย ผสมวิธีการอื่นบูาง แต่

เพื่อความเขูาใจเป็ นสำาคัญ เนูนเนื้ อหาวิชา

2. จดจำาเนื้ อหาที่คร้นำามาสอน ไม่เนูนกิจกรรม แต่

3. เรียนและทำางานอย่างหนั ก

4. ม่้งพัฒนาสติปัญญาของนั กเรียนใหูมีประสิทธิภาพ

ทำานั กเรียนใหูเหมาะกับโรงเรียน Approach)

5. ขึ้ น อ ย่้ กั บ ค ร้ เ ป็ น สำา คั ญ (Teaching-centered-

บทบาทของผู้สอน/ผู้เรียน ผู้สอน

1. มี บ ทบาทเป็ นศ้ น ย์ ก ลางของการศึ กษา

เลือกเนื้ อหาวิชา กำาหนดกิจกรรม

2. เป็ นผู้นำาในหูองเรียน

3. คร้ คื อ แบบแผนและเป็ นแม่ พิ ม พ์ ข องการ

ศึกษา ที่นักเรียนตูองเอาแบบอย่าง นั กเรียน

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สังคมกำาหนด

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 194 1. รับผิดชอบตนเอง แต่ตามแนวที่ผู้ใหญ่หรือ

2. ผู้รบ ั ผูฟ ้ ัง

7. ทฤษฎีการสอนแบบพิพฒ ั นาการนิ ยม (Progressivism

ก่อตั้งโดย ดิวอี้ ไดูรบ ั การขานรับโดยนั กพิพัฒนาการ

นิ ยม เช่น Francis W. Parker. William Kilpatrick. John L. Childs.

George Counts. V.T. Thayer. ปรับ ปร้ ง มาจนเป็ นที่ นิ ยมของโลก ปั จจ้บัน มีรากฐานความคิดมาจากปรัชญาแนวประสบการณ์นิยม หรือ

ปฏิ บั ติ นิ ย ม เกิ ด จากปรัช ญาแนว ประจั ก ษนิ ย ม(Empiricism) ของ จอห์น ล็อค

วิธีการเรียนการสอน

1. ตู อ งทำา โรงเรีย นใหู เ หมาะกั บ ผู้ เ รีย น ไม่ ใ ช่ ทำา ผู้

เรียนใหูเหมาะกับโรงเรียน

2. ใหูเรียนตามความถนั ดและชอบใจ เรียนเป็ นกล่้ม

มีส่วนร่วมในการวางแผน

3. วิ ธี เ รี ย นแบบแกู ปั ญหา (Problem Solving)

ใหูนักเรียนอยากรู้อยากเห็น

แสวงหาคำา ตอบเอง ดู ว ยการคู น ควู า ทดลอง อภิ ป ราย ซั ก ถาม วิจารณ์

กิจกรรม

4. สอนแบบโครงการ ใหูรู้จักขั้นตอนและปั ญหา ทำา 5. ควรเป็ นกระบวนการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่ อง อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

195 6. เนูนวิธีแบบวิทยาศาสตร์

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา

บทบาทของผู้สอน/ผู้เรียน

1. คร้ คื อ ผู้ ค วบค้ ม โครงการ ใหู คำา แนะนำา ใน

ฐานะที่มีประสบการณ์มากกว่านั กเรียน

จัดสิ่งแวดลูอมใหูนักเรียน เชิญวิทยากร 2. นั ก เ รี ย น

ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ ส รู า ง เ ส ริ ม

ประสบการณ์จริง เนูนกระทำา มากกว่า ความรู้

3. สามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งอื่น ๆ ไดู

8. ทฤษฎีการศึกษาแบบบ้รณนิ ยม(Reconstructionism)

วิธีการเรียนการสอน กระบวนการแกูปัญหา วิทยาศาสตร์ เช่น

1. คลู า ยกั บแบบ พิ พั ฒ นาการนิ ยม ที่ เนู น 2. ใ ชู ร้ ปแบ บ การ ส อ น ต่ าง ๆ ที่ เ ป็ น แ บ บ

Approach) โครงการ(Project Method)

- ก า ร ศึ ก ษ า ปั ญ ห า (Problem- ร ะ เ บี ย บ วิ ธี แ บ บ จั ด

- เรียนรู้ดูวยการปฏิบัติ (Learning by Doing) - การแสดงบทบาทจำาลอง(Role Play

3. ใชูการเรียนเป็ นกล่้ม และเนูนการฝึ กงาน ทำา กิจกรรม

ร่วมกับช้มชน

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

สัมมนาปั ญหาญาณวิทยา 196 4. โรงเรีย นคื อ ส่ ว นหนึ่ งของสั ง คม ไม่

แยกกัน

บทบาทของผู้สอน/ผู้เรียน คร้

1. เป็ นนั กบ้กเบิก นั กแกูปัญหาสังคม

2. ใหูความรู้และเหต้ผลแก่เด็ก และเป็ น

นั กพัฒนาสังคม นั กเรียน

3. มีความเป็ นประชาธิปไตย

4. ร่วมกิจกรรมท้กอย่างของสังคม

5. มีประชาธิปไตยและความเสมอภาพ

------------------------------

อ.ดร.พิสิฏฐ์ โคตรส้โพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546

Related Documents

Ole
June 2020 8
Ole
October 2019 13
Ole
October 2019 15
Ole
April 2020 15
Ole
November 2019 10
Ole
November 2019 10