ตัวแปร (Variable)
ตัวแปร และกรอบการวิจัย ความหมาย ตัวแปรประเภทต่างๆ ทดสอบ มาตรในการวัด และ ระดับการวัด
Research P ro cess
กำำหนดปั ญห ำ
กำำหนดควำมหมำย ของมโนทัศน์ และตัวแปรท่ีจะวิจย ั
กำำหนดวิธก ี ำร วัดตัวแปรท่จี ะ วิจย ั
แนวคิด
ทฤษฎี
เลือกระเบีย บวิธก ี ำรวิจัย กำรรวบรวมข้อมู ล กำรจัดทำำข้อมูล กำรวิเครำะห์ ข้อมูลำเสนอรำยง กำรนำ
เลือกประชำก รและกลุ่มตัว อย่ำง
ตัวแปร (Variable) เป็นสิง่ ที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา มีคุณลักษณะ และเงื่อนไขแปรเปลี่ยนไปตามบุคคล หรือเวลา
ประเภทของตัวแปร ตัวแปรอิสระ Independent variable ตัวแปรตาม Dependent variable ตัวแปรควบคุม Control variable ตัวแปรเชิงลักษณะ Organism variable ตัวแปรแทรก Intervening variable
ตัวแปรอิสระ Independent vari abl e
หมายถึงตัวแปรที่มีอิทธิพลทำาให้สิ่งที่เกี่ยวข้องอยู่ด้ วยสามารถแปรเปลีย่ นค่า หรือแปรเปลี่ยนคุณลักษณะ หรือเงื่อนไขไป ตัวอย่ำง
ตัวแปรอิสระ Ind epe nde nt vari abl e
กำรศึกษำมีผลต่อรำยได้ กำรศึกษำถือเป็ นตัวแปรอิสระ กำรสูบบุหร่ีมีผลต่อกำรเป็ นมะเ ร็งปอด กำรสูบบุหร่ีถือเป็ นตัวแปรอิสระ
ตัวแปรอิสระ Independent variable (ต่อ)
กำรหย่ำร้ำงของพ่อแม่มีผลต่อจิตใจ ของบุตร กำรหย่ำร้ำงถือเป็ นตัวแปรอิสระ กลุ่มเพ่ ือนมีอิทธิพลต่อกำรสูบบุหร่ี ของเยำวชน
ตัวแปรตาม Dep end ent vari abl e
เป็นตัวแปรที่จะต้องขึ้นอยู่กับสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือเป็นตัวแปรที่ต้องแปรเปลี่ยนค่า หรือคุณลักษณะไปตามอิทธิพลของตัวแปรอิสระ
ตัวแปรตาม De pendent va ria ble กำรศึกษำมีผลต่อรำยได้ รำยได้ถือเป็ นตัวแปรตำม กำรสูบบุหร่ีมีผลต่อกำรเป็ นมะเร็งป อด กำรเป็ นมะเร็งปอดถือเป็ นตัวแปรตำ ม
ตัวแปรควบคุม Control var iabl e เป็นตัวแปรที่อยู่นอกเหนือจากตัวแปรอิสระที่เราส นใจนำามาศึกษา ในการศึกษาวิจัย ตัวแปรควบคุมจะถูกควบคุมเพื่อไม่ให้มามีผล หรืออิทธิพลเหนือตัวแปรตามที่เรากำาลังศึกษาอยู่
ตัวแปรควบคุม Control vari abl e กำรทดลองปลูกข้ำว 2 ชนิด คือชนิด ก. และชนิด ข. โดยใช้ปุ๋ยชนิด ค. กำรทดลองมีกำรควบคุมปริมำณน้ำำ และแสง เพ่ ือดูควำมเจริฐเติบโต และกำรให้ผลของข้ำวทัง้ 2 ชนิด ป๋ ุย เป็ นตัวแปรอิสระ อัตรำกำรเจริญเติบโต และผลผลิตข้ำว เป็ นตัวแปรตำม
ตัวแปรเชิงลักษณะ Organi sm vari abl e
เป็นตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างระหว่างบุค คล ซึ่งในการศึกษาวิจัย ไม่สามารถจะจัดสภาพการณ์ให้เปลี่ยนแปลงไปเป็ นอย่างอื่นได้ เช่น เรื่องเพศ อายุ สถานภาพการสมรส และสติปัญญาเป็นต้น
ตัวแปรแทรก Inte rveni ng vari abl e เป็นตัวแปรที่อยู่ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ตัวแปรแทรก มักจะร่วมกับตัวแปรอิสระไปมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม อาทิ ระดับการศึกษาสูง ลักษณะงานที่ทำา และระดับรายได้ การศึกษาเป็นตัวแปรอิสระ ในขณะที่ลักษณะงานที่ทำาเป็นตัวแปรแทรก และรายได้เป็นตัวแปรตาม
มาตรในการวัด
ระดับการวัด
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) การวัดระดับอันดับหรือ มาตราเรียงลำาดับ ( Ordinal Scale) การวัดระดับช่วง หรือ มาตราอันตรภาค (Interval Scale) การวัดระดับอัตราส่วน หรือมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)
ระดับการวัด (ปัจจุบัน) มาตรานามบัญญัติ (Nominal) มาตราเรียงลำาดับ ( Ordinal) มาตราส่วน ( Scale)
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ ตัวแปรมีคุณสมบัติและค่า เท่าเทียม และเหมือนกัน (ตัวอย่าง) ตัวเลขไม่มีความหมายในเชิงปริมาณ นำามาบวก ลบ คูณ หารไม่ได้ (ตัวอย่าง) เป็นข้อมูลประเภทที่ไม่ต่อเนื่อง (discrete data)
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ โดยปกติตัวเลขที่วัดได้ในมาตรานามบัญญัติ ค่าที่ได้จะเป็นจำานวนเต็มบวก หรือ ศูนย์ ดังนั้น ค่าที่ได้จากตัวเลขจึงไม่สามารถ หรือไม่เหมาะสมสำาหรับการที่จะนำามาหาค่าเฉลีย หรือถ้าหากนำาค่าจากตัวเลขที่วัดได้ในมาตรานามบัญญัติมาหาคาเฉ ลี่ย ค่าเฉลี่ยที่ได้ก็จะไม่สามารถนำามาแปลความหมายได้ จึงถือได้ว่า ค่าที่ได้จากการวัดในมาตรานามบัญญัติเป็นตัวเลขที่ไม่ต่อเนื่อง (discrete data) เพราะไม่สามารถวัดเป็นจุดทศนิยมได้ และไม่สามารถนำามาทำาเป็นจุดทศนิยมได้อย่างมีความหมาย
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ ตัวอย่าง เพศ ชาย = 1 หญิง = 2 ค่าเฉลี่ยของ 1+2 = 3/ 2 = 1.5 ค่าเฉลี่ย 1.5 ที่ได้ไม่มีความหมาย สถานภาพการสมรส โสด = 1 สมรส = 2 หย่าร้าง = 3 ค่าเฉลี่ยของ 1+2+3 = 6 / 3 = 2 ค่าเฉลี่ย 2 ที่ได้ไม่มีความหมาย
เช่นเดียวกับในกรณีอนื่ ๆที่มีความคล้ายคลึงกัน อาทิ ค่าเฉลี่ยที่ได้จากตัวเลขที่เป็นการแทนค่าของคณะที่นักศึกษาจบการศึ กษา หรือค่าเฉลี่ยที่ได้จากตัวเลขที่เป็นการแทนค่าของลักษณะอาชีพ เป็นต้น
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ เนื่องจากการวัดค่าในระดับมาตรานามบัญญัติ เป็นการวัดโดยการแบ่งข้อมูลนั้นๆออกเป็นประเภท (category) ซึง่ ถือเป็นการวัดข้อมูลในเชิงคุณภาพ ดังนั้น ข้อมูลที่ได้จึงแสดงออกถึงความแตกต่างในเชิงคุณลักษณะเท่านั้น แต่ไม่ได้แตกต่างกันในเชิงของตัวเลข อาทิ เพศ เราอาจแทนค่า ชาย = 1 หญิง = 2 หรือ ชาย = 2 หญิง = 1 ก็ได้ โดยค่า 1 หรือ 2 เพียงแต่เป็นสัญลักษณ์ ที่บอกถึงความเป็นชาย หรือ หญิงเท่านัน้ แต่ไม่ได้บอกถึงความมากหรือน้อยของ ค่า 1 กับ 2 เลย สถานภาพการสมรส โสด = 1 สมรส = 2 หย่าร้าง = 3 ตัวเลขที่กำาหนดให้จึงบอกแต่เพียงสถานภาพการสมรสเท่านั้น ไม่ได้บอกถึงความมากน้อยเลย เราสามารถ แทนค่าใหม่ได้ อาทิ สมรส = 1 โสด = 2 หย่าร้าง = 3
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ
ตัวอย่างการวัดในระดับมาตรานามบัญญัติ
เพศ ชาย = 1 หญิง = 2 อาชีพ ราชการ = 1 รัฐวิสาหกิจ = 2 เจ้าของธุรกิจ = 3 ลูกจ้าง/พนักงานบริษัท = 4 รับจ้าง/ใช้แรงงาน = 5 เกษตรกร =6 คณะที่จบการศึกษา สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ = 1 สังคมวิทยาฯ = 2 นิติศาสตร์ = 3 รัฐศาสตร์ = 4 วารสารฯ = 5 พาณิชย์ฯ = 6 เศรษฐศาสตร์ = 7 ศิลปศาสตร์ = 8
การวัดระดับอันดับ ตัวแปรมีคุณสมบัติบอกความมากกว่า หรือน้อยกว่าได้ แต่บอกไม่ได้ว่า มากน้อยกว่ากันเท่าใด ปกติจะไม่นำามาบวก ลบ คูณ หารกัน เพราะเป็นข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง ในกรณีที่นำามาบวก ลบ คูณ หาร กัน จะสมมุติว่า เป็นข้อมูลแบบต่อเนื่อง ตัวอย่าง การวัดความคิดเห็น เห็นด้วย = 3 เฉยๆ = 2 ไม่เห็นด้วย = 1
การวัดระดับช่วง ตัวแปรมีคุณสมบัติที่สามารถบอกความมากน้อยกว่ากันได้ และความมากน้อยมีความห่างที่เท่ากัน เช่น อุณหภูมิ การวัดระดับช่วง ตัวเลขที่ได้จะไม่มีศนู ย์ที่แท้จริง เช่นอุณหภูมิที่ 0 องศา และ 1 องศา ตัวเลข 1 องศา มากกว่า 0 องศา แต่ทั้งสองจำานวนได้จากการสมมุติขึ้น ตัวเลขสามารถนำามา บวก ลบ คูณ หาร กันได้
การวัดระดับอัตราส่วน
ตัวแปรมีคุณสมบัติที่มีความมากน้อยกว่ากันอย่างแท้จ ริง และความมากน้อยจะมีช่วงห่างทีเ่ ท่ากัน เช่น ความยาว นำ้าหนัก ส่วนสูง ตัวเลขที่วัดได้เป็นข้อมูลแบบต่อเนื่อง และมีศูนย์ที่แท้จริง สามารถนำามา บวก ลบ คูณ หาร กันได้