Metabolic

  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Metabolic as PDF for free.

More details

  • Words: 898
  • Pages: 6
นํ ้าตาล< 40 mg/dL (< 2.2 mmol/L)ใน Full Term นํ ้าตาล < 30 mg/dL (< 1.7 mmol/L) ในทารกแรกเกิด HYPERGLYCEMIA A blood glucose > 120 mg/dL (6.7 mmol/L) in newborns.

ในทารกคลอดครบกําหนด หรื อมารดาที่เป็ นเบาหวานเด็กจะมี Hyperinsulinism

- 10% glucose in water 5 mL/kg over 10 min -The infusion should then continue at a rate that provides 4 to 8 mg/kg/min

ซึม ไมค ดนม เคลือ ่ นไหว ่ อยดู ่ น้อย สัน่ กระตุก ชักและหยุดหายใจได้

Hemoglobin ต่ํากวา 13 มก./ดล หรือ hematocrit ต่ํากวา 40 ภายใน 1 สัปดาห Hemoglobin ตํ่าํ กวา 10 มก./ดล หรือื hematocrit ต่ํากวา 30 สัปดาหหลังๆ

- enteral feedings can gradually replace the IV infusion

เกิดจากการได้ รับบาดเจ็บขณะคลอด มีการทําลายของ เม็ดเลือดแดงในครรภ์ อาจจากติดเชื ้อ หรื อ Hemolytic disease เช่น ABO, Rh incompatibility หรื อภาวะพร่อง เอนไซม์ G6PD ขาดวิตามิน K และร่างกายสร้ างเม็ดเลือด แดงได้ น้อยจากภาวะแทรกซ้ อนต่างๆ

1

ตัวซีด นํ ้าหนักขึ ้น หายใจเร็ว ชีพจรเต้ นเร็ว ความดัน เลือดตํ่า ตับหรื อม้ ามโต ตัวเหลือง และบวม รักษาตามสาเหตุ เช่นถ้ าเสียเลือดขณะคลอดก็ดแู ลให้ เลือดทดแทน ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกง่าย ก็ต้องมีการ ส่องไฟ เพื่อรักษาอาการตัวเหลืองตาเหลือง การเปลี่ยน ถ่ายเลือด การให้ ยาวิตามินเสริม

พบได้ บอ่ ยในเด็ก AGAเนื่องจากต่อมพาราไธรอยด์ยงั ทํางานไม่ดีพอและระดับฮอร์ โมนที่ได้ รับจากแม่ไม่เพียงพอ เด็กที่มีปัญหา Birth asphysia เด็กที่มารดาเป็ นเบาหวาน และต้ องรักษาด้ วยอินซลิลน และเดกทมภาวะเครยด และตองรกษาดวยอนซู และเด็กที่มีภาวะเครี ยด ในระยะ 2-3 วันแรกหลังคลอดใน Early neonatal hypocalcemia และพบ 5-7 วันหลังใน late neonatal hypocalcemia ซึง่ ใน ระยะนี ้ส่วนใหญ่เกิดจากปั ญหาที่การขาดวิตามิน D ใน มารดา โดยมีแคลเซียมในเลือดตํ่ากว่า 7 มก./ดล.

ดูแลให้ ยากันชัก ให้ แคลเซี่ยมทางนํ ้าเกลือ หรื อทางปาก - สงเกตอาการอยางใกลชด สังเกตอาการอย่างใกล้ ชิด - ดูแลให้ ยาตามคําสัง่ แพทย์สงั เกตภาวะแทรกซ้ อนขณะ ให้ แคลเซี่ยม ถ้ าชีพจรช้ า เบาควรรายงานแพทย์ - ลดการกระตุ้น reflex ต่างๆที่จะทําให้ เด็กสามารถชัก ได้ ง่ายขึ ้น

-ป้องกันภาวะติดเชื ้อ ดู Hygine care -ล้ างมือก่อนและหลังจับตัวเด็กทุกครัง้ -ดูสญ ั ญาณชีพ -สังเกตภาวะแทรกซ้ อนต่างๆ เช่นตัวเหลือง ซีด -ดูแลให้ ได้ รับเลือดตามคําสัง่ แพทย์และสังเกตภาวะ แทรกซ้ อนขณะให้ เลือดอย่างใกล้ ชิด -ดูแลให้ ได้ รับสารอาหารและยาที่มีสว่ นช่วยในการสร้ าง ธาตุเหล็ก

อาการกระตุก (twitching) สัน่ ( jitteriness) กล้ ามเนื ้อ เกร็ง ต่อมาอาจมีชกั ร้ องเสียงแหลม อาเจียน หรื อเขียว พบ ภาวะ Chvnstrok signได signได้

A serum sodium concentration > 150 mEq/L.

การสูญเสี ยนํ้าออกจากร่ างกาย จากอาเจียนมาก ท้องเสี ย หรื อมีไข้สูง (hypertonic dehydration)commonly occurs in VLBW

2

มี sign ของ Dehydrate นํ้าหนักลด และไตวายได้

มีลกั ษณะอาการชักที่ตา่ งไปจากเด็กโตและผู้ใหญ่ เนื่องจากสมองยังทํางานได้ ไม่เต็มที่ พบได้ 5 แบบดังนี ้คือ 1.Subtle seizures พบได้ บอ่ ยที่สดุ ลักษณะตาเด็กจะ เหลือื กไปด้ ไป ้ านใดด้ ใ ้ านหนึง่ึ ลูกตาอาจกระตุก ขยิิบตาถี่ี นํ ้าลายฟูมปาก ทําปากขยับคล้ ายดูดนม หรื อมีปาก แก้ ม ขยับไปมา อาจมีท่าทางคล้ ายถีบจักรยาน (pedaling)พายเรื อ (rowing)ว่ายนํ ้าหรื อหยุดหายใจ

2.Tonic seizures แขนขาเหยียดเกร็ง หรื อแขนงอขา เหยียดก็ได้ พบได้ ในทารกคลอดก่อนกําหนด 3.Multifocal clonic seizures เป็ นการกระตุกุ ของแขน ขาข้ างใดข้ างหนึง่ แล้ วย้ ายไปส่วนใดส่วนหนึง่ ของร่างกาย ไม่เป็ นระเบียบเหมือน Jacksonian seizures ในผู้ใหญ่

-Perinatal asphysia ( Hypoxic Ishemic Encephalopathy) -เลือดออกในสมอง ( Intracranial Heamorhage) -Metabolic Metabolic disturbances ความผดปกตของ ความผิดปกติของ นํ ้าตาล(sugar<20mg%) แคลเซียม(Ca<7mg%) แมกนีเซียม electrolyte และกรด อะมิโนอื่นๆ

4.Focal clonic seizures คือส่วนใดส่วนหนึง่ ของร่างกายกระตุก ในขณะที่ conscious ยังดีอยู่ พบไม่บอ่ ยนัก มักเกิดกับภาวะ cerebral contusion 5.Myoclonic seizures มีแขนขากระตุกเข้ าหาตัวในท่างอ อาจกระตุกครััง้ เดีียวหรืื อหลายครััง้ ก็็ได้้ พบได้ น้อยในระยะแรกคลอด

แก้ ไขตามปั ญหา ถ้ านํ ้าตาลตํ่าก็ให้ นํ ้าตาลกลูโคส แค ลเซี่ยม แมกนีเซียม และให้ ยากันชัก -ดูดแลทางเดิ แลทางเดนหายใจ นหายใจ -ใส่ airway ป้องกันกัดลิ ้น ให้ ออกซิเจน สังเกตอาการเขียว -ป้องกันอุบตั ิเหตุ ตกเตียง -สังเกตอาการอย่างใกล้ ชิด สังเกตสัญญาณชีพ -ดูแลให้ ได้ รับยากันชักตามการรักษา

3

สาเหตุสว่ นใหญ่เกิดจากการคลอดท่าผิดปกติ หรื อต้ อง ใช้ เครื่ องมือช่วยทําคลอด(F/E,V/E) เนื่องจากเด็กตัวโต หรื ออยูใ่ นท่าที่ผิดปกติ (Breech)เป็ นต้ น ชนิดของความบอบชํ ้าที่พบได้ บอ่ ยแบ่งเป็ น 3 ประเภท ชนดของความบอบชาทพบไดบอยแบงเปน 1.ความบอบชํ ้าที่เกิดต่อผิวหนัง 2.กระดูกหัก (Skeletal Injury) 3.ความบอบชํ ้าต่อระบบประสาท(Nervous tissue injury)

Caput succedanum คือหนังศีรษะบริ เวณที่เป็ นส่วนนํา บวม ลักษณะไม่มีขอบเขตชัดเจน อาจบวมข้ ามรอยต่อของ กระโหลกศีรษะได้ มักจะหายไปเองภายใน 2-3 วันแรก Artificial caput หรอ หรื อ Chignon บอบชาเนองจากถวยของ บอบชํ ้าเนื่องจากถ้ วยของ เครื่ องดูดสูญญากาศ(Vacuum cup)มักจะบวมข้ ามรอยต่อ ของsuture

Cephalhematoma คือมีเลือดออกใต้ ชนเยื ั ้ ่อหุ้มกระดูกชิ ้น ใดชิ ้นหนึง่ ทําให้ คลําได้ เป็ นก้ อนชัดเจนหนังศีรษะไม่เปลี่ยนสี มีขอบเขตชัดเจน ไม่ข้ามรอยต่อกระโหลกศีรษะ เกิดจากการ ู ที่กระดกกดหรื อกระแทกต่อเชิงกรานของมารดาเป็ น เวลานาน อาการบวมนี ้จะหายไปภายใน 6-8 สัปดาห์

Fat Necrosis คือบริ เวณเนื ้อใต้ ผิวหนังที่หนาและแข็งขึ ้น อาจมี ลักษณะเป็ นก้ อน สีผิวบริ เวณนันมั ้ กจะมีสีแดงม่วง ๆ พบ ได้ ตามบริเวณที่มีรอยกดทับ เช่นที่แก้ มหน้ าใบหู คาง หนัง ศีรษะบริ เวณparietal หรื อก้ น มักเกิดจากการคลอดด้ วยคีม

Sternomastoid Mass เป็ นก้ อนแข็งกดไม่เจ็บบริเวณกล้ ามเนื ้อ sternomastoid ข้ างใดข้ างหนึง่ หรื อทัง้ 2 ข้ าง พบได้ ตอน อายุประมาณ 1-2 สัปดาห์ไม่จําเป็ นต้ องรักษายกเว้ นบาง รายที่มีอาการคอเอียง (Torticollis) ร่วมด้ วย จึงจะรักษาให้ การรักษาทางกายภาพบําบัด (passive exercise)

กระดูกไหปลาราหัก (fracture of clavicle) พบได้ บอ่ ย ที่สดุ มักเกิดในเด็กตัวโตคลอดติดไหล่สว่ นใหญ่ชิ ้นกระดูกที่ หักไม่แยกออกจากกัน เด็กไม่คอ่ ยปวด ยกแขนได้ ปกติ คลําได้ เสียงกรอบแกรบประมาณ 2 สัปดาห์ตอ่ มาจึงจะคลํา callus ll ไดเปนกอนแขง ไ ้ ป็ ้ ็ ถาชนกระดู ้ ิ้ กแยกออกจากกนั (complete fracture) อาจเกยกัน ทําให้ คลําได้ ก้อนตรงที่ เกยกัน เด็กจะเจ็บร้ องกวน และไม่คอ่ ยยอมยกแขนข้ างนันที ้ นทีหลังคลอด

4

กระดูกตนแขนหัก (fracture of humerus) พบบ่อย รองลงมา อาจมี brachial plexus injury ร่วมด้ วย กระโหลกศีรษะราวหรือบุบ (skull fracture)

Epiphyseal injury มักเกิดในเด็กครรภ์แรกท่าก้ น คลอดทางช่องคลอด ส่วนใหญ่เกิดที่ epiphysis ของ กระดูกต้ นขา (femur) เป็ นผลทําให้ epiphysis แยกออก โดยข้ อไม่เคลื่อน (non-dislocation)

กระโหลกศีรษะบุบ (depressed skull fracture) มักจะ มีลกั ษณะคลําดูคล้ ายลูกปิ งปองบุบ กระดูกไม่แตกจากกัน โดยมากเกิดจากถูกคีมดึง (F/E)

Spinal cord injury อุอบับตตการณทเกดขนไมแนนอน กิ ารณ์ที่เกิดขึ ้นไม่แน่นอน มัมกจะ กจะ ไม่คอ่ ยวินิจฉัยว่าเป็ นการบอบชํ ้าชนิดนี ้ Allen JP ตรวจศพ เด็ก 31 รายที่ได้ รับการวินิจฉัยว่าเป็ นโรค WerdnigHoffman พบว่าร้ อยละ 58 ของเด็กจํานวนนี ้มี spinal cord injury จากการคลอด

Facial nerve palsy อาจเกิดจากศีรษะเด็กกดกับ กระดูก sacrum ของแม่ หรื อคีมกดที่กกหูหรื อมี เลือดออกในสมอง ทําให้ ไม่สามารถย่นหน้ าผาก มุมปาก ข้ างนันขยั ้ บไม่ได้ หลับตาไม่สนิท แต่ดดู นมได้

1. Erb’s palsy มีพยาธิภาพที่รากประสาทคอที่ 5 และ 6 (C5 , C6) ทําให้ กล้ ามเนื ้อต้ นแขนไม่มีแรงเป็ นอัมพาตต้ นแขน ตกหันเข้ าใน (adduction) หัวไหล่หมุนเข้ าข้ างใน (internal rotation) ข้ อศอกเหยียดออก ข้ อมืองอ และควํ่ามือ

Brachial plexus palsy มักั เกิิดในรายที ใ ่ีคลอดติดิ ไหล่ คอเด็กถูกดึงมากทําให้ เส้ นประสาทคอและกลุม่ ประสาทที่ไปเลี ้ยงแขนเหล่านี ้ถูกดึงยืดเกิดความพิการได้ 3 แบบคือ

2. Klumpke’s paralysis มีพยาธิสภาพที่รากประสาท คอที่ 8 และรากประสาทอกเส้ นแรก (C8,T1) ทําให้ กล้ ามเนื ้อมือของเด็กทํางานไม่ได้ (wrist drop)

3. Complete brachial plexus palsy มีพยาธิ สภาพจากรากประสาทคอที่ 5 ถึงรากประสาทอกเส้ น แรก (C5 –T1) ทําให้ แขนอยูน่ ิ่ง ไม่มีเหงื่อออกหรื อไม่มี ความรู้สกึ อาจมี Horner’s syndrome (ม่านตาข้ าง เดียวกันขยายโตร่วมด้ วย)

1. การรักษาเฉพาะที่ (local treatment) 2. การรักษาเฉพาะโรค (specific treatment) 3. Physical therapy และ rehabilitation

5

FETAL ALCOHOL SYNDROME

Maternal alcohol abuse during pregnancy ทําให้ ทารก มีการเจริญเติบโตช้ าผิดปกติ สมองเล็ก(microcephalic) และ ปั ญหาเกี่ยวกับหัวใจได้

WITHDRAWAL FROM COCAINE

Cocaine abuse in pregnancy is associated with a higher rate of spontaneous abortion The latter may lead to intrauterine fetal death or to neurologic damage if the infant survives.

Thank you For Your attendtion

6

Related Documents

Metabolic
December 2019 24
Metabolic Disorders
October 2019 27
Sindromul Metabolic
April 2020 11
Metabolic Reports
June 2020 5
Metabolic Disorders
December 2019 19