Final Ict Mkt Survey2008_20090226

  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Final Ict Mkt Survey2008_20090226 as PDF for free.

More details

  • Words: 9,557
  • Pages: 58
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ภาพรวม (Overview) สํา นักงานส งเสริม อุตสาหกรรมซอฟตแ วรแ หงชาติ (องคก ารมหาชน) (SIPA) และศูน ยเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) รวมกับหนวยงานพันธมิตร ไดแก สมาคมอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศไทย (ATCI) สมาคมอุตสาหกรรมซอฟตแวรไทย (ATSI) สมาคมสงเสริมการสงออก อุตสาหกรรมซอฟตแวรไทย (TSEP) สมาคมสมองกลฝงตัวไทย (TESA) สมาคมเคเบิ้ลลิ่งไทย (Thailand Cabling Association) เขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย (Software Park Thailand) และสมาคม อุตสาหกรรมคอมพิวเตอรไ ทย (ATCM) จัด ใหมีการสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology: ICT) ของประเทศไทยประจําป 2551 ขึ้น โดยศูนยเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ ไดรับมอบหมายใหเปนผูทําการสํารวจหลักในครั้งนี้ กิจกรรมการสํารวจตลาดในปนี้ เปนกิจกรรมตอเนื่องจากการสํารวจเมื่อป 2550 ซึ่งในปนี้ ดําเนินการ ภายใตโครงการการสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยประจําป 2551 และ ประมาณการป 2552 ซึ่งมีวัถตุประสงคหลักเพื่อสํารวจมูลคาการใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Spending) ที่เกิดในประเทศไทย โดยตลาด ICT ที่ทําการสํารวจ ประกอบดวย ตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวร (Computer Hardware) ตลาดคอมพิวเตอรซอฟตแวร (Computer Software) ตลาด บริการดานคอมพิวเตอร (Computer Services) และ ตลาดสื่อสาร (Communications) การจัดเก็บขอมูลมีขึ้นใน ระหวางเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน 2551 ดวยวิธีการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) จากผูประกอบการ รายหลักของตลาด (Key players) กวา 200 รายทั่วประเทศ และใชขอมูลจากแหลงตางๆ ที่มีความนาเชื่อถือ ไดแก ขอมูลจากหนวยงานภาครัฐ รายงานประจําป และขาวสารตางๆ รวมทั้งจัดประชุมรวมกับผูประกอบการใน ภาคอุตสาหกรรมเพื่อตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ในระหวางเดือนธันวาคม 2551 - มกราคม 2552 ป 2551 ที่ผานมานั้น สถานการณในประเทศไทยมีความผันผวนในประเทศคอนขางมาก ไมวาจะเปน ความขัดแยงทางการเมืองที่เริ่มมาตั้งแตตนป และทวีความรุนแรงในชวงปลายป ประกอบกับความฝดเคืองทาง เศรษฐกิจ ซึ่งสงผลเดนชัดในชวงปลายป โดยสวนหนึ่งเปนผลเนื่องมาจากปญหาความขัดแยงทางการเมืองใน ประเทศ ทําใหเกิดการชะลอการใชจายในภาครัฐ ปรากฏการณดังกลาว สงผลกระทบตอตลาด ICT ในภาพรวม เชนกัน จากการสํารวจ ในป 2551 (ตารางที่ A -1) พบวาประเทศไทยมีการใชจายในสินคาและบริการดาน ICT โดยรวมเทากับ 542,854 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2550 เพียงรอยละ 8.3 ซึ่งนอยกวาที่ประมาณการไวเล็กนอย ที่ รอยละ 13.1 อยางไรก็ตาม พบวาแนวโนมของการใชจายในกลุมตางๆ ยังคงในรูปแบบเดิม กลาวคือ การใชจาย สวนใหญอยูในตลาดสื่อสาร ซึ่งคิดเปน รอยละ 69.9 หรือมีมูลคาสูงถึง 379,216 ลานบาท ขณะที่ลําดับรองลงมา ได แ ก การใช จ า ยในตลาดคอมพิ ว เตอร ฮ าร ด แวร ตลาดคอมพิ ว เตอร ซ อฟต แ วร และ ตลาดบริ ก ารด า น คอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 13.9 รอยละ 11.6 และรอยละ 4.6 ตามลําดับ โดยมีมูลคาคิดเปน 75,720 ลานบาท 62,937 ลานบาท และ 24,981 ลานบาท ตามลําดับ และคาดวาในป 2552 ตลาด ICT จะมีการเติบโตจากป 2551 ดวยอัตราที่ลดลง คือเติบโตเพียงรอยละ 5.1 ถือไดวาเปนคาต่ําที่สุดในรอบ 10 ปที่ผานมา นอกจากปจจัยดาน ราคาที่ลดลงโดยปรกติแลว ยังคาดวาเปนผลกระทบสืบเนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจจากทั้งภายในและภายนอก 1

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ประเทศที่กอตัวมาตั้งแตปลายป 2551 และสงผลสืบเนื่องตอมายังตนป 2552 อยางไรก็ตาม ตลาดที่คาดวาจะมี การเติบโตสูงสุดในป 2552 ไดแก ตลาดบริการดานคอมพิวเตอร เติบโตที่รอยละ 14.2 รองลงมา ไดแก ตลาด สื่อสาร และตลาดคอมพิวเตอรซอฟตแวร เติบโตอยูที่รอยละ 5.6 และ 5.1 ตามลําดับ ในขณะที่ตลาดฮารดแวรนั้น คาดวาจะไมมีการเติบโต ตารางที่ A-1 มูลคาตลาด ICT ของประเทศไทยป 2550 – 2551 และประมาณการป 2552

1.Computer Hardware 2.Computer Software 3.Computer Services

มูลคา (ลานบาท) 2550 2551 2552f 68,159 75,720 75,435 56,616 62,937 66,117 21,425 24,981 28,521

4.Communications

355,117 379,216 400,534

6.8

5.6

70.8

69.9

501,317 542,854 570,607

8.3

5.1

100.0

100.0 100.0

ตลาด

รวม ICT

การเติบโต (%) 50/51 51/52 11.1 -0.4 11.2 5.1 16.6 14.2

สัดสวนตลาด ICT (%) 2550 2551 2552f 13.6 13.9 13.2 11.3 11.6 11.6 4.3 4.6 5.0 70.2

หมายเหตุ: นิยามของแตละตลาดกลาวไวใน “กรอบ นิยามและวิธีการสํารวจ”

เมื่อพิจารณาเฉพาะตลาด IT (Information Technology: IT) (ตารางที่ A-2) ซึ่งประกอบดวยตลาด คอมพิวเตอรฮารดแวร ตลาดคอมพิวเตอรซอฟตแวร ตลาดบริการดานคอมพิวเตอร และตลาดอุปกรณสื่อสาร ขอมูล (Data Communication Equipments) พบวา ตลาด IT ในป 2551 โดยรวมมีมูลคา 223,506 ลานบาท ซึ่ง เติบโตจากป 2550 รอยละ 11.9 และคาดวาในป 2552 ตลาด IT จะเติบโตในอัตราที่ลดลง อยูที่รอยละ 5.9 โดยมี มูลคาเปน 236,604 ลานบาท ตารางที่ A-2 มูลคาตลาด IT1/ ของประเทศไทยป 2550 – 2551 และประมาณการป 2552 ตลาด 1.Computer Hardware 2.Computer Software 3.Computer Services 4.Data Communication Equipment รวม IT

มูลคา (ลานบาท) 2550 2551 2552f 68,159 75,720 75,435 56,616 62,937 66,117 21,425 24,981 28,521 53,569 59,868 66,531

การเติบโต (%) 50/51 51/52 11.1 -0.4 11,2 5.1 16.6 14.2 11.8 11.1

สัดสวนตลาด IT (%) 2550 2551 2552f 34.1 33.9 31.9 28.3 28.2 27.9 10.7 11.2 12.0 26.8 26.8 28.1

199,769 223,506 236,604

11.9

100.0 100.0 100.0

5.9

หมายเหตุ : 1/ ตลาด IT = ตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวร + ตลาดคอมพิวเตอรซอฟตแวร + ตลาดบริการดานคอมพิวเตอร + ตลาด อุปกรณสื่อสารขอมูล

เมื่อพิจารณาสวนแบงทางการตลาดในกลุมตลาด IT พบวา ในป 2550 ตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวรมี สัดสวนการถือครองตลาดสูงสุดเชนเคย ดวยสัดสวนรอยละ 33.9 ซึ่งลดลงจากป 2550 เล็กนอย (รอยละ 34.1) 2

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

รองลงมา ไดแก ตลาดซอฟตแวร ตลาดอุปกรณสื่อสาร และ ตลาดบริการดานคอมพิวเตอร มีมูลคาคิดเปนรอยละ 28.2, 26.8 และ 11.2 ตามลําดับ สังเกตไดวา ตลาดบริการดานคอมพิวเตอรเริ่มมีสวนแบงในตลาด IT เพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง โดยเพิ่มจากรอยละ 10.7 ในป 2550 เปนรอยละ 11.2 และรอยละ 12.0 ในป 2551 และป 2552 ตามลําดับ ในขณะเดียวกัน สัดสวนของคอมพิวเตอรฮารดแวรและคอมพิวเตอรซอฟตแวรเริ่มหดตัวลดลงอยาง ชาและตอเนื่อง ซึ่งปรากฏการณดังกลาวสอดคลองกับกระแสโลก ซึ่งนับวัน ธุรกิจดานการบริการจะมีบทบาทใน ระบบเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้น สําหรับในประเทศไทยนั้น พบวาในป 2551 สัดสวนการใชจายในการบริการดาน คอมพิวเตอรสูงถึง 1 ใน 3 (หรือรอยละ 33) ของมูลคาคอมพิวเตอรฮารดแวร และเมื่อพิจารณาใหแคบลง โดย เปรียบเทียบการใชจายดานคอมพิวเตอรฮารดแวร ตอ คอมพิวเตอรซอฟตแวร ตอ การบริการดานคอมพิวเตอร นั้น พบวา ทุก 100 บาทที่มีการใชจายเพื่อซื้อฮารดแวรนั้น จะมีการใชจายเพื่อซื้อคอมพิวเตอรซอฟตแวรและการ บริการดานคอมพิวเตอรตามมาในมูลคา 83 บาท และ 33 บาท ตามลําดับ1 ตารางที่ A-3 มูลคาการใชจาย ICT ป 2551 จําแนกตามภาคเศรษฐกิจ

ตลาด

มูลคา (ลานบาท) ภาคเศรษฐกิจ

สัดสวน (%) ภาคเศรษฐกิจ

Enterprise/ Household/ Enterprise/ Household/ Gov. Corporate SoHo1/ Total Gov. Corporate SoHo Total 1.Computer Hardware 9,114 23,094 43,512 75,720 12.0 30.5 57.5 100.0 2.Computer Software 18,778 35,999 8,160 62,937 29.8 57.2 13.0 100.0 3.Computer Services 6,270 18,511 200 24,981 25.1 74.1 0.8 100.0 2/ 4.Communications 146,110 233,106 379,126 38.5 61.5 100.0 รวม ICT 257,876 284,978 542,854 47.50 52.5 100.0 หมายเหตุ: 1/ SoHo = Small Office and Home Office 2/ ตลาดสื่อ สาร ซึ่ งประกอบดวยตลาดบริ การและตลาดอุป กรณ โดยในแต ล ะประเภทยัง แบ งย อยเปนตลาดสื่ อสาร ประเภทเสียงและตลาดสื่อสารประเภทขอมูล ทั้งนี้ตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทขอมูล จะมีการจัดแบงกลุมเศรษฐกิจที่แตกตางจาก ตลาด ICT อื่นๆ โดยตลาดดังกลาวจําแนกภาคเศรษฐกิจออกเปน 3 กลุมคือ กลุม Enterprise/Corporate, Household/Small Office and Home Office (SoHo) และ Operators ผูซื้อในกลุมสุดทายมีการใชอุปกรณดังกลาวประกอบกิจการทางดานโครงขายของ ตนเอง ในขณะเดียวกันก็มีการขายอุปกรณตอไปยังภาครัฐดวย จึงทําใหไมสามารถแยกคาใชจายของกลุมภาครัฐออกจากภาค Enterprise/Corporate ดังเชนตลาดอื่น การนําเสนอในครั้งนี้จึงตองรวมภาคเศรษฐกิจดังกลาวไวดวยกัน

เมื่อพิจารณาการใชจายดาน ICT ในป 2551 จําแนกตามภาคเศรษฐกิจ ไดแก ภาครัฐ (Government) ภาคเอกชน (Enterprise/Corporate) และภาคครัวเรือน (Household/SOHO) ดังตารางที่ A-3 พบวา ภาค ครัวเรือนมีสัดสวนการใชจายในสินคาและบริการดาน ICT ในสัดสวนที่คอนขางสูง คิดเปนรอยละ 52.5 หรือ 284,978 ลานบาท โดยการใชจายสวนใหญกวารอยละ 81.2 (233,106 ลานบาท) อยูในตลาดสื่อสาร สําหรับ

1

ขอมูลจากป 2551 : Hardware : Software : Computer Services (ลานบาท) = 75,720 : 62,937 : 24,981 3

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ภาครัฐและภาคเอกชนนั้น มีการใชจายดาน ICT รวมกันคิดเปนรอยละ 47.5 หรือ 257,876 ลานบาท โดยการ ใชจายสวนใหญอยูในตลาดสื่อสาร (รอยละ 56.7) และตลาดซอฟตแวร (รอยละ 21.2) ตามลําดับ ตารางที่ A-4 มูลคาการใชจาย IT ป 2551 จําแนกตามภาคเศรษฐกิจ

ตลาด 1. Computer Hardware 2. Computer Software 3. Computer Services 4. Data Communication Equipments1/ รวม IT

มูลคา (ลานบาท) สัดสวน (%) ภาคเศรษฐกิจ ภาคเศรษฐกิจ Enterprise/ Household/ Enterprise/ Household/ Gov. Total Gov. 1/ Corporate SoHo Corporate SoHo 9,114 23,094 43,512 75,720 12.0 30.5 57.5 18,778 35,999 8,160 62,937 29.8 57.2 13.0 6,270 18,511 200 24,981 25.1 74.1 0.8

Total 100.0 100.0 100.0

58,676

1,192

59,868

98.0

2.0

100.0

170,442

53,064 223,506

76.3

23.7

100.0

หมายเหตุ 1/ ตลาดสื่อสาร โดยเฉพาะในตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทขอมูล จะมีการจัดแบงกลุมเศรษฐกิจที่แตกตางจาก ตลาด ICT อื่นๆ โดยตลาดดังกลาวจําแนกภาคเศรษฐกิจออกเปน 3 กลุมคือ กลุม Enterprise/Corporate, Household/Small office and Home Office (SoHo) และ Operators ผูซื้อในกลุมสุดทายมีการใชอุปกรณดังกลาวประกอบกิจการทางดานโครงขายของ ตนเองในขณะเดียวกันก็มีการขายอุปกรณตอไปยังภาครัฐดวย จึงทําใหไมสามารถแยกคาใชจายของกลุมภาครัฐออกจากกลุมของ Enterprise/Corporate ดังเชนตลาดอื่น การนําเสนอในครั้งนี้จึงตองรวมภาคเศรษฐกิจดังกลาวไวดวยกัน

เมื่อพิจารณาการใชจายตามภาคเศรษฐกิจของตลาด IT (ตารางที่ A-4) กลับพบวา ในป 2551 ภาครัฐ และภาคธุรกิจเปนกลุมหลักที่ใชจายใน IT คิดเปนรอยละ 76.3 หรือ 173,442 ลานบาท ในขณะที่ภาคครัวเรือนมี การใชจายอยูที่รอยละ 23.7 หรือ 53,064 ลานบาท สาเหตุที่ภาคครัวเรือนเองมีการใชจายในสวนของตลาด บริการดานคอมพิวเตอรและตลาดอุปกรณสื่อสารขอมูลนอยมาก เพราะสินคาและบริการสวนใหญของตลาด ดังกลาว เปนสินคาหรือบริการเพื่อใชในองคกรขนาดใหญ อยางไรก็ตาม กลุมครัวเรือนจะเปนผูใชจายหลักของ ตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวร (รอยละ 57.5) เนื่องจากในกลุมนี้ สินคาสวนใหญเปนสินคาที่นอกจากจะใชใน สํานักงานหรือองคกรแลว ยังเหมาะแกการใชงานในระดับครัวเรือนดวย สําหรับรายละเอียดผลการสํารวจตลาด นั้น จะไดกลาวในสวนตอไป

4

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

5

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวร (Computer Hardware) ผลการสํารวจมูลคาตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวรในป 2551 ดังแสดงในตารางที่ 1-1 พบวา ตลาด คอมพิวเตอรฮารดแวรในป 2551 มีมูลคาตลาดรวมทั้งสิ้น 75,720 ลานบาท เติบโตจากป 2550 คิดเปนอัตราการ เติบโตเชิงมูลคารอยละ 11.1 โดยรอยละ 66 ของมูลคาตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวรมาจากการจําหนายผลิตภัณฑ กลุม PC(Total Personal Computer) อันประกอบดวยเครื่องคอมพิวเตอรเดสกทอปพีซี เครื่องคอมพิวเตอรโนตบุค และเครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค ซึ่งเปนกลุมที่มีปริมาณการซื้อขายสูงที่สุดในตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวร สวนใน ป 2552 คาดการณวามูลคาตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวรจะมีมูลคาลดลงจากป 2551 เล็กนอย กลาวคือมีมูลคาตลาด รวมทั้งสิ้น 75,435 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเติบโตที่ลดลงรอยละ 0.4 ทั้งนี้จะเห็นไดวารอยละ 65 ยังคงมา จากการจําหนายผลิตภัณฑกลุม PC (Total PC) เฉกเชนปที่ผานม

6

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ตารางที่ 1-1 มูลคาตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวร ป 2550 – 2552

7

7

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ปจ จั ยหลักที่ชวยสงเสริม ใหมูลคาตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวรในป 2551 ยั งเติบ โตไปในทิ ศทางที่ เพิ่มขึ้น ไดแก ในปจจุบันเครื่องคอมพิวเตอรไดกลายมาเปนปจจัยที่สําคัญและจําเปนสําหรับผูบริโภคในทุกระดับ และในทุกภาคสวน ไมวาจะเปนภาคครัวเรือนหรือภาคธุรกิจ ซึ่งตระหนักถึงการนําเอา IT มาใชในกิจการเพื่อลด ตนทุนในการดําเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน อีกทั้งประเทศไทยยังมีสัดสวนการครอบครองเครื่อง คอมพิวเตอรตอประชากรคอนขางต่ํา2 โดยในป 2551 มีสัดสวนการครอบครองเครื่องคอมพิวเตอรเพียง 13.7 เครื่องตอจํานวนประชากร 100 คน นอกจากนี้ การพัฒนาอยางรวดเร็วดานเทคโนโลยีของตลาดผลิตภัณฑ คอมพิวเตอรฮารดแวร รวมทั้งการแขงขันทางตลาดที่คอนขางรุนแรง เพื่อแยงชิงสวนแบงทางการตลาดของผูคา ตางคาย ทําใหราคาขายเฉลี่ยตอหนวยของผลิตภัณฑคอมพิวเตอรฮารดแวรเกือบทุกประเภทปรับลดลงทุกป สงผลใหผูบริโภคสามารถตัดสินใจซื้อสินคาไดโดยงายในเวลา อันสั้น รวมไปถึงการที่ผูผลิตตางพากันพัฒนา ผลิตภัณฑใหมๆ ออกมาเพื่อสนองตอบความตองการของผูบริโภคเฉพาะกลุมมากขึ้น ไมวาจะเปนการผลิตเครื่อง คอมพิวเตอรมินิโนตบุคเพื่อตอบสนองกลุมลูกคาที่มีงบประมาณจํากัด หรือผูที่ตองการพกพาเครื่องคอมพิวเตอร ที่มีขนาดกะทัดรัด น้ําหนักเบา สวนผลิตภัณฑเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคนั้น ผูประกอบการทุกคายจะเพิ่มเติมใน เรื่ อ งของการพั ฒ นาออกแบบรู ป ลั ก ษณ ข องเครื่ อ งรวมทั้ ง ฟ ง ก ชั่ น การใช ง านให ต รงตามไลฟสไตล ข อง กลุมเปาหมาย หรือการพัฒนาผลิตภัณฑเครื่องเดสกทอปพีซีใหมีความสามารถในการทํางานเฉพาะกลุมมากขึ้น ไมวาจะเปนกลุมผูเลนเกมสบนคอมพิวเตอร (Gamer) หรือกลุมผูที่ใชงานหลากหลาย Applications ในเวลา เดียวกัน (Heavy User) เปนตน สวนปจจัยหลักที่เปนอุปสรรคตอการเติบโตของมูลคาตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวรในป 2551 มาจาก ความไมมั่นคงทางการเมืองในประเทศ การปรับเปลี่ยนคณะรัฐมนตรีถึง 3 ชุดในป 2551การชุมนุมประทวงปด สนามบินสุวรรณภูมิในชวงปลายเดือนพฤศจิกายน รวมไปถึงสภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจภายในประเทศ หรือ ผลกระทบที่มาจากวิกฤตสินเชื่อ Subprime ของสหรัฐอเมริกาซึ่งสงผลตอเศรษฐกิจทั่วโลก นอกจากนี้ราคาน้ํามัน เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง นับตั้งแตตนป 2551 จนถึงไตรมาสที่ 3 ของป สงผลใหตนทุนของวัตถุดิบในการผลิต เพิ่มสูงตามไปดวย ปจจัยเหลานี้ลวนสงผลกระทบตอความมั่นใจในการจับจายใชสอยของผูบริโภคทั้งในกลุม ครัวเรือนไปจนถึงกลุมธุรกิจ ทําใหเกิดการชะลอตัวในการซื้อสินคา รวมไปถึงการใชจายอยางประหยัดทั้งนี้เพื่อ ยืดอายุการใชงานของผลิตภัณฑฮารดแวรที่มีอยูใหนานขึ้น หรือชะลอเวลาในการเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอรหรือ อุปกรณฮารดแวรตางๆ เปนตน ในสวนของภาครัฐเองก็ชะลอการลงทุนโครงการใหญๆ (Mega Project) รวมไป ถึงการลดคาใชจายดาน IT ลง ดังที่ไดกลาวมาแลวในตอนตนวาราคาขายเฉลี่ยตอหนวยของผลิตภัณฑคอมพิวเตอรฮารดแวรเกือบทุก ประเภทปรับลดลงทุกป สงผลใหการเติบโตของผลิตภัณฑในเชิงมูลคามีอัตราติดลบเปนสวนใหญ ทั้งที่ปริมาณ การขายเพิ่มขึ้นทุกป การเติบโตเชิงมูลคาจึงไมสามารถสะทอนภาพที่แทจริงของตลาด ดังนั้น การพิจารณาการ เติบโตเชิงจํานวนเครื่องที่ขาย (unit) จะทําใหภาพการเติบโตของตลาดชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เห็น 2

จากการรวบรวมขอมูลจํานวนเครื่องเดสกทอปพีซี เครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคและเครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค ตั้งแตป 2547 – 2551 (ที่มา : สมาคม ATCI และ NECTEC) มีจํานวนทั้งสิ้น 8,677,700 เครื่อง หารเฉลี่ยดวยจํานวนประชากรในป 2551 จํานวน ทั้งสิ้น 63,389,730 คน (ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) คิดเปนสัดสวนเครื่องคอมพิวเตอรตอจํานวนประชากร = 13.7 เครื่องตอประชากร 100 คน 8

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ไดชัดเจนในป 2551 ไดแก ปริมาณการเติบโตของตลาดคอมพิวเตอรโนตบุค การเติบโตอยางมากของตลาด เครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค การหดตัวของตลาดจอภาพ CRT ซึ่งถูกทดแทนดวยจอภาพ LCD อยางสมบูรณ การเพิ่มปริมาณการจําหนายเครื่องพริ้นเตอรประเภท All in one การเติบโตเชิงปริมาณอยางตอเนื่องของตลาด กลองดิจิทัล รวมไปถึงการเติบโตในเชิงมูลคาของตลาด External Data Storage แผนภาพที่ 1-1 แสดงการเปรียบเทียบอัตราการเติบโตเชิงปริมาณ ของผลิตภัณฑคอมพิวเตอรฮารดแวรบางประเภท นับตั้งแตป 2548 - 2552

รอยละของอัตราการเติบโตเชิงปริมาณ

จากแผนภาพที่ 1-1 แสดงให เ ห็ น อั ต ราการเติ บ โตในเชิ ง ปริ ม าณที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ งของกลุ ม ผลิตภัณฑคอมพิวเตอรฮารดแวร อาทิ กลองดิจิทัล เครื่องพิมพประเภท All in one (Inkjet และ Laser) จอภาพ LCD เครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค และเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุค สวนผลิตภัณฑคอมพิวเตอรฮารดแวรที่มี อัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เปรียบเทียบกับผลิตภัณฑที่มีอัตราการเติบโตลดลงทุกป ไดแก เครื่อง PDA ซึ่งถูกแยงสวนแบงตลาดจากตลาด PDA Phone และ Smartphone หรือจอภาพ CRT ซึ่งถูกทดแทนดวย จอภาพประเภท LCD นับตั้งแตป 2548 เปนตนมา

9

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

แผนภาพที่ 1-2 แสดงสัดสวนปริมาณการจําหนายเครื่อง Desktop PC ระหวาง Inter Brand กับ Local Brand + DIY ป 2548 - 2552

เมื่อพิจารณาถึงปริมาณการจําหนายเครื่องคอมพิวเตอรเดสกทอปพีซีนับตั้งแตป 2548 เปนตนมาดัง แผนภาพที่ 1-2 พบวาสัดสวนปริมาณการจําหนายระหวางเครื่องคอมพิวเตอรเดสกทอปพีซีสําเร็จรูปที่นําเขาจาก ตางประเทศ (International Brand หรือเรียกวา Inter Brand PC) กับเครื่องคอมพิวเตอรเดสกทอปพีซีท่ีผลิต ภายในประเทศ (Local Brand PC) และเครื่องคอมพิวเตอรที่ประกอบเอง (DIY: Do it Yourself) เริ่มเขาใกลกัน มากขึ้น โดยในป 2548 สัดสวนปริมาณการจําหนายระหวางเครื่อง Inter Brand PC กับ Local Brand PC + DIY อยูที่ 20:80 ตอมาในป 2549 สัดสวนดังกลาวเปลี่ยนไปเปน 25:75 และในป 2550 สัดสวนดังกลาวจะอยูที่ 40:60 และในป 2551 ที่ผานมา สัดสวนดังกลาวเริ่มเขาใกลกันมากขึ้นเปน 47:53 นั่นหมายความวา ผูบริโภคนิยมที่จะ ซื้อเครื่องคอมพิวเตอรที่นําเขามาจากตางประเทศมากขึ้น เนื่องมาจากระดับราคาที่ลดลงจนใกลเคียงกับเครื่อง คอมพิวเตอรที่ผลิตภายในประเทศ รวมไปถึงการยอมรับในตราสินคาของผลิตภัณฑ และในป 2552 คาดวา สัดสวนดังกลาวจะเปน 50:50 สวนตลาดเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคนั้น พบวาในป 2551 เครื่องคอมพิวเตอรโนตบุค มีการเติบโตเชิง ปริมาณจากป 2550 กวารอยละ 55 โดยมีการจําหนายทั้งสิ้น 1,200,000 เครื่อง ซึ่งเปนผลมาจากการที่ผูขาย/ ผูผลิตตางพากันลดราคาสินคา โดยในป 2550 ราคาขายเฉลี่ยตอเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคอยูที่ 25,000 บาท ในขณะที่ ป 2551ราคาขายปรับลดลงมาอยูที่เครื่องละ 23,000 บาทและยังคงลดลงอยางตอเนื่องในป 2552 ซึ่ง คาดวาจะมีราคาอยูที่เครื่องละ 20,500 บาท ซึ่งสงผลตอพฤติกรรมผูบริโภคดวย กลาวคือ จากเดิมที่เคยซื้อ เครื่องเดสกทอปพีซีเปนคอมพิวเตอรเครื่องแรก จะหันมาซื้อเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคแทน เนื่องจากปจจุบัน ชวงหางของราคาเครื่องคอมพิวเตอรเดสกทอปพีซีกับเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคเขาใกลกันมาก (ราคาขายเฉลี่ย ต อ หน ว ยของเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร เ ดสก ท อปพี ซี ใ นป 2551อยู ที่ 16,500 บาท) นอกจากนี้ ยั ง พบว า เครื่ อ ง คอมพิวเตอรโนตบุคและเครื่องคอมพิวเตอรเดสกทอปพีซีมีประสิทธิภาพคอนขางใกลเคียงกัน สงผลใหผูบริโภค ตัดสินใจที่จะเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคเปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องแรกมากขึ้น นอกจากนี้ ยังพบวา การใชเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคเริ่มขยายตัวเขาไปอยูในสถานศึกษาเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเห็นไดวาปจจุบันนี้นักศึกษา สวนใหญจะมีเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคเปนของตนเอง สงผลใหปริมาณการจําหนายเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุค 10

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ในป 2551 เพิ่มขึ้นเปนอยางมาก สําหรับป 2552 คาดวาตลาดเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคจะเติบโตเพิ่มขึ้นใน อัตรารอยละ 20 ซึ่งไมสูงนักเมื่อเทียบกับอัตราการเติบโตในป 2551 สวนหนึ่งเปนผลมาจากการเติบโตของตลาด เครื่องคอมพิวเตอรมินิ-โนตบุค ซึ่งมีการพัฒนารูปแบบการใชงานใหมีความสามารถใกลเคียงกับเครื่อง คอมพิวเตอรโนตบุค จึงเขามาแยงสวนแบงตลาดของเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคไปบางสวน นอกจากตลาดเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคจะมีอัตราการเติบโตคอนขางสูงในแตละปแลว สัดสวนปริมาณ การขายระหวางเครื่องคอมพิวเตอรเดสกทอปพีซีกับเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุกและเครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค ก็ เ ริ่ ม เข า ใกล กั น มากขึ้ น กล า วคื อ นั บ ตั้ ง แต ป 2548 เป น ต น มา สั ด ส ว นปริ ม าณการขายระหว า งเครื่ อ ง คอมพิวเตอรเดสกทอปกับเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุกอยูที่ 79:21 ตอมาในป 2549 สัดสวนดังกลาวปรับมาอยูที่ 69:31 ในป 2550 สัดสวนดังกลาวเริ่มเขาใกลกันเปน 61:39 เนื่องจากมีผลิตภัณฑใหมๆ เขามาแชรสวนแบง ตลาดนี้ อันไดแก เครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค ในป 2551 สัดสวนดังกลาวอยูที่ 50:50 และในป 2552 จะเปนป แรกที่ปริมาณการจําหนายเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุครวมกับเครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค จะสูงกวาปริมาณการ จําหนายเครื่องคอมพิวเตอรเดสกทอปพีซี โดยมีปจจัยบวกมาจากราคาขายเฉลี่ยตอหนวยของเครื่องคอมพิวเตอร โนตบุกที่เขาใกลกับเครื่องคอมพิวเตอรเดสกทอปพีซีมากขึ้น (ราคาขายเฉลี่ยของเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุกในป 2552 อยูที่เครื่องละ 20,500 บาท ในขณะที่ราคาของเครื่องเดสกทอปพีซีอยูที่ 15,000 บาท) และการเติบโต เพิ่ม ขึ้นของปริมาณการจําหนา ยเครื่องคอมพิ วเตอรมินิโ นตบุค จากกลุมผูซื้อที่มีงบประมาณจํา กัด หรื อผูที่ ตองการเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคเครื่องที่ 2 รวมไปถึงเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไรสายที่จะเกิดขึ้นในป 2552 ไมวาจะเปนเทคโนโลยี 3G หรือ WiMax จะชวยเอื้อประโยชนใหกับผลิตภัณฑคอมพิวเตอรฮารดแวรที่สามารถ พกพาไปใชงานไดอยางสะดวก อยางเชน เครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคและเครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุคดวย เชนเดียวกัน จากปจจัยบวกทั้งหมดดังที่กลาวมา ลวนสงผลใหสัดสวนปริมาณการขายระหวางเครื่องคอมพิวเตอร เดสกทอปกับเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุกในป 2552 จะกลับกันเปน 45:55 ดังแสดงในแผนภาพที่ 1-3 แผนภาพที่ 1-3 แสดงสัดสวนปริมาณการจําหนายเครื่อง Desktop PC กับ Notebook + Mini Notebook ป 2548 – 2552

11

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ดังที่ไดกลาวมาแลวในขางตนวา เครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุคไดเขามาแยงสวนแบงตลาดของเครื่อง คอมพิวเตอรโนตบุคไปบางสวน อันเนื่องมาจากขอไดเปรียบในเรื่องของขนาดที่เล็กกวา รวมไปถึงน้ําหนักเครื่อง ที่เบากวา และมีราคาขายที่ถูกกวาเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุค ดังนั้นเครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค จึงสามารถ ตอบสนองกลุมลูกคาที่มีงบประมาณจํากัดและไมตองการเครื่องคอมพิวเตอรที่มีความซับซอนมากนัก เชน นักเรียน นักศึกษา แมบาน รวมทั้งกลุมคนทํางานที่ตองการเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องที่ 2 ไวใชในการพกพาหรือ นําเสนองานนอกสถานที่ ดังจะเห็นไดจากปริมาณการเติบโตเปนอยางมากของเครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค นับตั้งแตเริ่มเขาสูตลาดในป 2550 ดังแสดงในแผนภาพที่ 1-4 จะเห็นไดวาในป 2550 เครื่องคอมพิวเตอรมินิ โนตบุคมีปริมาณการจําหนายรวมทั้งสิ้น 10,000 เครื่อง แตในป 2551 ปริมาณการจําหนายเพิ่มขึ้นถึง 8 เทาตัว โดยมีปริมาณการขายรวมทั้งสิ้น 80,000 เครื่อง หรือคิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 700 และในป 2552 คาดวา ปริมาณดังกลาวจะเพิ่มขึ้นเปน 104,000 เครื่อง หรือคิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 30 แผนภาพที่ 1-4 แสดงปริมาณการขายเครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค นับตั้งแตป 2550 - 2552 ป

จํานวน (เครื่อง)

สําหรับตลาดจอภาพ3 ในป 2551 ที่ผานมา พบวา ตลาดจอภาพประเภท CRT มีการเติบโตเชิงปริมาณ ในทิศทางที่ลดลงเปนอยางมาก กลาวคือ ในป 2551 มีการจําหนายจอภาพประเภทดังกลาวเพียง 25,500 เครื่อง หรือเติบโตจากป 2550 ในอัตราที่ลดลงรอยละ 51.4 โดยคาดวากลางป 2552 จอภาพประเภทนี้จะหมดไปจาก ตลาด เนื่องจากผูผลิต/เจาของตราสินคาจะหยุดการพัฒนาเทคโนโลยีของจอภาพประเภทนี้ และจะหันไปมุงเนน การพัฒนาผลิตภัณฑจอภาพประเภท LCD แทน ไมวาจะเปนในเรื่องของการปรับรูปลักษณการออกแบบและ ฟงกชันเพื่อสนองตอรูปแบบการดําเนินชีวิตของผูบริโภคมากขึ้น ซึ่งสงผลใหราคาขายของจอภาพประเภท ดังกลาวปรับลดลงทุกปอีกดวย ดังจะเห็นไดจากสัดสวนปริมาณการจําหนายระหวางจอภาพประเภท CRT กับ จอภาพประเภท LCD (แผนภาพที่ 1-5) ซึ่งพบวานับตั้งแตป 2548 เปนตนมา สัดสวนดังกลาวเริ่มจาก 49:51 และลดลงเปน 40:60 ในป 2549 และเริ่มตางกันมากยิ่งขึ้นเปน 20:80 ในป 2550 และกลายเปน 8:92 ในป 2551 โดยคาดวาในป 2552 นี้จอภาพประเภท LCD จะเขามาแทนที่จอภาพ CRT ไดอยางสมบูรณ 3

จอภาพในที่นี้ ไมนับรวมจอภาพที่ขายควบไปกับเครื่องคอมพิวเตอรเดสกทอปพีซี 12

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

แผนภาพที่ 1-5 แสดงสัดสวนปริมาณการจําหนายจอภาพ CRT และ LCD ป 2548 – 2552

ในกลุมของตลาดพริ้นเตอรนั้น พบวาในป 2551 มีปริมาณการจําหนายรวมทั้งสิ้น 1,355,500 เครื่อง เมื่อเทียบกับป 2550 ที่มียอดจําหนายอยูที่ 1,359,000 เครื่อง จะเห็นไดวามีปริมาณการจําหนายที่ลดลง เนื่องจากไดรับผลกระทบจากความไมมั่นคงทางการเมืองในประเทศ และภาวะวิกฤตเศรษฐกิจที่ถดถอยทั้งใน ประเทศและตางประเทศ ทําใหผูใชในกลุมผูประกอบการขนาดกลางและเล็กมีการปดตัวหรือชะลอการใชจาย รวมถึ ง การชะลอการลงทุ น โครงการต า งๆ ของกลุ ม ผู ใ ช ใ นภาครั ฐ และผู บ ริ โ ภคมี กํ า ลั ง ซื้ อ ลดลง แต ใ น ขณะเดียวกันเครื่องพริ้นเตอรแบบ All in one กลับไดรับความนิยมและมีปริมาณการจําหนายที่เพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง ทั้งประเภท Inkjet และ Laser โดยมีอัตราการเติบโตในเชิงปริมาณสูงที่สุด คือ รอยละ15 ในป 2551 โดยมีปจจัยสนับสนุนจากการที่ผูผลิตแขงกันปรับลดราคาเพื่อกระตุนยอดจําหนายในสภาวะที่เศรษฐกิจซบเซา รวมทั้งการเกิดขึ้นของเทคโนโลยีที่สามารถรองรับการทํางานแบบไรสาย (wireless) ไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการพัฒนาเครื่องพริ้นเตอรใหสามารถพิมพไดเร็วยิ่งขึ้น ทําใหพริ้นเตอรแบบ All in one ไดรับความนิยม มากขึ้น สงผลใหตลาดพริ้นเตอรแบบ All in one เติบโตอยางตอเนื่องในป 2550 และ 2551 และคาดวาในป 2552 ตลาดจะมีการเติบโตจากป 2551 ประมาณรอยละ 15 สําหรับตลาด External Data Storage การสํารวจในป 2551 พบวา ตลาด External Data Storage มี มูลคารวมทั้งสิ้น 3,360 ลานบาท มีการเติบโตเชิงมูลคาจากป 2550 คิดเปนรอยละ 3 โดยมูลคาตลาดกวารอยละ 55 จะมาจากการจําหนาย Enterprise Storage ทั้งนี้สาเหตุหลัก มาจากการที่ผูประกอบกิจการโดยเฉพาะ ภาคเอกชน เชน ธุรกิจธนาคาร สถาบันการเงิน กิจการโทรคมนาคม โรงพยาบาล ฯลฯ ตองการจัดเก็บขอมูลใน รูปแบบดิจิทัลมากขึ้น ไมวาจะเปนไฟลเอกสาร ไฟลรูปภาพ ไฟลเสียง ไฟลวีดิโอ เพื่อลดปริมาณกระดาษและ พื้นที่ในการจัดเก็บเอกสาร จึงมีความจําเปนตองซื้อ Storage เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ มาตรการ/กฎระเบียบตางๆ เชน การประกาศใช พรบ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 ที่มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 18 กรกฎาคม 2550 ซึ่งกําหนดใหผูใหบริการอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider) ตองจัดเก็บขอมูลของ ผูใชบริการไมนอยกวา 90 วัน หรือการที่ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศแผนงานการใชมาตรฐานเช็คและ 13

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

มาตรฐานภาพเช็ค (Image Friendly & Image Cheque Clearing System: ICS) ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2552 เปนตนไป ลวนเปนปจจัยที่สงผลใหใหมูลคาตลาด Storage เติบโตขึ้นอยางตอเนื่อง สําหรับตลาดกลองดิจิทัล (แบงออกเปน 2 ประเภท คือ กลองดิจิทัลคอมแพคและกลองดิจิทัล SLR) พบวา ในป 2551 ตลาดมีการเติบโตอยางตอเนื่องจากป 2550 โดยมีปริมาณการจําหนายสูงถึง 1,000,000 เครื่อง คิด เปนรอยละ 18 เนื่องจากการแขงขันดานราคาผูขายตางพากันปรับลดราคาและนําเสนอโปรโมชั่นที่ดึงดูดใจ ผูบริโภค สํ า หรั บตัวผลิตภัณฑเองก็มีการพัฒ นาเพื่อ ใหสามารถตอบสนองการใชงานไดงา ยขึ้น และพัฒ นา เทคโนโลยีอยางตอเนื่อง เชน จอภาพแบบ touch screen ความสามารถในการบันทึกภาพวิดีโอและซูมภาพได ในขณะถายภาพ เปนตน อยางไรก็ตาม คาดวาในป 2552 ตลาดกลองดิจิทัลจะมีการขยายตัวในอัตราที่ลดลงจาก ป 2551 ประมาณรอยละ 10 ซึ่งเปนผลมาจากภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศที่ถดถอยทําใหผูบริโภคชะลอการใช จาย และภาวะการวางงานหรือการเลิกจางงานภายในประเทศ เมื่อพิจารณามูลคาตลาดจากมิติของผูบริโภค ดังตารางที่ 1-2 โดยจําแนกตามภาคเศรษฐกิจ พบวา ในป 2551 ภาคครัวเรือนและสํานักงานขนาดเล็ก (SOHO : Small Office and Home Office) มีการใชจายใน คอมพิวเตอรฮารดแวรสูงที่สุด คิดเปนมูลคาทั้งสิ้น 43,512 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 57.5 ของมูลคาตลาด คอมพิวเตอรฮารดแวรรวม รองลงมา ไดแก ภาคธุรกิจ มีการใชจายดานคอมพิวเตอรฮารดแวรจํานวนทั้งสิ้น 23,094 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ 30.5 ของมูลคาตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวรรวม สวนภาครัฐมีการใชจาย ดานคอมพิวเตอรฮารดแวรคิดเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 9,114 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 12.0 ของมูลคาตลาด คอมพิวเตอรฮารดแวรรวม ตารางที่ 1-2 มูลคาตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวรป 2551 จําแนกตามภาคเศรษฐกิจ ลานบาท

Catagories 1 2 3 4 5 6 7

System Desktop PC Traditional Notebook Mni Notebook Monitor Printer External Data Storage External Harddisk Hi-end level/Entry level 8 Scanner 9 Digital Camera 10 PDA Total Hardware Computer Market

SOHO Ratio 13.8 55.0 65.0 94.0 80.0 60.0 48.0 90.0 15.0 10.0 80.0 95.0

Value 1,198 11,798 17,940 752 1,019 2,359 1,599 1,314 285 11 6,800 38

57.5

43,512

Enterprise Ratio Value 72.1 6,247 30.0 6,435 25.0 6,900 5.0 40 20.0 255 28.0 1,101 35.0 1,191 10.0 146 55.0 1,045 70.0 74 10.0 850 5.0 2

Government Ratio Value 14.0 1,216 15.0 3,218 10.0 2,760 1.0 8 12.0 472 17.0 570 30.0 570 20.0 21 10.0 850 -

30.5

12.0

14

23,094

9,114

Total 8,660 21,450 27,600 800 1,274 3,931 3,360 1,460 1,900 105 8,500 40 75,720

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ทั้งนี้ ปจจัยบวก ที่คาดวาจะสงผลใหตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวรเติบโตในป 2552 ไดแก • การมีรัฐบาลชุดใหม ที่คาดวาจะเรียกความมั่นใจจากภาคเอกชนและภาคประชาชนกลับคืนมา รวมไป ถึงจะเกิดการใชจายงบประมาณของภาครัฐในโครงการขนาดใหญ (Mega Project) • สินคา IT กลายมาเปนสิ่งจําเปนในวิถีการดําเนินชีวิตปจจุบันของประชาชนในทุกระดับทั้งภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ • สภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอย สงผลใหภาคเอกชนตระหนักถึงการนําเอา IT เขามาประยุกตใช เพื่อลด ตนทุนในการจางคนเพิ่มและชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานขององคกร • เทคโนโลยีสื่อสารไรสาย เชน 3G, WiMax สงผลใหเกิดการใชสินคาคอมพิวเตอรฮารดแวรเพิ่มขึ้น เชน Mini Notebook, Traditional Notebook, PDA Phone เปนตน • ราคาน้ํามันเริ่มปรับตัวลดลงในไตรมาสที่ 4 ของป 2551 สงผลใหราคาขายสินคาคอมพิวเตอรฮารดแวร ปรับตัวลดลง อันเนื่องมาจากตนทุนคาขนสงลดลง • มาตรการ/มาตรฐานใหมๆ ที่ออกมา เชน มาตรการของ Internet Security อาทิ พระราชบัญญัติวาดวย การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550, การปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดเก็บเอกสารจาก รู ป แบบของจดหมาย หรื อ แฟ ม เอกสารไปเป น การจั ด เก็ บ ข อ มู ล ในรู ป แบบของดิ จิ ทั ล (Paperless Technology),การขยายตัวของตลาดกลองวงจรปด (Digital CCTV) เปนตน ปจจัยตางๆ เหลานี้ลวน สงผลใหป ริมาณการจัดเก็บขอมูลเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย จึงทําใหต ลาด Storage โตเพิ่มขึ้ นอยา ง ตอเนื่อง ปจจัยลบ ที่จะเปนอุปสรรคในการเติบโตของตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวรในป 2552ไดแก • ผลจากวิกฤตเศรษฐกิจการเงินจากสหรัฐอเมริกา ซึ่งสงผลกระทบไปทั่วโลก จะเริ่มเห็นภาพชัดเจนขึ้น ในทุกอุตสาหกรรม • ภาวะเศรษฐกิจของประเทศถดถอย สงผลใหผูบริโภคระมัดระวังในการใชจาย โดยจะคํานึงถึงความ คุมคาของสินคาที่จะซื้อเทียบกับราคาขาย รวมไปถึงการชะลอรอบการเปลี่ยนเครื่องใหมเพื่อทดแทน เครื่องเดิม แนวโนมเทคโนโลยี (Technology Trend) สามารถสรุปได ดังนี้ 1. Green IT เปนแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑเพื่อลดการใชพลังงาน และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เชน กินไฟนอย หรือชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานมากขึ้น ซึ่งในปจจุบันนี้ผูผลิตสินคาคอมพิวเตอร ฮารดแวรทั้งหลายตางก็ตระหนักในเรื่องของการรักษาสิ่งแวดลอม รวมไปถึงการประหยัดพลังงาน เพื่อเปนการ ลดตนทุนใหกับผูใชงานในทุกระดับ รวมทั้งเปนการชวยลดปญหาสภาวะโลกรอนอีกดวย เชน การออกแบบ เซิรฟเวอรรุนใหมๆ ใหมีขนาดเล็กลง เพื่อชวยประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง โดยมีคุณสมบัติเดนในเรื่องของการ 15

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ประหยัดพลังงาน หรือการวิจัยและพัฒนาการผลิตแบตเตอรี่ของเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคใหมีอายุการใชงาน ไดยาวนานขึ้น เพื่อชวยลดปญหาขยะไอที เปนตน 2. เทคโนโลยีเสมือน (Virtualization Technology) เปนการรวบรวมเอาทรัพยากรดานการประมวลผล และการจัดเก็บขอมูลบนเซิรฟเวอรแตละเครื่องมารวมกันไวตรงกลาง จากนั้นจึงใหผูใชสามารถนําทรัพยากร เหลานั้นมาใชประโยชนไดตามเหมาะสม หรือตามความตองการของแตละระบบ4 ซึ่งเทคโนโลยีดังกลาวจะอยู ในผลิตภัณฑประเภท Systems และ Data Storage 3. ระบบการประมวลผลแบบกลุมเมฆ (Cloud Computing) เปนแนวคิดสําหรับ แพลทฟอรมของระบบ คอมพิวเตอรในยุคหนา เพื่อเปนทางเลือกใหแกผูใชในการลดภาระดานการลงทุนในเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) ทั้งการใชงานในระดับองคกรธุรกิจ (Corporate Users) และผูใชระดับสวน บุคคล (Individual Users) โดยเปนหลักการนําทรัพยากรของระบบไอที ทั้งฮารดแวร และซอฟตแวรมาแบงปน ในรูปแบบการใหบริการ (Software As A Services: SaaS) ในระดับการประมวลผลผานเครือขาย อินเทอรเน็ต โดยผูใชไมจําเปนตองมีเครื่องคอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูง หรือติดตั้งซอฟตแวรระบบ ตลอดจน ซอฟตแวรแอพพลิเคชั่นจํานวนมาก ๆ เพื่อการทํางานที่ซับซอน แตสามารถใชบริการประมวลผล และ แอพพลิเคชั่นตาง ๆ จากผูใหบริการระบบประมวลผลกลุมเมฆ และชําระคาบริการตามอัตราการใชงานที่ เกิดขึ้นจริง5 ซึ่งเทคโนโลยีดังกลาวจะอยูในผลิตภัณฑประเภท Systems และ Data Storage เชนเดียวกันกับ เทคโนโลยีเสมือน 4. เทคโนโลยีการขจัดขอมูลซ้ําซอน (Data Deduplication)6 เปนเทคโนโลยีในการบริหารจัดการ อุปกรณสํารองขอมูล (Data Storage) กลาวคือ ในการจัดเก็บขอมูล หากมีการจัดเก็บขอมูลชุดเดียวกันหลาย ครั้ง ระบบจะดําเนินการกําจัดขอมูลที่มีความซ้ําซอนกันทิ้งไป และเลือกที่จะเก็บขอมูลตนฉบับไวเพียงชุดเดียว ด ว ยเทคโนโลยี ดั ง กล า วนี้ จึ ง ช ว ยประหยั ด พื้ น ที่ ใ นการจั ด เก็ บ ข อ มู ล ให กั บ หน ว ยงานเป น อย า งมาก โดย เทคโนโลยีดังกลาวจะอยูในผลิตภัณฑกลุม Enterprise Data Storage 5. เทคโนโลยี 3G และ WiMax ที่คาดวาจะสามารถเปดใหบริการไดในป 2552 ซึ่งหากเปนไปไดจริง ก็ จะช ว ยให เ กิ ด การขยายการให บ ริ ก ารไปยั ง ผลิ ต ภั ณ ฑ ต า งๆ ในกลุ ม คอมพิ ว เตอร ฮ าร ด แวร อาทิ เครื่ อ ง คอมพิวเตอรโนตบุค เครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค เปนตน 6. จอภาพ OLED (Organic Light Emitting Diode) ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อมาแทนที่จอภาพ LCD โดยมี คุณสมบัติที่เหนือกวาจอภาพ LCD ในเรื่องของขนาดจอที่บางลง มีน้ําหนักเบากะทัดรัด มีมุมมองที่กวางกวา สามารถทนตออุณหภูมิต่ําๆ ได ใชพลังงานไฟฟานอยกวา 20% ใหภาพสีคมชัด และความสวางมากกวา7 ซึ่ง

4

Virtualization Technology, ที่มา: http://www.vcharkarn.com/vblog/38307/1, สืบคนเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2552. ระบบการประมวลผลแบบกลุมเมฆ (Cloud Computing), ที่มา: http://www.vcharkarn.com/vblog/38378/1, สืบคนเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2552. 6 Data Deduplication, ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Data_deduplication, สืบคนเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2552. 7 OLED Display Device, ที่มา: http://www.vcharkarn.com/varticle/33787, สืบคนเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2552. 16 5

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

เทคโนโลยีนี้ จะถูกนําไปใชในการผลิตจอภาพ อาทิ จอภาพของเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุค ซึ่งจะชวยใหเครื่อง คอมพิวเตอรโนตบุคมีน้ําหนักเบา และมีขนาดที่บางลง 7. การพัฒนาสถาปตยกรรมซีพียู โดยในป 2552 จะเริ่มมีการผลิตชิปโดยใชเทคโนโลยีการผลิตแบบ 32 นาโนเมตร ซึ่งจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพใหกับเครื่องคอมพิวเตอร และชวยในเรื่องของการประหยัดพลังงาน8อัน จะสงผลตอการพัฒนาสมรรถนะการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรในกลุม Systems เครื่องคอมพิวเตอร เดสกทอปพีซี เครื่องคอมพิวเตอรโนตบุค เปนตน 8. การหลอมรวมกันของสินคาและบริการ (Convergence) เชน บริการ video conference ซึ่งเปนการ ผสมผสานกันระหวางอุปกรณคอมพิวเตอรฮารดแวรและบริการสื่อสาร ทําใหเกิดการประชุมทางไกลที่สามารถ สงขอมูลภาพและเสียงไปในเวลาเดียวกัน หรือการใสซิมโทรศัพทในเครื่องคอมพิวเตอรมินิโนตบุค ทําให ผูใ ช งานสามารถติ ดต อ สื่ อ สารผ า นเครื่ อ งคอมพิ ว เตอรไ ด ส ะดวกทุ ก ที่ ทุ ก เวลา เป น ต น ดั ง นั้ น ในอนาคต อันใกลนี้ การพัฒนาเทคโนโลยีจึงไมถูกจํากัดอยูแคเพียงในกลุมผลิตภัณฑคอมพิวเตอรฮารดแวรเทานั้น แต อาจจะมาจากการผสมผสานกันอยางลงตัวระหวาง IT และ Telecommunication ดังตัวอยางขางตนก็เปนไปได ซึ่ง จะชวยใหทั้ง อุต สาหกรรมคอมพิ ว เตอร แ ละอุต สาหกรรมสื่อ สารเติบ โตไปในทิศ ทางที่ ต อบสนองความ ตองการของผูบริโภคไดหลากหลายรูปแบบมากขึ้น 9. อุปกรณพีโอเอสแบบไรสาย (Wireless POS) ดวยอุปกรณดังกลาว จะชวยใหกระบวนการในการซื้อ ขายสินคาเปนไปดวยความรวดเร็ว ตัวอยางเชน ในรานอาหาร เมื่อลูกคาสั่งอาหาร คําสั่งดังกลาวจะถูกสงไปที่ หองครัวทันที รวมทั้งระบุสถานที่ภายในรานที่ลูกคาตองการใหทางรานนําไปเสิรฟ เปนตน9 ซึ่งเทคโนโลยีนี้จะ อยูในกลุมผลิตภัณฑประเภท Special Purpose Equipment ในสวนของกลุม POS (Point of Sales Market)

8

อินเทลสาธิตชิป 32 นาโนเมตร รุนแรกของโลก, http://www.intel.com/cd/corporate/pressroom/apac/tha/date/2007/ 402897.htm, สืบคนเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2552. 9 Wireless POS, http://en.wikipedia.org/wiki/Wireless_POS, สืบคนเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2552. 17

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ตลาดคอมพิวเตอรซอฟตแวร (Computer Software) การสํารวจตลาดคอมพิวเตอรซอฟตแวรในป 2551 ใชกรอบนิยามเดียวกับการสํารวจตลาดในป 2550 โดยมีการแบงตลาดซอฟตแวรออกเปน 4 กลุมหลักไดแก (1) Enterprise Software (2) Mobile Application Software (3) Embedded Software และ (4) ซอฟตแวรกลุมอื่นๆ ที่ไมไดจัดอยูใน 3 กลุมขางตน เชน ซอฟตแวรดาน e-Learning ซอฟตแวรเฉพาะดานตางๆ เปนตน โดยภาพรวมมูลคาตลาดคอมพิวเตอรซอฟตแวร ไทยนับตั้งแตป 2549 – 2552 เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตามอัตราการเติบโตกลับลดลงโดยตลอดจาก รอยละ 20.8 ในป 2549 เปนรอยละ 5.1 ในป 2552 (แผนภาพที่ 2-1) แผนภาพที่ 2-1 มูลคาและอัตราการเติบโตของตลาดซอฟตแวร ป 2549 - 2552 ลานบาท

%

80,000 70,000

มูลคาตลาด อัตราการเติบโต

20.8 62,937

60,000 50,000

56,616 50,064

66,117

20 15

11.2

13.1

25

10 5.1

40,000

5

30,000

0 2549

2550

2551

2552 f

ทั้งนี้ตลาดซอฟตแวรในป 2551 มีมูลคารวม 62,937 ลานบาท มีอัตราการเติบโตรอยละ 11.2 (ตารางที่ 2-1) เมื่อพิจารณาแยกตามประเภทซอฟตแวรหลักพบวา Enterprise Software มีมูลคาสูงสุดคือ 55,547 ลาน บาท โดยขยายตัวจากป 2550 รอยละ 10.1 รองลงมา ไดแก Mobile Application มีมูลคา 2,640 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 23.8 และ Embedded Software มีมูลคา 2,359 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 21.8 โดยประมาณ การมูลคาตลาดซอฟตแวร ป 2552 มีมูลคา 66,117 ลานบาท เติบโตรอยละ 5.1 โดย Enterprise Software มี มูลคาสูงสุดคือ 57,550 ลานบาท ขยายตัวจากป 2551 รอยละ 3.6 รองลงมา ไดแก Mobile Application มีมูลคา 3,192 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 20.9 และ Embedded Software มีมูลคา 2,725 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 15.5

18

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ตารางที่ 2 – 1 มูลคาตลาดคอมพิวเตอรซอฟตแวร ป 2550 - 2552 ประเภทซอฟตแวร

มูลคา (ลานบาท)

อัตราการเติบโต (%)

2550

2551

2552f

49/50

50/51

51/52f

1. Enterprise Software1/

50,470

55,547

57,550

11.7

10.1

3.6

2. Mobile Application2/

2,133

2,640

3,192

29.1

23.8

20.9

3. Embedded Software

1,937

2,359

2,725

30.8

21.8

15.5

4. Others3/

2,075

2,391

2,651

17.6

15.2

10.9

56,616

62,937

66,117

13.1

11.2

5.1

รวม

หมายเหตุ : 1/ รวมถึงซอฟตแวร 2 กลุม ไดแก Package Software และ Software Development 2/ Business Application and Entertainment Application 3/ e-Learning, CAD/CAM, Games (ไมรวมเกมออนไลน) ฯลฯ

ปจจัยหลัก ที่สงผลใหตลาดซอฟตแ วรเติบโตในป 2551 ประกอบดวย (1) การใชจายภาครั ฐบาลที่ ขยายตัวไดดี 3 ไตรมาสแรก แมไมมีโครงการขนาดใหญ (2) การลงทุนของภาคการเงิน ไมวาจะเปนการลงทุน ดาน Core Banking การลงทุนระบบอื่นๆ ของภาคการเงินเพื่อปรับรูปแบบการใหบริการ การลงทุนเพื่อรองรับ กฎระเบียบตางๆ ของธนาคารแหงประเทศไทย เชน Basel II การจัดทําแผนฉุกเฉินดานไอที เปนตน (3) การ บังคับใช พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 กําหนดใหทุกบริษัทตองเก็บ Log ของผูใชงานไมนอยกวา 90 วัน สงผลใหผูใชบริการในภาคการเงินและภาคธุรกิจลงทุนในเรื่องการบริหารจัดการ ด า นการรั ก ษาความปลอดภั ย เพิ่ ม ขึ้ น อย า งไรก็ ต ามยั ง มี ป จ จั ย ลบที่ ส ง ผลต อ ตลาดซอฟต แ วร ป 2551 ประกอบด ว ย (1) ความผั น ผวนของราคาน้ํ า มั น ส ง ผลให ภ าคธุ ร กิ จ ส ว นใหญ ต อ งลดต น ทุ น การผลิ ต และ ระมัดระวังในการใชจาย โดยระดับราคาน้ํามันเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง นับตั้งแตเดือนมกราคม – สิงหาคม 2551 และปรับลดลงในชวงปลายป (2) ความไมมีเสถียรภาพทางการเมืองในประเทศ สงผลใหภาคเอกชนชะลอการ ลงทุน สะทอนไดจากอัตราการใชกําลังการผลิตลดลงอยางตอเนื่อง นับจากเดือนกรกฎาคม 2551 เปนรอยละ 70.6 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2551 ลดลงเหลือรอยละ 61.1 และภาคครัวเรือนชะลอการใชจาย สะทอนไดจากดัชนี การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนที่ลดลงอยางตอเนื่องเชนเดียวกัน คือ ในเดือนกรกฎาคม 2551 เปนรอยละ 133.5 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2551 ลดลงเหลือรอยละ 127.610 สําหรับในป 2552 การเติบโตของตลาดลดลงต่ําสุดในรอบหลายปที่ผานมาอันเกิดจากปจจัยตางๆ อาทิ (1) การชะลอตัวของงบประมาณรายจายดานการลงทุนภาครัฐประจําปงบประมาณ 2552 ซึ่งลดลงจากรอยละ 24.0 เหลือรอยละ 22.0 เพราะตองกันงบประมาณสวนหนึ่งสําหรับรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (2) การที่ภาครัฐ ไม มี แ ผนโครงการไอที ข นาดใหญ โครงการส ว นใหญ ที่ อ ยู ใ นแผนงบประมาณป 2552 เป น โครงการที่ มี งบประมาณไมเกิน 100 ลานบาท และเปนโครงการที่เกี่ยวกับการปรับระบบบริหารจัดการ และการจัดเตรียม

10

ขอมูลจากธนาคารแหงประเทศไทย, สืบคนเมื่อ 20 มกราคม 2552, [http://www.bot.or.th/Thai/Statistics/Indicators/Docs/indicators.xls] 19

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ระบบเพื่อรองรับพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 255011 (3) การคาดการณ วาการเมืองยังไมมีเสถียรภาพ สงผลใหนักลงทุนชะลอหรือระงับโครงการขนาดใหญโดยเฉพาะผลกระทบตอเนื่อง จากกรณีปดสนามบิน (4) ผลกระทบจากวิกฤติการเงินโลก ซึ่งจะสงผลทั้งภาคการผลิต และภาคการเงิน ธนาคาร มีแนวโนมระมัดระวังการปลอยสินเชื่อกับผูประกอบการมากขึ้น ทําใหเกิดปญหาสภาพคลองทางการเงินกับภาค ธุรกิจที่ตองการเงินทุนสําหรับการดําเนินธุรกิจตอ อยางไรก็ตามยังคงมีปจจัยที่สนับสนุนการใชซอฟตแวรในป 2552 อยูบาง ไดแก (1) ความตระหนักรูถึงเรื่องการใชซอฟตแวรลิขสิทธิ์มากขึ้นของคนไทย (2) คาดวา กทช.จะ ออกใบอนุญาตประกอบกิจการ 3G สงผลใหผูประกอบการสามารถสราง Software Application สนับสนุนมากขึ้น (3) ผลของนโยบายกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลใหม เชน มาตรการทางภาษี จะสามารถกระตุนการใชจายของ ผูบริโภคในภาพรวมได หากพิจารณามูลคาการใชจายในการบริโภคซอฟตแวรแยกตามภาคเศรษฐกิจ (แผนภาพที่ 2-2) พบวา ภาคเอกชนยังคงมีการใชจายในการซื้อซอฟตแวรสูงที่สุด โดยในป 2551 คิดเปนรอยละ 57.2 หรือมูลคา 35,999 ลานบาท รองลงมาไดแก ภาครัฐบาล รอยละ 29.8 คิดเปนมูลคา 18,778 ลานบาท และภาคครัวเรือนและธรุกิจ ภายในครอบครั ว ขนาดเล็ ก ร อ ยละ 13.0 มี มู ล ค า 8,160 ล า นบาท อย า งไรก็ ต ามการคาดการณ ป 2552 ภาครัฐบาล มีสัดสวนการบริโภคซอฟตแวรลดลงเล็กนอยเหลือรอยละ 27.8 มีมูลคา 18,362 ลานบาท สาเหตุมา จากรัฐบาลมีแนวโนมจะใชงบประมาณในการกระตุนเศรษฐกิจเนนการเสริมสภาพคลองใหกับภาคอุตสาหกรรม มากกวาการที่รัฐบาลจะใชงบลงทุนดานไอทีสําหรับโครงการขนาดใหญ ซึ่งผลของการกระตุนเศรษฐกิจดังกลาว จะทําใหเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศขยายตัว และนาจะสงผลตอตลาดซอฟตแวรในปตอๆ ไป แผนภาพที่ 2 - 2 สัดสวนการใชจายซอฟตแวรจําแนกตามภาคเศรษฐกิจ ป 2550 – 2552 % 60

59.9 57.2 58.3

50 2550

40 30

2551

28.2 29.8 27.8

2552f

20

14.0 12.0 13.0

10 Government

Enterprise/Corporate

หมายเหตุ : 1/ Small Office and Home office 11

Household/SoHo 1

หนวยงานที่มีการของบประมาณดานไอทีสูง ในปงบประมาณ 2552 ไดแก กระทรวงการคลัง (โครงการระบบการบริหารการเงิน การคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) ในสังกัดกระทรวงการคลัง โครงการจัดตั้งศูนยคอมพิวเตอรสํารอง (Disaster Recovery Center: DRC) โครงการของกรมสรรพากร ประมาณ 1,000 ลานบาท) และกระทรวงศึกษาธิการ (โครงการจัดหาระบบ คอมพิวเตอรและเครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพื่อการศึกษาของ สพฐ. ประมาณ 500 ลานบาท), สืบคนเมื่อ 20 มกราคม 2552 [http://www.bb.go.th/budget/bu/blue52/blue52.htm] 20

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

สําหรับภาคเอกชนคาดวา ในป 2552 จะมีการใชจายดานซอฟตแวรในสัดสวนเพิ่มขึ้น โดยมีสัดสวน รอยละ 58.3 คิดเปนมูลคา 38,516 ลานบาท อยางไรก็ตามการขยายตัวไมสูงมากนักเมื่อเทียบกับชวงภาวะ เศรษฐกิจปกติ กลุมอุตสาหกรรมที่คาดวายังมีการใชจายดานซอฟตแวรในสัดสวนสูง ไดแก ภาคการเงินธนาคาร และภาคสื่อสารโทรคมนาคม โดยในป 2552 กลุมอุตสาหกรรมดังกลาวยังมีการลงทุนตามความจําเปนในการ บริหารจัดการองคกรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเปนสวนใหญ สําหรับการลงทุนเพื่อขยายรูปแบบการบริการใหมๆ ของภาคการเงิน ถึงแมจะไมมีการยกเลิกแผนการดําเนินงานตามแผนไอทีของธนาคาร แตจะมีการตัดสินใจที่ ละเอียดรอบคอบมากขึ้น สําหรับกลุมอุตสาหกรรมที่คาดวามีแนวโนมใชจายดานซอฟตแวรที่ลดลงอยางเห็นได ชั ด ได แ ก กลุ ม อุ ต สาหกรรมการผลิ ต /ก อ สร า ง การท อ งเที่ ย ว และค า ส ง /ค า ปลี ก สาเหตุ ห ลั ก เนื่ อ งจาก อุตสาหกรรมเหลานี้ไดรับผลกระทบจากวิกฤติการณทางการเงินโลก และภาวะซบเซาของการทองเที่ยวตอเนื่อง จากชวงปลายป 2551 อยางชัดเจน ทําใหผูประกอบการชะลอ/ลดการลงทุนดานไอที ตลาดซอฟตแวรแยกตามประเภท ตลาด Enterprise Software: เปนตลาดที่มีสัดสวนสูงที่สุด แตมีอัตราการขยายตัวต่ําที่สุดเมื่อเทียบ กับซอฟตแวรประเภทอื่นๆ ทั้งนี้หากจําแนก Enterprise Software ออกเปน Package Software และ Software Development พบวาสวนใหญเปน Package Software โดยมีมูลคาสูงเกินกวารอยละ 70 ของมูลคาตลาด ซอฟตแวรประเภทนี้ (แผนภาพที่ 2-3) โดยในป 2551 มีมูลคา 39,902 ลานบาท และป 2552 มีมูลคา 41,808 ลานบาท สําหรับในป 2552 นี้คาดการณวา Software Development จะมีสัดสวนที่ลดลงเล็กนอย เนื่องจาก แนวโนมพฤติกรรมของผูซื้อที่นิยมซื้อซอฟตแวรที่ผลิตสําเร็จแลวและนํามา customized บางสวนใหเหมาะสมกับ ความตองการ มากกวาการจางผลิตตั้งแตเริ่มตน ซึ่งจะมีกระบวนการที่ยุงยากซับซอนกวามาก แผนภาพที่ 2-3 สัดสวนตลาด Enterprise Software จําแนกตามประเภทของการพัฒนา ป 2551 - 2552

2552f

72.6

27.4

2551

71.8

28.2

Package 0

20

Software Development 40

60

21

(%) 80

100

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับ Enterprise Software ซึ่งจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงมูลคาตลาด และ ผลิตภัณฑตลาด ของประเทศไทยในระยะเวลาอันใกล ไดแก •

เทคโนโลยี Service Oriented Architecture (SOA)12 การปรับโครงสรางทางสถาปตยกรรมซอฟตแวร เชื่อวา SOA จะเริ่มมีการนํามาใชอยางเปนรูปธรรมมากขึ้นในระยะเวลา 1-2 ปนี้หลังจากที่เปนเพียง กรอบแนวคิดมาระยะหนึ่งแลว



เทคโนโลยี Software as a Service เปนรูปแบบการใหบริการซอฟตแวรที่ผูใชงานไมจําเปนตองเก็บ ซอฟตแวรไวในเครื่อง แตสามารถเรียกใช Application ตางๆ จากผูใหบริการผานเว็บหรือเครือขาย ใน บางครั้งจะเรียกบริการประเภทนี้วา Software Plus Services โดยมีการคิดคาบริการตามปริมาณของ การใชงาน หรือตามระยะเวลาที่ขอใชงาน



เทคโนโลยี Web 2.0 ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่สงเสริม Social Community Network ซึ่งในปจจุบันกําลัง ไดรับความนิยม โดยมีการใชงานผาน Application ในรูปแบบตางๆ เชน Podcast, Videocast, Blog, Wiki, หรือ Social bookmark คาดวาจะมีการนํามาใชในเชิงธุรกิจมากขึ้น และคาดวาจะมีการผลิต ซอฟตแวรเพื่อสนับสนุนรูปแบบการใชงานดังกลาวมากขึ้นดวย



เทคโนโลยี Cloud Computing คือระบบไอทีแหงอนาคตที่เกิดมาเพื่อแกไขจุดออนที่ระบบไอทีปจจุบัน ไมสามารถรองรับโลกยุค Web 2.0 และ 3.0 ไดมากพอ เปนแนวคิดการประมวลผลแบบใหมซึ่งมี สวนประกอบ คือ โครงสรางไอทีขนาดใหญที่ขยายตัวไดไมจํากัด และมีรูปแบบของบริการหลากหลาย เชน บริการรับฝากไฟลความจุสูง หรือบริการซอฟตแวรออนไลนนานาชนิด ซึ่งตองใชทรัพยากรไอที ขนาดใหญมากๆ เปนตน



เทคโนโลยี Open Source Software เชื่อวาในชวงที่สภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทําใหองคกรตางๆ ตระหนัก ถึงการลดตนทุน ดังนั้นกระแส Open Source Software จึงเขามามีบทบาทเพิ่มขึ้นตามลําดับ



เทคโนโลยี Storage Management เปนความพยายามในการรักษาขีดความสามารถและบริหารจัดการ ควบคุมคาใชจายสําหรับการจัดการขอมูลที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แตถูกจัดเก็บอยางกระจัดกระจาย ใหมีประสิทธิภาพโดยเทคโนโลยีนี้จะมาชวยเสริมประสิทธิภาพดานการบริหารจัดเก็บสํารองขอมูลที่มี อยูแลว ไมวาจะเปนระบบจัดการอีเมล ไฟล หรือโซลูชันที่พัฒนาขึ้นใหม

โดยภาพรวมจะเห็นไดวา เทคโนโลยีดาน Enterprise Software ทั้งหมดที่กลาวมาแลวขางตน จะเนนที่ การบริหารจัดการระบบไอที/ซอฟตแวรอยางมีประสิทธิภาพ ความประหยัดทั้งเวลาและตนทุนขององคกรเปน หลัก โดยรูปแบบของซอฟตแวรจะเปลี่ยนจากการขายเปน License เปนการขายกึ่งใหบริการ และใชประโยชน จากการสราง Application แบบออนไลน

12

เปนแนวคิดดานโครงสรางทางสถาปตยกรรมซอฟตแวร เนนการทํางานรวมกันของ Application บนระบบโดยไมขึ้นกับ Platform เน น ความคล อ งตั ว การนํ า กลั บ มาใช ใ หม การลดความซ้ํ า ซ อ น และเพิ่ ม ความยื ด หยุ น ให กั บ ระบบ ในการปรั บ ตั ว ตามการ เปลี่ยนแปลงของธุรกิจ 22

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ตลาด Mobile Application: เปนตลาดที่มีสัดสวนประมาณรอยละ 4.0 ของตลาดซอฟตแวรใน ภาพรวม โดยคาดวาตลาดจะมีสัดสวนสูงขึ้นเปนรอยละ 4.8 ในป 2552 มีการเติบโตของตลาดสูงที่สุดเมื่อเทียบ กับซอฟตแวรประเภทอื่นๆ ตามการประยุกตใช Application ที่มีความหลากหลายมากขึ้น ตลาดนี้แบงเปน 2 สวนไดแก Entertainment และ Business Application โดยมูลคาตลาดสวนใหญจะมาจากกลุม Entertainment Application (แผนภาพที่ 2-4) มีสัดสวนประมาณรอยละ 66.0 ของตลาดซอฟตแวรประเภท Mobile Application ทั้งนี้มูลคาตลาด Mobile Application มีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นในทิศทางเดียวกันกับการเติบโตของตลาดสื่อสาร กลุม Mobile Non Voice แผนภาพที่ 2-4 สัดสวนตลาด Mobile Application จําแนกตามประเภท ป 2551 - 2552 2552f

34.0

66.0

2551

34.2

65.8

Business App. 0

20

Entertainment App. 40

60

80

(%) 100

แนวโน ม ของเทคโนโลยี ที่ จ ะมี ผ ลต อ การเปลี่ ย นแปลงมู ล ค า ตลาด และผลิ ต ภั ณ ฑ ต ลาด Mobile Application ไดแก เทคโนโลยี 3G และการเกิดแอพพลิเคชั่นใหมๆ ที่สามารถมาประยุกตใชบนมือถือ โดย กิจกรรมตางๆ ที่เคยทําไดผานเครื่องคอมพิวเตอร โทรทัศน โทรศัพท จะหลอมรวม และถูกนํามาขยายเปน Application บนโทรศัพทมือถือมากขึ้น สําหรับประเทศไทยถามีการเปดการใหบริการเทคโนโลยี 3G อยางเต็ม รูปแบบในป 2552 คาดวาจะเกิดการขยายตัว/เพิ่มการบริการตางๆ อาทิ GPS on Mobile, Mobile Banking, Mobile Payment และ Mobile Application for Business Process Management เชน M-CRM นอกจากนั้นการ เกิด i-Phone ซึ่งมีรูปแบบระบบปฏิบัติการแบบใหม ยังเปนที่คาดหมายวาจะสามารถกระตุนการขยายตัวของ Application บนมือถือไดในชวง 1 - 2 ปขางหนา ซึ่งจะสงผลทางบวกตอตลาดซอฟตแวรบนโทรศัพทมือถือ ไดมาก ซอฟตแวรสมองกลฝงตัว (Embedded Software) : เปนซอฟตแวรขนาดเล็กที่ฝงตัวอยูในอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟาตางๆ เพื่อใหสินคาอิเล็กทรอนิกสเหลานั้นมีความสามารถในการทํางานสูงขึ้น ปจจุบันเทคโนโลยีดังกลาวสามารถนํามาประยุกตใชกับกิจกรรมตางๆ ไดอยางแพรหลาย สําหรับมูลคาตลาด Embedded Software ในประเทศไทย คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 4.0 ของตลาดซอฟตแวรในภาพรวม และ คาดการณวาตลาดสวนนี้ยังมีการเติบโตคอนขางสูงในป 2552 คือเติบโตรอยละ 15.5 เนื่องจากความสามารถใน การประยุกตใชไดหลากหลายดังที่ไดกลาวไปแลวขางตน 23

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ตารางที่ 2 - 2 มูลคาซอฟตแวรสมองกลฝงตัวของไทย เมื่อคิดจากมูลคาที่แฝงอยูในสินคาขั้นสุดทาย รายการ

มูลคาสินคาขั้นสุดทาย (พันลานบาท)

มูลคา Embedded สัดสวน System Embedded (พันลานบาท) (%) 2549 2550 2551

2549

2550

2551

Consumer Electronics/ Intelligent Homes Automotives

532.3

546.7

514.2

28.0

149.0 153.1 144.0

487.1

529.6

513.1

28.0

136.4 148.3 143.7

Telecommunications

224.7

233.4

254.4

30.0

67.4

70.0

76.3

Industrial Automation

355.9

333.2

386.6

16.5

58.7

55.0

63.8

Health and Medical Equipment

14.7

14.9

15.9

29.0

4.3

4.3

4.6

รวม

1,614.7 1,657.9 1,684.1

26.3

415.8 430.7 432.4

แนวคิดจาก : รายงานการศึกษาเรื่อง Study of Worldwide Trends and R&D Programs in Embedded Systems in View of Maximizing the Impact of a Technology Platform in the Area, Study for EU by Technische Universität München, Germany, November 2005

อยางไรก็ตามการประมาณมูลคาตลาด Embedded Software ขางตน เปนการประมาณโดยพิจารณา จากมูลคาการผลิตซอฟตแวรจากผูประกอบการซอฟตแวรเปนหลัก ไมรวมการพัฒนาซอฟตแวรเพื่อใชในองคกร (in-house) เอง ซึ่งลักษณะของการผลิต Embedded Software จะมีรูปแบบของการพัฒนาซอฟตแวรเพื่อใชใน องคกรคอนขางมาก จึงทําใหมูลคาของซอฟตแวรที่ไดต่ํากวาที่ควรจะเปน ทั้งนี้หากประมาณมูลคาการใชจาย Embedded System (รวมฮารดแวร และซอฟตแวร) ของประเทศไทย โดยใชหลักเกณฑวาสินคาขั้นสุดทาย (finished goods) ซึ่งตางก็มีมูลคาของ Embedded System ฝงอยูในสินคาขั้นสุดทายในสัดสวนที่ตางกัน (ตาราง ที่ 2-2)จากการประมาณการดวยวิธีการดังกลาว จะพบวาตลาด Embedded System มีมูลคาสูงถึง 432.4 พันลานบาท ในป 2551 ซึ่งมูลคาสวนใหญอยูในสาขา Consumer Electronics/Intelligent Homes และ สาขา Automotives คิดเปนรอยละ 33.3 และ 33.2 ตามลําดับ การประมาณมูลคาตลาด Embedded Software จากสินคาขั้นสุดทาย ดังกลาวสะทอนใหเห็นถึง ศักยภาพในการขยายตลาดของผูผลิต Embedded Software ในประเทศไทยวายังมีโอกาสอีกมากในตลาดนี้ อยางไรก็ตามรูปแบบการทําธุรกิจของซอฟตแวรประเภทนี้ตองทําการพัฒนาผลิตภัณฑในสวนที่เปนฮารดแวร ควบคูกันไปดวย ซึ่งเปนประเด็นสําคัญที่รัฐบาลควรใหการสนับสนุนการพัฒนาตอยอดผลิตภัณฑดานไฟฟา อิเล็กทรอนิกสของไทย และสรางความเชื่อมโยงระหวางผูประกอบการไฟฟาอิเล็กทรอนิกสกับผูประกอบการที่ วิจัย/พัฒนาซอฟตแวรดานนี้ อยางไรก็ตาม ขอจํากัดของการขยายตัวของการพัฒนายังเปนเรื่องการขาดแคลน บุคลากรที่มีความรูความสามารถ

24

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

แนวโนมของเทคโนโลยีในระยะเวลาอันใกลนี้มีเทคโนโลยีหลายประการที่จะมีผลตอการเติบโตของ ตลาดซอฟตแวร และผลิตภัณฑตลาด Embedded Software •

เทคโนโลยี RFID สําหรับประเทศไทย เทคโนโลยีนี้สามารถนํามาประยุกตใชไดกับงานหลากหลายประเภท ประกอบดวย ใชตรวจสอบผลิตภัณฑในสายการผลิต เชน ตรวจสอบวัตถุดิบที่ นํามาใช ประกอบเปน ผลิตภัณฑวาครบ และถูกตองตามที่กําหนดไวหรือไม ทําใหประหยัดกําลังคนในการควบคุมคุณภาพ วัตถุดิบกอนเขาสายการผลิต ใชในงานดาน Logistics และWarehouse เพื่อตรวจสอบสินคาที่จะสงหรือรับ ไดอยางรวดเร็วในปริมาณครั้งละมากๆ ปองกันสินคาสูญหายหรือโจรกรรม ใชตรวจติดตามสัตว หรือของ มีคาตางๆ ใชสนับสนุนกิจกรรมตางๆ ในโรงพยาบาล เชน การระบุตัวคนไข การประยุกตใชกับอุปกรณ เพื่อการบริการในโรงพยาบาลตางๆ เปนตน



เทคโนโลยี Sensor การประยุกตใชอุปกรณ Sensor ขนาดเล็ก เพื่อตรวจวัดคุณสมบัติตางๆ ของ สิ่งแวดลอม และประมวลผลขอมูลเหลานั้นเพื่อสรางองคความรูใหมเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมรอบตัวเราหรือ ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมไดโดยอัตโนมัติ เชน การติดตั้ง Sensor ไวภายใน อุปกรณผสมสารเคมีขนาดใหญ/ทอสงสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อตรวจจับการรั่วซึมของสารเคมี การใช Sensor ตรวจวัดการสั่นไหวของอุปกรณหลายๆ อยางที่ใชสําหรับการสราง Computer chip เพื่อตรวจจับความผิดปกติของเครื่องมือเหลานั้นเพื่อใหสามารถเขาไปดูแลกอนที่เกิดความเสียหาย สําหรับประเทศไทยเทคโนโลยีนี้สามารถนํามาประยุกตใชไดหลากหลาย เชน เครื่องปรับอากาศที่ สามารถจับความเคลื่อนไหวของคนที่อยูในหอง และปรับอุณหภูมิใหตกตามตําแหนงการเคลื่อนไหว ของคนภายในหองนั้น ประยุกตใชกับระบบการักษาความปลอดภัย การยืนยันตัวบุคคลดวยลายนิ้วมือ เปนตน

จากที่ไดกลาวมาแลว จะเห็นไดวา การใชจายดานซอฟตแวรในประเทศไทยป 2551 - 2552 ขยายตัว แบบลดลงอย า งเห็ น ได ชั ด เมื่ อ เที ย บกั บ สภาวการณ ป กติ สาเหตุ ส ว นหนึ่ ง อาจมาจากช ว งเวลาสั ม ภาษณ ผูประกอบการซอฟตแวรถึงสถานภาพของตลาด ซึ่งเปนขอมูลหลักที่นํามาใชในการประมาณการมูลคาตลาด เปนชวงเดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม 2551 ซึ่งระยะเวลาดังกลาวเปนชวงที่ประเทศไทยกําลังประสบปญหา ความวุนวายทางการเมือง การปดสนามบิน และผลของวิกฤติการการเงินโลกที่ลุกลามและสงผลกระทบตอ ภาคอุตสาหกรรมในประเทศแถบเอเชีย อยางไรก็ตามภายหลังจากประเทศไทยมีการจัดตั้งรัฐบาลใหม และ รัฐบาลมีแผน/เปาหมายการใชงบประมาณกระตุนเศรษฐกิจครอบคลุมทุกระดับ ผลจากการใชนโยบายดังกลาวนี้ นาจะมีสวนสําคัญสําหรับการกระตุนเศรษฐกิจทั้งระบบ และมีแนวโนมสงผลตอการขยายตัวของตลาดซอฟตแวร ในระดับหนึ่ง ซึ่งคงจะสะทอน ใหเห็นในการประมาณการและสํารวจตลาดซอฟตแวรในปถัดไป

25

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ตลาดบริการดานคอมพิวเตอร (Computer Services) การสํารวจมูลคาตลาดบริการดานคอมพิวเตอร (Computer services) ในป 2551 ใชกรอบนิยามเดียวกัน กับการจัดเก็บในป 2550 โดยมีการปรับหมวดหมูของนิยามเล็กนอย ไดแก รวมหมวด System Integration (SI) และ Network Services เขาไวดวยกัน ในปนี้ ตลาดบริการดานคอมพิวเตอร จึงประกอบดวยบริการ 7 ประเภท จากผลการสํารวจมูลคาตลาดบริการดานคอมพิวเตอร ดังแสดงในแผนภาพที่ 3–1 พบวา ตลาดบริการ ดานคอมพิวเตอรป 2551 มีมูลคารวม 24,981 ลานบาท โดยมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นจากป 2550 รอยละ 16.6 ซึ่งถาเปรียบเทียบกับอัตราการเติบโตในป 2550 จะเห็นวาอัตราการเติบโตของป 2550 (21.1) มีอัตราการเติบโตที่ สูงกวาทั้งนี้เพราะในป 2551 เกิดปญหาทางการเมืองในประเทศที่ขาดเสถียรภาพ และความมั่นคง รวมทั้งปญหา เศรษฐกิจชะลอตัวทั้งภายในและภายนอกประเทศ จึงทําใหการใชจายทางดาน IT ในประเทศลดลง นอกจากนี้ยัง เป น ผลจากการขาดแคลนบุ ค ลากรทั้ ง ในแงป ริ ม าณและคุณภาพ ทํา ใหผูป ระกอบการในธุรกิจการบริก ารดา น คอมพิวเตอร ไมสามารถขยายบริการเพิ่มขึ้น สงผลใหตลาดบริการดานคอมพิวเตอรไมสามารถขยายตัวไดอยาง เต็มที่ สําหรับตลาดบริการดานคอมพิวเตอรป 2552 นั้น คาดวาตลาดจะโตขึ้นคิดเปนรอยละ 14.2 หรือมีมูลคา ตลาดรวม 28,521 ลานบาท จากแผนภาพที่ 3–1 จะเห็นวาตลาดบริการดานคอมพิวเตอรจะมีแนวโนมที่โตขึ้น เรื่อยๆ แตจะเติบโตในอัตราที่ลดลง แผนภาพที่ 3–1 มูลคาตลาดบริการดานคอมพิวเตอร ป 2549 – 2552 ลานบาท 30,000 25,000 20,000

มูลคาตลาด อัตราการเติบโต

28,521 21.1

24,981

21,425

16.6

17,690

%

25 20

14.2

15

15,000 10

10,000 5,000

5

0

0 2549

2550

ป

2551

2552 f

ผลการสํารวจมูลคาตลาดบริการดานคอมพิวเตอรในป 2551 เมื่อพิจารณาแยกตามประเภทบริการดาน คอมพิวเตอรหลัก 7 ประเภท ดังแสดงในตารางที่ 3–1 จะเห็นไดวา กลุมบริการประเภท IT Outsourcing มีอัตรา การเติบโตสูงที่สุดเมื่อเทียบกับบริการประเภทอื่น โดยคิดเปนรอยละ 24.0 หรือมีมูลคา 4,080 ลานบาท ในปนี้แมวา มูลคาตลาดโดยรวมมีแนวโนมลดลง อันเนื่องมาจากปญหาการเมืองในประเทศที่ขาดเสถียรภาพและความมั่นคง รวมถึงปญหาเศรษฐกิจภายในและภายนอกประเทศ ทําใหภาคเอกชนขาดความเชื่อมั่น และระมัดระวังคาใชจาย มากขึ้น ซึ่งบางสวนหันมาใชบริการทางเลือกอยางเชน IT Outsourcing เพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก IT Outsourcing 26

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

กําลังเปนทางเลือกใหมขององคกรที่ตองการควบคุมตนทุนคาใชจายดาน IT และลดปญหาการลงทุนดาน IT ซึ่งเปน ปญหาผูกพันระยะยาว ในขณะเดียวกันก็ตองการใหงาน IT มีประสิทธิภาพ การหันมาใชบริการ IT Outsourcing จะ ชวยลดตนทุนในการดําเนินการลงได โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาวะเศรษฐกิจที่มีการแขงขันกันอยางรุนแรงเหมือนใน ปจจุบันนี้ ยิ่งไปกวานั้นการใชบริการ IT Outsourcing ยังชวยเพิ่มศักยภาพในการแขงขันและประสิทธิภาพของ แอพลิเคชั่น (application) หลักๆ รวมถึงโครงสรางพื้นฐานดาน IT ของบริษัท/องคกร และยังชวยรักษาระดับความ พรอมในการใชงานของระบบและแอพลิเคชั่นสําคัญๆ ใหอยูในอัตราที่สูง อีกทั้งชวยใหระบบมีความยืดหยุนและ สามารถรองรับการใชงานในอนาคตไดอีกดวย ดังเชน ไมเนอร กรุป13 และธนาคารธนชาติ ไดมีการวาจางบริษัท ไอบีเอ็ม (ประเทศไทย) ใหทํา IT Outsource ใหแกบริษัท เพื่อที่บริษัทจะไดใชทรัพยากรไปในธุรกิจหลักขององคกร ไดมากยิ่งขึ้น ตารางที่ 3–1 มูลคาตลาดบริการดานคอมพิวเตอร จําแนกตามประเภทบริการ ป 2550 - 2552 Categories

Growth Rate (%)

Value (Mil. Baht) 2550

2551

2552f

11,036

12,872

14,371

16.6

11.6

709

865

1,045

22.0

20.8

4. Data Center and Disaster Recovery Center1/

2,482 1,007

2,612 1,228

2,874 1,496

5.2 21.9

10.0 21.8

5. IT related Training & Education

1,390

1,501

1,565

8.0

4.3

6. IT Consulting

1,510

1,823

2,188

20.7

20.0

7. IT Outsourcing2/

3,291

4,080

4,982

24.0

22.1

21,425

24,981

28,521

16.6

14.2

1. System Integration: SI & Network Services 2. Software and Data Maintenance Services 3. Hardware Maintenance Services

Total Computer Services Market หมายเหตุ:

50/51

51/52

1/

Data Center and Disaster Recovery Center include Web Hosting/Mail Hosting, Co-Location Service/ Dedicated Server Services, Disaster Recovery Services and Others (those located in the Data Center and outside the Data Center). 2/ IT Outsourcing includes Enterprise-Wide, Network and Desktop Management, Application Management and Others.

ประเภทบริการที่มีอัตราการเติบโตรองลงมาจาก IT Outsourcing ในป 2551 ไดแก Software and Data Maintenance Services (SW MA) มีการขยายตัวสูงขึ้นถึงรอยละ 22.0 หรือมีมูลคาตลาด 865 ลานบาท เนื่องจาก ยังมีการซื้อจากองคกรขนาดใหญที่ยังไมกลาเสี่ยงที่จะไมซื้อบริการประเภทบํารุงรักษา (maintenance) ทั้งในเรื่อง ของ infrastructure, middleware และ application เนื่องจากเสถียรภาพและความนาเชื่อถือของระบบมีผลตอ โอกาสทางธุรกิจขององคกรเปนอยางมาก จึงทําใหมูลคาของ SW MA จะยังคงมีอยู นอกจากนี้ ยังพบวาองคกรสวน ใหญมีการซื้อซอฟตแวรใหมนอยลง โดยเฉพาะ Enterprise Software ซึ่งมีการใชจายดานซอฟตแวรเพิ่มจากป 13

ไมเนอร กรุป เปนกลุมบริษัทผูดําเนินธุรกิจโรงแรม ทองเที่ยวและรานอาหาร เชน บริษัท ไมเนอร อินเตรอเนชั่นแนล, บริษัท เดอะ ไมเนอรฟูดกรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัท รอยัล การเดน รีสอรท จํากัด (มหาชน) เปนตน 27

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

2550 เพียงรอยละ 10.114 องคกรสวนใหญเลือกที่จะ maintenance ใชซอฟตแวรเดิมที่มีอยู สําหรับกลุมบริการที่ เติบโตสูงเปนอันดับ 3 ไดแก Data Center and Disaster Recovery Center มีอัตราการเติบโตรอยละ 21.9 หรือมี มูลคาตลาดคิดเปน1,228 ลานบาท เปนผลมาจากธุรกิจทางดานดิจิทัลคอนเทนท (Digital Content) มีการเติบโต มากขึ้น ไมวาจะเปนเกมออนไลน ขาวออนไลน ซึ่งเนื้อหาเหลานี้ตองการพื้นที่ในการจัดเก็บขอมูลเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้การขยายตัวของตลาด Data Center and Disaster Recovery Center ยังเปนผลมาจากมาตรการและ กฎระเบียบตา งๆ ไดแ ก พระราชบัญ ญัติวา ดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.255015 (พ.ร.บ. คอมพิวเตอร) ที่กําหนดใหมีการเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร (log file) ไมต่ํากวา 90 วันและพระราชกฤษฎีกา “กําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ พ.ศ.2549”16 วาดวยเรื่องการจัดใหมี ระบบสารสนเทศและระบบสํารองของสารสนเทศซึ่งอยูในสภาพพรอมใชงานและจัดทําแผนเตรียมพรอมกรณี ฉุกเฉินในกรณีที่ไมสามารถดําเนินการดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส (Business Continuity Planning: BCP & Disaster Recovery Planning) ซึ่งสงผลใหองคกรธุรกิจขนาดใหญในประเทศไทยที่ทําธุรกรรมกับลูกคา ประชาชน คู ค า ทางธุ ร กิ จ เช น ธนาคาร สถาบั น การเงิ น บริ ษั ท ประกั น ภั ย โรงพยาบาล และหน ว ยงานราชการต า งๆ จําเปนตองเตรียมความพรอมใหธุรกิจดําเนินการไดอยางตอเนื่องไมวาจะเกิดปญหาในรูปแบบใดๆ ก็ตามไมวาจะ เปนปญหาไวรัสคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอรลม น้ําทวม แผนดินไหวหรือภัยจากการกอการราย17 เปนตน เมื่อพิจารณาถึงสัดสวนการถือครองตลาด จําแนกตามประเภทบริการ ดังแผนภาพที่ 3–2 จะพบวา ในป 2551 ตลาด SI & Network Services มีสัดสวนสูงที่สุด คิดเปนรอยละ 51.5 หรือมีมูลคาตลาด 12,872 ลานบาท รองลงมา ได แ ก IT Outsourcing คิด เป น ร อยละ 16.3 หรื อคิ ด เปน มูล คา 4,080 ล า นบาท และ SW&HW Maintenance คิดเปนรอยละ 14.0 หรือมีมูลคา 3,477 ลานบาท โดย SW MA มีมูลคาตลาด 865 ลานบาทหรือคิด เปนรอยละ 3.5 และ HW MA มีมูลคาตลาด 2,612 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ 10.5

14

ดังจะเห็นไดจากมูลคาตลาด Enterprise Software ในป 2551 ที่มีอัตราการเติบโตที่คอนขางใกลเคียงกับอัตราการเติบโตในป 2550 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 มีผลใชบังคับตั้งแต 18 กรกฎาคม พ.ศ.2550 และเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2550 รัฐมนตรีวาการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดลงนามในประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่องหลักเกณฑใน การเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผูใหบริการ และลงในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2550 16 ประกาศ ใชพระราชกฤษฎีกานี้ตั้งแตวันที่ 10 มกราคม 2550, [http://www.etcommission.go.th/documents/laws/20070110_s35_royal_dec.pdf] 17 บิสิเนสไทย, 2551, ‘เมื่อ “BCP” กลายเปนเรื่องจําเปนของธุรกิจ!’, วันที่ 11 เมษายน 2551, สืบคนเมื่อวันที่ 16 ธ.ค.2551 [http://www.businessthai.co.th/content.php?data=413656_Technology-Digital] 28 15

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

แผนภาพที่ 3–2 สัดสวนตลาดบริการดานคอมพิวเตอร ป 2551 IT Outsourcing2/ 16.3% IT Consulting 7.3% SI & Network Services 51.5%

IT Training 6.0% DC & DRC1/ 4.9%

หมายเหตุ:

HW MA 10.5%

SW MA 3.5%

1/

Data Center and Disaster Recovery Center include Web Hosting/Mail Hosting, Co-Location Service/ Dedicated Server Services, Disaster Recovery Services and Others (those located in the Data Center and outside the Data Center). 2/ IT Outsourcing includes Enterprise-Wide, Network and Desktop Management, Application Management and Others.

เมื่อพิจารณามูลคาการใชจายตลาดบริการดานคอมพิวเตอรป 2551 แยกตามภาคเศรษฐกิจ ดังแสดงใน ตารางที่ 3–2 พบวา ภาคเอกชน (Corporate/ Enterprise) เปนภาคที่มีการใชจายในตลาดบริการดานคอมพิวเตอร สูงที่สุด คิดเปนรอยละ 74.1 หรือมีมูลคา 18,511 ลานบาท ภาคเอกชนโดยเฉพาะกลุมโทรคมนาคมและการสื่อสาร การเงินและการธนาคาร และคาสงและคาปลีก มีอัตราการเติบโตในการใชจายในตลาดบริการดานคอมพิวเตอร สูงขึ้นจากป 2550 เนื่องจากบริษัทเหลานี้มีการพัฒนาระบบบริการลูกคาเพื่อปรับปรุงคุณภาพการบริการ ในขณะที่ ภาคเอกชนโดยเฉพาะในกลุมอุตสาหกรรมการผลิตมีการใชจายทางดาน IT ลดลง เนื่องจากตนทุนโดยรวมของการ ทําธุรกิจสูงขึ้น อันเปนผลมาจากภาวะราคาน้ํามันที่มีราคาที่สูงขึ้น จึงทําใหเกิดการชะลอการลงทุนดาน IT ลง เปน ผลทําใหมูลคาการใชจายของภาคเอกชนในป 2551 เมื่อเทียบกับป 2550 มีสัดสวนที่ลดลงจากรอยละ 77.3 เปน รอยละ 74.1 ในป 2551 (ดังแผนภาพที่ 3–3) สําหรับมูลคาการใชจายของภาครัฐ (Government) ซึ่งไดแก หนวยงานรัฐ และรัฐวิสาหกิจ มีมูลคาการใช จายรองลงมาจากภาคเอกชน โดยมีการใชจาย 6,270 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 25.1 ทั้งนี้เมื่อเทียบการใชจาย ภาครัฐในป 2551 กับป 2550 (ดังแผนภาพที่ 3-3) พบวา สัดสวนการใชจายที่มาจากภาครัฐมีสัดสวนการใชจายที่ เพิ่มขึ้นจากรอยละ 21.7 ในป 2550 เปนรอยละ 25.1 ในป 2551 เนื่องจากภาครัฐมีการลงทุนทางดาน Network Infrastructure มากขึ้น อยางไรก็ตาม ถึงแมจะไมมีโครงการใหมรวมถึงโครงการลงทุนขนาดใหญของภาครัฐ (Mega Project) เกิดขึ้นในป 2551 ก็ตาม แตยังคงเปนงานที่ภาครัฐถือวาเปน สิ่งที่จําเปนตองทําอยู นอกจากนี้ ยังคงมี โครงการตอเนื่องอยู เชน โครงการการพัฒนาระบบแผนที่ของการไฟฟาภูมิภาค โครงการของการไฟฟาฝายผลิต 29

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

เปนตน สําหรับการใชจายของภาคครัวเรือนและธุรกิจภายในครอบครัวขนาดเล็ก (Household/Small Office and Home Office: SOHO) มีสัดสวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 0.8 หรือมีมูลคาการใชจาย 200 ลานบาท ตารางที่ 3 – 2 มูลคาการใชจายตลาดบริการดานคอมพิวเตอรป 2551 จําแนกตามภาคเศรษฐกิจ Value (Mil. Bath)

Sectors Government Corporate/Enterprise Household/SOHO* Total

Ratio (%)

6,270

25.1

18,511

74.1

200

0.8

24,981

100.0

หมายเหตุ: *Small Office and Home Office

แผนภาพที่ 3–3 สัดสวนการใชจายในตลาดบริการดานคอมพิวเตอร จําแนกตามภาคเศรษฐกิจ ป 2550 - 2551 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

%

2550 77.3

21.7

2551

74.1

25.1 1.0

Government

Corporate/Enterprise

0.8

Sectors

Household/SOHO*

หมายเหตุ: *Small Office and Home Office

ปจจัยที่มีผลตอการเติบโตของตลาดบริการดานคอมพิวเตอร ในป 2551 ไดแก • กฎระเบียบและขอบังคับตางๆ เชน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 (เรื่องหลักเกณฑการเก็บรักษา ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผูใชบริการ พ.ศ.2550), ระบบการบริหารความเสี่ยง (Basel II), ระเบียบปฏิบัติสําหรับการจัดทําแผนฉุกเฉินและระบบคอมพิวเตอรสํารองตามมาตรฐานของธนาคาร แหงประเทศไทย18, Business Continuity Plan (BCP) เปนตน จากกฎระเบียบและขอบังคับที่กลาว มาขางตนนั้น ทําใหธุรกิจสถาบันการเงินไมวาจะเปนธุรกิจธนาคารพาณิชย และธุรกิจประกันภัย หรือ 18

ธปท.ฝนส.(21)ว.1953/2548 แนวปฏิบัติในการจัดทําแผนฉุกเฉินดานงานเทคโนโลยีสารสนเทศ (แผนฉุกเฉินดาน IT) (ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย, 2551) 30

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

แมแตธุรกิจการบิน ตางเริ่มนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใชกับงานในองคกรมากยิ่งขึ้น เพื่อ เตรียมตัวรองรับกฎเกณฑและมาตรฐานตางๆ สงผลใหมีแนวโนมการลงทุนทาง IT คอนขางสูงใน สวนของระบบคอมพิวเตอรเครือขายสารสนเทศและงานบริการที่เกี่ยวของ • การลงทุนของภาคธุ ร กิจสถาบันการเงิน ปจจุบันได มีการลงทุนในการปรับปรุงระบบการบริห าร จัดการขนาดใหญ (Banking services) เพื่อสรางบริการและผลิตภัณฑใหมๆ ใหแกลูกคา เพื่อให สามารถแขงขันกับบริษัทคูแขงได เชน บริการ Mobile Banking ทําใหมีการลงทุนทาง IT สูงขึ้น • ความตองการที่เพิ่มขึ้นของกลุมผูใชในภาคธุรกิจ (demand) ในการนํา IT ไปสรางมูลคาเพิ่มทาง ธุรกิจ ซึ่งจะสงผลใหหลายองคกรมีการลงทุน ปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มเติมระบบ IT หรือโครงสราง พื้นฐาน (infrastructure) ตางๆ เพื่อสรางความไดเปรียบในเชิงการแขงขัน เพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน ควบคุมตนทุนการบริหารจัดการ รวมถึงการปรับตัวเพื่อใหสอดคลองกับกฎระเบียบของ ภาครัฐ • การเกิดขึ้นของเทคโนโลยีใหม เชน 3G, WiMAX จะสงผลใหเกิดการลงทุนดาน IT ของกลุม โทรคมนาคมและการสื่อสาร ความตองการในการ integrate ระบบตางๆ จะเพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย เชน ในป 2551 บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (AIS) เปดใหบริการเทคโนโลยี HSPA ในจังหวัดเชียงใหมเมื่อเดือนพฤษภาคม 2551 และเปดใหบริการ 3G ในกรุงเทพฯ19 เมื่อเดือน ธันวาคม 2551 ซึ่งทางบริษัท AIS ไดวางแผนลงทุน 3G บนยานความถี่ GSM 900 ไวที่ประมาณ 4,500 ลานบาท ในขณะที่บริษัทคูแขงอยาง บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (DTAC) มีการลงทุน 3G บนยานความถี่ 850 เมกะเฮิรตซโดยมีงบประมาณลงทุน 5,000 ลานบาท20 คาดวาการลงทุนดานโครงขายดังกลาวนําเม็ดเงินเขาสูตลาดบริการดานคอมพิวเตอรเปนอยางมาก ทิศทางการเติบโตของตลาดบริการดานคอมพิวเตอรในป 2552 นั้น คาดวาตลาดจะมีมูลคารวมประมาณ 28,521 ลานบาท ซึ่งมีการขยายจากป 2551 คิดเปนรอยละ 14.2 ดังแสดงในตารางที่ 3–1 ทั้งนี้ประเภทบริการที่ คาดวาจะมีอัตราการเติบโตเปนอันดับที่ 1 ในป 2552 ยังคงเปน IT Outsourcing ซึ่งคาดวาจะขยายตัวเพิ่มขึ้นใน อัตรารอยละ 22.1 หรือมีมูลคา 4,982 ลานบาท รองลงมา ไดแก ตลาดของกลุม Data Center and Disaster Recovery Center ซึ่งคาดวาจะมีอัตราการขยายตัวรอยละ 21.8 หรือมีมูลคาตลาดประมาณ 1,496 ลานบาท และ อัตราการเติบโตอันดับที่ 3 ไดแก Software and Data Maintenance Services มีอัตราการเติบโตรอยละ 20.8 หรือ มีมูลคาประมาณ 1,045 ลานบาท หากพิจารณาเฉพาะตลาด Data Center and Disaster Recovery Center ซึ่งสามารถแยกออกไดเปน 4 ประเภท ไดแก Web Hosting/Mail Hosting, Co-Location Service/Dedicated Server Service, Disaster Recovery Services และ Others เชน managed support service และการสราง Data Center นั้น พบวา บริการที่ มีสัดสวนการถือครองตลาดสูงสุดในกลุมนี้ คือ Disaster Recovery Services มีสัดสวนสูงที่สุด คิดเปนรอยละ 35 ในป 2551 ดังแสดงในแผนภาพที่ 3–4 แตมีแนวโนมที่ลดลงโดยตลอด ในขณะที่การบริการประเภท Co-Location 19

โดยเริ่มติดตั้งเครือขายครอบคลุมบริเวณโซนพลาซา หางสรรพสินคาเซ็นทรัลเวิลด และเอไอเอส ฟวเจอรเวิลด สยามพารากอน ฐานเศรษฐกิจ, 2551, ‘มือถือ 3G ไลฟสไตลใหมคอนไทย นัยสําคัญของการเปลี่ยนแปลง ป 2551’, ปที่ 28 ฉบับที่ 2,384 วันที่ 18-20 ธันวาคม 2551 หนา 34 31

20

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

Service/Dedicated Server Service นั้น มีแนวโนมที่จะเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่ Web Hosting/Mail Hosting มีสัดสวน ที่คอนขางคงที่ แผนภาพที่ 3–4 สัดสวนตลาด Data Center and Disaster Recovery Center จําแนกตามประเภท ป 2550 – 2552 ป 2552f

18.1

2551

18.2

35.0

42.3

4.5

2550

19.2

33.0

45.3

2.5

38.0

39.4

4.5

สัดสวน 0%

หมายเหตุ:

20%

40%

60%

80%

100%

Web Hosting/Mail Hosting 1/

Co-Location Service/Dedicated Server Service

Disaster Recovery Services 2/

Others

1/

Web Hosting/Mail Hosting include those located in the Data Center and outside the Data Center 2/ Disaster Recovery Services includes those located in the Data Center and outside the Data Center

สําหรับกลุมของ IT Outsourcing นั้น เมื่อพิจารณาแยกตามประเภทบริการ 4 ประเภท ไดแก EnterpriseWide, Network and Desktop Management, Application Management และ Others เชน managed security services, system documentation นั้น ผลการสํารวจ พบวา ตลาด Enterprise-Wide เปนตลาดที่มีสัดสวนสูงที่สุด คิดเปนรอยละ 58.4 (ในป 2551) รองลงมาเปน Application Management (รอยละ 23.0 ในป 2551) และ Network and Desktop Management (รอยละ 16.1 ในป 2551) ตามลําดับ ดังแสดงในแผนภาพที่ 3-5

32

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

แผนภาพที่ 3–5 สัดสวนตลาด IT Outsourcing จําแนกตามประเภท ป 2550 – 2552 ป 2552 f

56.8

19.0

22.4

1.8

2551

58.4

16.1

23.0

2.5

2550

61.7

0%

20%

Enterprise-Wide Application Management

17.0

40%

60%

20.1

80%

1.2 สัดสวน 100%

Network and Desktop Management Others

ปจจัยที่คาดวาทําใหตลาดบริการดานคอมพิวเตอรมีการขยายตัวมากขึ้น ในป 2552 ไดแก เทคโนโลยีใหม เชน 3G, WiMAX โดยเฉพาะ 3G จะสงผลโดยตรงตอกลุมผูใชที่เปน Operator ทางโทรคมนาคมและการสื่อสาร อยางเชน บริษัท AIS, บริษัท DTAC ซึ่งจะมีการลงทุนในโครงขายและอุปกรณทางดาน 3G มากขึ้น รวมถึงลงทุน ทางดาน IT เพื่อสรางบริการใหมๆ เพื่อตอบรับกับเทคโนโลยี 3G เชน บริการของ 3G Application บนมือถือซึ่งจะ มีความซับซอนขึ้น ทําใหมีความตองการ server ขนาดใหญขึ้น นอกจากนี้ 3G จะทําใหเกิด application wireless มากขึ้น ทําใหเกิด mobile banking และบริการใหมๆ มากขึ้น เชน บริษัท AIS วางแผนการลงทุน 3G บนยาน ความถี่ 2.1 กิกกะเฮิรตซ (คลื่นความถี่ใหม) ใชงบลงทุนในสวนนี้ปละ 25,000 ลานบาทเปนระยะเวลา 3 ป ในขณะ ที่ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) วางแผนลงทุน มือถือ 3G บนยานความถี่ 1900 เมกะเฮิรตซใชงบลงทุน 29,000 ลานบาท21 นอกจากนี้เทคโนโลยี WiMAX ยังจะกอใหเกิดธุรกิจ host-based application ขึ้น และสงผลใหเกิดความ ตอ งการและกระตุน การใช บ ริ ก ารอิ น เทอร เ น็ ต ความเร็ ว สูง เพิ่ ม ขึ้ น ตามไปดว ย สง ผลให จํ า นวนประชากรผู ใ ช อินเทอรเน็ตขยายตัวมากขึ้น การลงทุนภาครัฐก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่คาดวาจะทําใหตลาดบริการดานคอมพิวเตอร เติบโตสูงขึ้นในป 2552 มีการคาดการณวารัฐบาลใหมนาจะมีการลงทุนทางดาน IT เพิ่มมากขึ้น จากแผนการใชจาย งบประมาณป 2552 พบวา มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อใชในแผนงานเทคโนโลยีสารสนเทศจํานวน 2,325.9 ลาน บาท22 นอกจากนี้ ยังพบวากระทรวงใหญๆ อยางเชน กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

21

ฐานเศรษฐกิจ, 2551, ‘มือถือ 3G ไลฟสไตลใหมคอนไทย นัยสําคัญของการเปลี่ยนแปลง ป 2551’, ปที่ 28 ฉบับที่ 2,384 วันที่ 18-20 ธันวาคม 2551 หนา 34 22 สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี, “งบประมาณโดยสังเขปประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552”, หนา 18 (http://www.bb.go.th/FILEROOM/CABBBIWEBFORM/DRAWER29/GENERAL/DATA0000/00000038.pdf) 33

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

กระทรวงคมนาคม และกระทรวงศึกษาธิการ ไดมีการวางแผนการลงทุนระบบ IT ในป 255223 นี้ไวดวยเชนกัน สําหรับปจจัยลบที่มีผลตอตลาดบริการดานคอมพิวเตอรในป 2552 ไดแกวิกฤติการเงินของโลก (Global Financial Crisis) ซึ่งสงผลตอบริษัทและกลุมสถาบันการเงินที่มาจากตางชาติ จะทําใหบริษัทเหลานี้ชะลอการลงทุน หรือ freeze การลงทุน นอกจากนี้ปญหาของสถาบันการเงินทั้งในและตางประเทศยังสงผล ตอธุรกิจในสวนอื่นๆ ของระบบเศรษฐกิจดวย เพราะธนาคารไมปลอยกูใหภาคธุรกิจ และธนาคารดวยกัน จากปญหาวิกฤติการเงิน ดังกลาวนี้ยังสงผลตอกลุมอุตสาหกรรมสงออกดวย โดยเฉพาะการสงออกไปยังตลาดสหรัฐ ยุโรป ซึ่งเปนตลาด สงออกที่สําคัญของประเทศไทย กลุมอุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing) เพื่อการสงออกไดรับผลกระทบจาก ยอดสั่งซื้อจากตางประเทศที่ลดลง สงผลใหผูประกอบการในภาคเอกชนใน กลุมดังกลาวมีความระมัดระวังในการ ใชจายมากขึ้น รวมถึงชะลอการลงทุนทาง IT ลงดวย สําหรับแนวโนมเทคโนโลยีป 2552 ที่มีผลตอตลาดบริการดานคอมพิวเตอรนอกจาก 3G และ WiMAX แลว ยังมี Unified Communications (UC)24 ซึ่งสามารถนําไปใชเพิ่ม productivity ในการทํางาน โดยองคกรตางๆ นํา UC ไปชวยงานดาน Customer Relationship Management (CRM : การบริหารลูกคาสัมพันธ) และใชเพิ่ม ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในขององคกร เชน โรงพยาบาลใช UC ชวยดานการแปลภาษา ในกรณีที่ตองรักษา คนไขตางชาติ สถาบันการเงินสามารถใช UC ชวยในการใหบริการ เปนตน การนํา UC มาใชนั้นตองมีการปรับและ ยายระบบเดิมทั้งหมดเขาสูระบบ UC ทั้งหมด ซึ่งตองมีการลงทุนคอนขางสูง อยางไรก็ตามการที่องคกรจะนํา UC มาใชหรือไมนั้นขึ้นกับองคกรวาจะลงทุนทางดาน IT หรือไม ถาองคกรใดมีงบประมาณ ก็จะทํา UC กัน แนวโนม เทคโนโลยีอีกตัวหนึ่งที่สงผลกระทบตอตลาด คือ Green IT เนื่องจากเทคโนโลยีนี้จะชวยประหยัดพลังงาน ทําให ตนทุนคาใชจายดานไฟฟาลดลง โดยเทคโนโลยีนี้จะสงผลตอตลาด Data Center and Disaster Recovery Center อยางมาก ผูประกอบการธุรกิจ Data Center และ Disaster Recovery Center จะเนนใชผลิตภัณฑ Storage และ Server ที่สามารถประหยัดพลังงานได เพื่อที่จะลดตนทุนในการประกอบธุรกิจ กลาวโดยสรุปแลว ตลาดบริการดานคอมพิวเตอรของประเทศไทยยังมีทิศทางการเติบโตที่ดี จะเห็นไดจาก อัตราการขยายตัวที่สูงขึ้น ถึงแมวาจะเปนการเติบโตในอัตราที่ลดลงก็ตาม ซึ่งมีสาเหตุมาจากปญหาการเมือง ภายในประเทศ และปญหาเศรษฐกิจที่ถดถอย สวนปจจัยหลักที่ทําใหตลาดมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น คือ กฎระเบียบ และขอบังคับตางๆ และเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม ที่ชวยผลักดันใหผูใชตองปรับตัวและปรับปรุงระบบ IT ใหมีความ ทันสมัยและเปดรับโอกาสทางธุรกิจใหมๆ ที่จะเกิดขึ้น

23

แผนงานบริการบรอดแบนดและมัลติมีเดีย 800 ลานบาท, โครงการขยายบรอดแบนดไอพี 2,815 ลานบาท, โครงการ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 1900 MHz 8,500 ลานบาท ของกระทรวง ICT, แผนจัดหาระบบอุปกรณคอมพิวเตอร 2,855 ลานบาทของ กระทรวงคมนาคม และโครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอรและเครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูง 574 ลานบาทของกระทรวงศึกษาธิการ จากศูนยวิจัยกสิกรไทย KEcon Analysis ปที่ 14 ฉบับที่ 2368 วันที่ 3 ธันวาคม 2551 หนา 1 - 8 24 Unified Communications (UC) คือ การสื่อสารแบบครบวงจร UC เกี่ยวของกับเทคโนโลยีการสื่อสาร และสถาปตยกรรมที่เปนการ ผนวกรวมแอพพลิเคชั่นดานเสียง, วีดีโอ, ขอมูล และระบบเคลื่อนที่เขาดวยกันเปนระบบเดียว ชวยสรางประโยชนในการดําเนินการ ทางธุรกิจใหมากที่สุด และยกระดับการติดตอสื่อสารใหสมบูรณ สามารถสราง Flow การทํางานและจัดองคประกอบของอุปกรณ และ สื่อใหเปนอิสระจากกัน งายตอการใชงาน 34

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ตลาดสื่อสาร (Communications) ตลาดสื่อสารป 2551 มีมูลคารวม 379,216 ลานบาท (ตารางที่ 4-1) คิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 6.8 โดยแรงขับเคลื่อนตลาดที่สําคัญมาจากทางดานบริการสื่อสาร ซึ่งคิดเปนรอยละ 67 คิดเปนมูลคาทั้งสิ้น 252,254 ลานบาท ขณะที่อีกรอยละ 33 มาจากตลาดอุปกรณสื่อสาร คิดเปนมูลคาประมาณ 126,962 ลานบาท และ คาดการณวามูลคาตลาดสื่อสารรวมในป 2552 จะมีมูลคาทั้งสิ้น 400,534 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเติบโต ประมาณรอยละ 5.6 ซึ่งเปนการเติบโตในอัตราที่ลดลง โดยผลการสํารวจที่สําคัญของตลาดสื่อสารสรุปไดดังนี้ ตารางที่ 4-1 ผลการสํารวจมูลคาตลาดสื่อสาร ป 2550 - 2552 Categories

Value (Mil. Baht) YTY Growth (%) 2550 2551 2552 50/51 51/52 118,411 126,962 134,093 7.2 5.6 3.5 0.7 64,842 67,094 67,562 2,698 2,759 2,771 2.3 0.4 1,189 1,114 1,026 -6.3 -7.9 984 1,095 1,184 11.2 8.1 525 550 561 4.8 2.0 54,448 57,540 58,655 5.7 1.9 37,920 38,830 37,109 2.4 -4.4 12,240 13,400 14,850 9.5 10.8 4,288 5,310 6,696 23.8 26.1 7,696 6,795 6,136 -11.7 -9.7 6,870 5,800 5,010 -15.6 -13.6 826 995 1,126 20.4 13.2 11.8 11.1 53,569 59,868 66,531 33,287 36,935 40,067 11.0 8.5 20,282 22,933 26,464 13.1 15.4 236,706 252,254 266,442 6.6 5.6 4.5 2.9 182,755 190,977 196,490 28,271 27,842 27,340 -1.5 -1.8 154,484 163,135 169,150 5.6 3.7

Products & Services

1 Communication Equipments 1.1 Voice Communication Equipments 1.1.1 Telephone Handset - Traditional Telephone Handset - IP Phone - Fax 1.1.2 Mobile Handset - Traditional Mobile Handset - Smart Phone - PDA Phone 1.1.3 PBX/PABX - Traditional PBX - IP PBX 1.2 Data Communication Equipments 1.2.1 Wired Line 1.2.2 Wireless 2 Communication Services 2.1 Voice Communication Services 2.1.1 Fixed Line Voice 2.1.2 Mobile Voice

35

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

Categories

YTY Growth (%) 2550 2551 2552 50/51 51/52 53,952 61,277 69,952 13.6 14.2 9,513 9,827 10,125 3.3 3.0 14,157 16,076 17,924 13.6 11.5 16,085 19,161 22,999 19.1 20.0 14,197 16,213 18,904 14.2 16.6 355,117 379,216 400,534 6.8 5.6 Value (Mil. Baht)

Products & Services

2.2 Data Communication Services 2.2.1 Traditional Data 2.2.2 IP Service 2.2.3 Internet Access 2.2.4 Mobile Non voice Total Communication Market

1. ตลาดอุปกรณสื่อสาร (Communication Equipments ) ในป 2551 ยังคงแบงออกเปน 2 ตลาดยอย ไดแก ตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทเสียง (Voice Communication Equipments) และตลาด อุปกรณสื่อสารประเภทขอมูล (Data Communication Equipments) โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทเสียง (Voice Communication Equipments) ประกอบดวย ผลิตภัณฑประเภทเครื่องโทรศัพทพื้นฐาน และเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ จากตารางที่ 4-1 พบวา ตลาด เครื่องโทรศัพทพื้นฐานมีมูลคาประมาณ 2,759 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมา คิดเปนรอยละ 2.3 และ คาดการณวาในป 2552 จะมีอัตราการเติบโตลดลง คิดเปนรอยละ 0.4 หรือมีมูลคาประมาณ 2,771 ลานบาท แรงขับเคลื่อนที่สําคัญของตลาดเครื่องโทรศัพทพื้นฐานในป 2551 และ 2552 มาจากการเติบโตของ เครื่องโทรศัพทที่ใชงานผานเครือขายอินเทอรเน็ต (IP Phone) ซึ่งมีมูลคา 1,095 ลานบาทในป 2551 เพิ่มขึ้น จากปที่ผานมารอยละ 11.2 และคาดการณวาป 2552 อัตราการเติบโตของเครื่องโทรศัพท IP Phone จะลดลง คิดเปนรอยละ 7.9 หรือคิดเปนมูลคา 1,026 ลานบาท เนื่องจากปจจัยราคาเครื่องโทรศัพทที่ยังคงมีราคาสูง ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศที่ชะลอตัวจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก สําหรับตลาดเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งประกอบดวยผลิตภัณฑประเภทเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั่วไป(Traditional Mobile Handset) เครื่องโทรศัพทประเภทสมารทโฟน (Smart Phone) และเครื่องโทรศัพท ประเภทพีดีเอโฟน (Personal Digital Assistant Phone: PDA Phone) โดยตลาดเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ป 2551 มีมูลคารวม 57,540 ลานบาท คิดเปนอัตราการเติบโตในแงของมูลคาตลาดเทียบกับป 2550 รอยละ 5.7 แตหากมองในแงการเติบโตของจํานวนเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่พบวาป 2551 มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้น จากป 2550 ประมาณรอยละ 11 หรือเพิ่มจาก 8.5 ลานเครื่องในป 2550 เปน 9.6 ลานเครื่องในป 2551 ทั้งนี้ เป น ผลมาจากราคาเครื่ อ งโทรศั พ ท ที่ ป รั บ ตั ว ลดลงมากกว า อั ต ราการเติ บ โตของจํ า นวนเครื่ อ งโทรศั พ ท ประกอบกั บในป ที่ผ า นมาเครื่ อ งโทรศัพ ทจ ากประเทศจีน ได เข า มาแยง สว นแบง ตลาดภายในประเทศไป คอนขางมาก ซึ่งสวนใหญเครื่องโทรศัพทจากประเทศจีนจะเปนเครื่องโทรศัพทที่มีราคาเฉลี่ยต่ํากวาเมื่อเทียบ กับเครื่องโทรศัพทที่มีขายภายในประเทศ สําหรับตลาดเครื่องลูกขายในป 2552 คาดการณวาตลาดเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่จะมีมูลคารวม ทั้งสิ้น 58,655 ลานบาท คิดเปนอัตราการเติบโตในแงของมูลคาเพียงรอยละ 1.9 จากปจจัยราคา เครื่องโทรศัพท ซึ่งคาดวาจะมีการปรับตัวลดลงอีกคอนขางมาก แมวาจะยังมีการเติบโตในแงของจํานวน 36

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

เครื่องโทรศัพทกวา 10.2 ลานเครื่องในป 2552 ก็ตาม ซึ่งสาเหตุหลักที่ราคาเครื่องโทรศัพทจะปรับลดลงมาอีก มากนั้ น เกิ ด จากการแข ง ขั น ที่ รุ น แรงขึ้ น ของผู ผ ลิ ต แต ล ะค า ยที่ จํ า เป น ต อ งรั ก ษาส ว นแบ ง ตลาดจาก เครื่องโทรศัพทของประเทศจีนที่มีราคาถูกกวา รวมถึงผลของกําลังซื้อและความเชื่อมั่นของผูบริโภคที่ลดต่ําลง อัน เนื่องมาจากปญหาเศรษฐกิจภายในประเทศที่ไดรับผลกระทบมาจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก ทําใหราคา เครื่องโทรศั พทกลายเปน ปจ จัยสํา คัญ สํ า หรับการตั ดสิน ใจซื้อเครื่องโทรศัพท ของกลุ ม ผู บริ โ ภคสว นใหญ โดยเฉพาะกลุมผูบริโภคในตางจังหวัด ป 2552 จึงมีแนวโนมวาผูผลิต แตละคายจะหันมาใหความสนใจกับ ตลาดระดับลาง (Mass market) ที่มีราคาเครื่องต่ํากวา 3,000 บาท มากขึ้น แผนภาพที่ 4-1 แสดงมูลคาตลาดเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ป 2550 - 2552 ลานบาท 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

37,920

38,830 37,109

12,240 13,400

14,850 4,288 5,310

Traditional Handset

Smart Phone

2550

2551

6,696

PDA Phone 2552

เมื่อพิจารณาลงรายผลิตภัณฑดังแผนภาพที่ 4-1 พบวา เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ระดับกลางถึงระดับ ลาง ป 2551 มีมูลคาตลาดประมาณ 38,830 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2550 คิดเปนอัตราการเติบโตในแงของ มูลคารอยละ 2.4 อยางไรก็ตาม ในป 2552 คาดการณวาเครื่องโทรศัพทในกลุมนี้จะมีมูลคาลดลงเปน 37,109 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราเติบโตติดลบรอยละ 4.4 เนื่องจากตลาดเครื่องโทรศัพทในกลุมนี้จะไดรับผลกระทบ โดยตรงจากปญหาภายในประเทศ ไมวาจะเปนปญหาเศรษฐกิจ ความไมแนนอนทางการเมือง อัตราการ วางงานที่เพิ่มขึ้น และกําลังซื้อของผูบริโภคที่ลดลง สําหรับตลาดที่มีอัตราการเติบโตสูงที่สุดในกลุมเครื่อง โทรศัพทเคลื่อนที่ คือ ตลาดเครื่องพีดีเอโฟน โดยป 2551 มีอัตราการเติบโตรอยละ 23.8 และคาดการณวา ป 2552 จะมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 26.1 หรือคิดเปนมูลคา 5,310 ลานบาท และ 6,696 ลานบาท ตามลําดับ รองลงมา คือเครื่องโทรศัพทประเภทสมารทโฟน ซึ่งป 2551 มีมูลคาประมาณ 13,400 ลานบาท และจะเพิ่มขึ้นเปน 14,850 ลานบาทในป 2552 หรือคิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 9.5 และรอยละ 10.8 ตามลํา ดับ ทั้งนี้ จะเห็น ไดวา อั ตราการเติบโตของตลาดเครื่องพีดีเอโฟนค อนขางจะสวนกระแสกั บภาวะ เศรษฐกิจที่ชะลอตัวและกําลังซื้อของผูบริโภคที่หดตัวลง เนื่องจากตลาดเครื่องพีดีเอโฟนมี Niche market เปน กลุมลูกคาระดับบน ซึ่งมีความตองการใชงานเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่แตกตางไปจากโทรศัพททั่วไป ไมวา จะเป น การใช ง านเชิ ง ธุ ร กิ จ หรื อ การใช ง านมั ล ติ มี เ ดี ย ประกอบกั บ ราคาเครื่ อ งพี ดี เ อโฟนที่ ป รั บ ลดลง

37

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

คอนขางมากเฉลี่ยเครื่องละ 15,000 บาท ทําใหยังคงเปนที่ตองการของตลาดในภาวะปจจุบันที่ผูซื้อตอง ไตรตรองระหวางราคาและความคุมคาของการใชงาน ในขณะที่ตลาดเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ประเภท สมารทโฟน ผูจัดจําหนายอาจตองมีกลยุทธในการขายเพิ่มขึ้นมากกวาปที่ผานมา เพราะแมวาจะมีอัตราการ เติบโตเพิ่มขึ้นแตไมสูงมากนัก เนื่องจากผูบริโภคจะระมัดระวังการใชจายมากขึ้นแมวาจะยังมีกําลังซื้ออยูก็ ตาม ประกอบกับราคาเครื่องพีดีเอโฟนที่ลดลงมาก็เปนปจจัยสําคัญตอการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคในกลุมนี้ อยางไรก็ตาม ป 2552 ยังคงมีปจจัยบวกจากการใหบริการ 3G บนคลื่นความถี่เดิมอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น ของผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศ ดังนั้นในสวนของตลาดเครื่องโทรศัพทประเภทสมารทโฟน ดีไซน ของตัวเครื่องและการรองรับบริการเสริมตางๆ จะกลายเปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจซื้อ จากปจจัยตางๆ ที่กลาวมาทําใหแนวโนมของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ที่จะเปนจุดขายของป 2552 ไดแก เครื่องโทรศัพทที่รองรับระบบ 3G เครื่องโทรศัพทที่มีระบบมัลติทัช (Multi Touch) หรือการใชนิ้วมือ สัมผัสสั่งงานบนหนาจอโดยตรงและมีหนาจอสัมผัสขนาดใหญ เครื่องโทรศัพทที่สามารถรับสัญญาณทีวีไดหรือ ทีวีโฟน (TV Phone) โดยปนี้จะเนนที่ขนาดของหนาจอและความคมชัดของสัญญาณภาพและเสียง รวมถึงการ บันทึกรายการทีวีเปนดิจิทัลไฟลลงบนมือถือ เครื่องโทรศัพทที่สามารถมองเห็นคูสนทนาได (Video Call) เครื่องโทรศัพทที่มีฟงกชั่นกลอง 8 ลานพิกเซล เครื่องโทรศัพทที่รองรับการใชงาน GPS (Global Positioning System) แตสําหรับโทรศัพท ที่รองรับ 2 ซิม หรือ มัลติซิมการด (Multi-Sim Card) ในปนี้อาจไมไดรับการ ตอบรับจากตลาดมากนัก เนื่องจากการใชซิมการดมากกวา 1 ซิมการดของกลุมผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ นาจะ ลดลงตามภาวะเศรษฐกิจในปจจุบัน นอกจากนั้นสําหรับป 2552 เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ที่เปนที่จับตามอง มากที่สุดในขณะนี้คงหนีไมพนเครื่องโทรศัพทไอโฟน (iPhone 3G) ซึ่งเปนเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ประเภทพี ดีเอโฟนที่เริ่มเขามาตีตลาดเครื่องลูกขายตั้งแตปลายป 2551 โดยใชระบบปฏิบัติการเฉพาะของคาย Apple Inc. ขณะที่ทางดาน Microsoft เองก็เตรียมออกซอฟตแวรระบบปฏิบัติการ Window Mobile v.7 ในป 2552 เพื่อกระตุนตลาดพีดีเอโฟนเดิมดวยเชนเดียวกัน ทางดานของตลาดตูชุมสายโทรศัพท (Private Branch Exchange: PBX) ซึ่งประกอบดวยตูชุมสาย แบบดั้งเดิมที่ใชระบบอนาล็อก (Traditional PBX) และตูชุมสายที่รองรับทั้งระบบอนาล็อกและดิจิทัล (IP PBX) จากแผนภาพที่ 4-2 พบวา มูลคาตลาดตูชุมสายโดยรวมมีอัตราเติบโตลดลงรอยละ 11.7 หรือคิดเปนมูลคา 6,795 ลานบาท จากเดิม 7,696 ลานบาท เปนผลมาจากตลาดตูชุมสายแบบดั้งเดิมที่มีอัตราการเติบโตติดลบ ถึงรอยละ 15.6 เมื่อเทียบกับป 2550 หรือคิดเปนมูลคา 5,800 ลานบาท แมวาตลาดตูชุมสาย IP PBX จะมี มูลคาเพิ่มขึ้นจากปที่ผานมามากถึงรอยละ 20.4 หรือคิดเปนมูลคา 995 ลานบาท แตตลาดตูชุมสายโทรศัพท สวนใหญยังคงเปนแบบดั้งเดิม ทําใหมูลคาตลาดโดยรวมไมเติบโตเทาที่ควร

38

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

แผนภาพที่ 4-2 แสดงมูลคาตลาดตูชุมสายโทรศัพท ป 2550 - 2552 ลานบาท 8,000 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0

6,870 5,800

5,010

826 Traditional PBX

995

1,126

IP PBX

2550

2551

2552

ขณะที่ป 2552 คาดการณวาตลาดตูชุมสายโทรศัพทจะมีมูลคารวม 6,136 ลานบาท แบงออกเปน ตลาดตูชุมสายโทรศัพทแบบดั้งเดิมคิดเปน 5,010 ลานบาท และตลาดตูชุมสาย IP PBX คิดเปน 1,126 ลาน บาท เปนที่นาสังเกตวาอัตราการเติบโตของตลาดตูชุมสาย IP PBX มีอัตราการเติบโตลดลงจากรอยละ 20.4 ในป 2551 และคาดวาจะเหลือเพียงรอยละ 13.2 ในป 2552 ซึ่งเปนผลมาจากการชะลอการลงทุนในภาคธุรกิจ โดยเฉพาะกลุม โรงแรมและอพาร ต เมนต ซึ่ง เปน กลุ ม ลูก ค า หลั ก อัน เปน ผลสืบ เนื่อ งมาจากเหตุก ารณป ด สนามบินเมื่อเดือนธันวาคมที่ผานมา ลูกคากลุมหลักรองลงมา คือ กลุมธุรกิจเกิดใหม ซึ่งคาดวาจะลดลงอยาง มากในปนี้จากภาวะวิกฤตการเงินโลกและปจจัยเสี่ยงทางการเมือง ปจจัยสุดทาย คือ โครงการลงทุนขนาด ใหญ (Mega Project) จากภาครัฐ ซึ่งเปนกําลังซื้อสําคัญของตลาดตูชุมสายโทรศัพท ซึ่งยังมีความไมแนนอน สูงในขณะนี้วาจะมีการเปดประมูลงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาปรับปรุงชุมสายโทรศัพทภายในปน้หี รือไม 1.2 ตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทขอมูล (Data Communication Equipments) ประกอบดวยอุปกรณ สื่อสารขอมูลประเภทใชสายและไรสาย (Wired Line & Wireless) ซึ่งครอบคลุมถึงอุปกรณเครือขาย (Network Carrier) และอุปกรณที่ใชกับสถานีโครงขายทั้งใชสายและไรสาย เชน TDM Switching, IP Core Networks, LAN, Cable และ Fiber Optic เปนตน จากผลการสํารวจในป 2551 พบวา ตลาดอุปกรณสื่อสารขอมูลมีมูลคา รวมประมาณ 59,868 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2550 คิดเปนอัตราเติบโตรอยละ 11.8 และคาดการณวาในป 2552 อัตราการเติบโตจะลดลงเล็กนอย คิดเปนรอยละ 11.1 หรือมีมูลคาตลาดรวมประมาณ 66,531 ลานบาท

39

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

แผนภาพที่ 4-3 แสดงมูลคาตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทขอมูล ป 2550 – 2552 ลานบาท 50,000 40,000

33,287

36,935

40,067

30,000

20,282

20,000

22,933

26,464

10,000 0

Wired Line

Wireless

2550

2551

2552

จากแผนภาพที่ 4-3 พบวา ตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทใชสาย (Wired Line) ป 2551 มีมูลคา ประมาณ 36,935 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2550 ดวยอัตราการเติบโตรอยละ 11 และคาดการณวาป 2552 จะมี มูลคาประมาณ 40,067 ลานบาท ดวยอัตราการเติบโตรอยละ 8.5 ซึ่งเปนอัตราการเติบโตที่ลดลงจากปที่ผาน มา อันเปนผลสืบเนื่องมาจากการปรับลดงบประมาณการลงทุนและแผนการใชจายดานไอทีของภาคเอกชน รวมถึงการลงทุนในโครงการของภาครัฐที่แมวาจะมีแผนการลงทุนทางดานไอทีหลายพันลานบาท แตยังมี ปจจัยเสี่ยงหลายปจจัยโดยเฉพาะความไมแนนอนทางการเมืองและเสถียรภาพของรัฐบาลชุดใหม ซึ่งอาจทํา ใหแผนการลงทุนดังกลาว อาจมีการชะลอและลาชาออกไปอีก ขณะที่ทางดานตลาดอุปกรณสื่อสารไรสาย กลับมีอัตราการเติบโตมากกวาแมวาจะเผชิญกับปญหาและปจจัยเสี่ยงแบบเดียวกัน โดยในป 2551 ตลาด อุปกรณสื่อสารไรสายมีมูลคา 22,933 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2550 คิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 13.1 และ คาดวาจะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 15.4 ในป 2552 หรือคิดเปนมูลคา 26,464 ลานบาท สืบเนื่องมาจากความ ตองการใชอินเทอรเน็ตความเร็วสูงภายในประเทศที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วทั้งความตองการใชอินเทอรเน็ตผาน เครื่องคอมพิวเตอรและความตองการใชอินเทอรเน็ตผานโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณเชื่อมตออินเทอรเน็ต แบบพกพา (Mobile Device) นอกจากนั้นตลาดอุปกรณสื่อสารไรสายยังไดรับการผลักดันจากการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีไรสายซึ่งเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทั้ง 3G และ WiMAX ทําใหผูประกอบการยังคง ตองเดินหนาลงทุนในการขยายโครงขายและเครือขายการใหบริการอยางตอเนื่อง อีกปจจัยหนึ่งที่เปนปจจัย สํ า คั ญ ซึ่ ง ส ง ผลโดยตรงต อ การเติ บ โตของทั้ ง ตลาดอุ ป กรณ แ ละตลาดบริ ก ารสื่ อ สารไร ส าย คื อ การออก ใบอนุญาตใหบริการ 3G ที่คาดวาจะอนุมัติไดภายในป 2552 รวมถึงการออกใบอนุญาตใหบริการ WiMAX ที่ คาดวาจะสามารถออกไดไลเลี่ยกันกับใบอนุญาต 3G ซึ่งจะกลายเปนแรงขับเคลื่อนหลักใหเกิดการลงทุนขยาย โครงขายและกระตุนใหเกิดการใชจายในอุปกรณสื่อสารไรสายมากขึ้นในภาวะเศรษฐกิจปจจุบัน อยางไรก็ตาม ในแงของอุปกรณโครงขายและสถานีฐานยอมไดรับผลกระทบจากวิกฤตการเงินโลกที่สงผลตอการระดมทุน ทําใหตนทุนทางการเงินของผูประกอบการเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งการระดมทุนจากตางประเทศทําไดยากขึ้น ผู ให บ ริ ก ารจึ ง มี ค วามระมั ด ระวั ง ในเรื่ อ งของการเลื อ กลงทุ น ในการขยายโครงข า ย ทั้ ง ในแง ข องการเลื อ ก เทคโนโลยีและการเลือกพื้นที่การใหบริการมากขึ้น ทําใหผูใหบริการหลายๆ รายมองวาตลาดสื่อสารไรสาย 40

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

นาจะคุมคากับการลงทุนในภาวะปจจุบันมากกวาการลงทุนขยายเครือขายใชสายที่มีตนทุนการเดินสายสูงกวา มาก ขณะที่ครอบคลุมพื้นที่การใหบริการในวงที่แคบกวา ยิ่งไปกวานั้น เทคโนโลยีที่ชวยเสริมประสิทธิภาพ การทํางานของเครือขายและการเขาถึงเครือขาย ไดแก เทคโนโลยี 802.11 N หรือ Wireless N ไดแก อุปกรณเครือขายไรสายประเภท Multiple SSID25 ซึ่งคาดวาจะเขามามีบทบาทสําคัญในการกระตุนตลาด อุปกรณสื่อสารไรสายใหขยายตัวเพิ่มขึ้น จากความตองการใชงานบริการมัลติมีเดียและการขยายตัวของความ ตองการใช WLAN ในระดับองคกร โดยเทคโนโลยีดังกลาว จะเขามาชวยเสริมประสิทธิภาพของเครือขายไร สายที่มีอยูเดิมใหรองรับการรับสงขอมูลที่มีความเร็ว (Bandwidth) มากขึ้น สงผลใหการใชงานแอพพลิเคชั่น ตางๆ ผานเครือขายไรสายขององคกร ทําไดสะดวกมากขึ้น อุปกรณสื่อสารที่นาจับตามองอีกดานหนึ่ง คือ อุปกรณทางดานการรักษาความปลอดภัยเครือขาย (Network Security Equipment) อันเปนผลสืบ เนื่องมาจากความตื่นตัวในเรื่องของการรักษาความปลอดภัยของขอมูลจากอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรที่ เพิ่มสูงขึ้นในชวงปที่ผานมา นอกจากนั้น อุปกรณเชื่อมโยงเครือขายสื่อสารไรสายประเภท WiFi Mesh (Roaming Network Equipment) ก็คาดวาจะเปนอุปกรณที่เปนจุดเดนของป 2552 เชนเดียวกัน 2. ตลาดบริการดานการสื่อสาร (Communication Services) แบงออกเปน 2 ตลาดยอย คือ การบริการประเภทเสียง และการบริการประเภทขอมูล โดยตลาดบริการดานการสื่อสารในป 2551 มีมูลคารวม ทั้งสิ้น 252,254 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2550 ดวยอัตรารอยละ 6.6 และคาดการณวาในป 2552 จะมีมูลคา 266,442 ลานบาท มีอัตราการเติบโตลดลงจากปที่ผานมารอยละ 5.6 แรงขับเคลื่อนที่สําคัญของบริการสื่อสาร ประเภทเสียงคือตลาดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 ตลาดบริการสื่อสารประเภทเสียง (Voice Communication Services) มีมูลคารวมประมาณ 190,977 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 4.5 จากป 2550 และคาดการณวาอัตราการเติบโตจะเหลือเพียงรอยละ 2.9 ในป 2552 หรือคิดเปนมูลคา 196,490 ลานบาท แผนภาพที่ 4-4 แสดงมูลคาตลาดบริการสื่อสารประเภทเสียงป 2550 - 2552 ลานบาท 200,000

154,484

150,000

163,135

169,150

100,000 50,000

28,271

27,842

27,340

0

Fixed Line Voice 2550 25

Mobile Voice 2551

2552

อุปกรณ Access Point ที่ชวยในการจัดการการเขาถึงเครือขายไรสายของ User โดยการกําหนดวิธีการ Authetication และ การเขารหัสไดตามความเหมาะสมของอุปกรณลูกขาย 41

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

เมื่อพิจารณาลงรายละเอียดดังแผนภาพที่ 4-4 พบวา บริการโทรศัพทพื้นฐานป 2551 มีมูลคา ประมาณ 27,842 ลานบาท เติบโตลดลงจากป 2550 รอยละ 1.5 และคาดวาจะลดลงอีกเปน 27,340 ลานบาท ในป 2552 ขณะที่การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ป 2551 มีมูลคาทั้งสิ้น 163,135 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2550 ดวยอัตราการเติบโตรอยละ 5.6 โดยจํานวนผูใชบริการในระบบพรีเพด (Pre-Paid) ยังคงมีอัตราการ เติบโตอยางตอเนื่องและเปนกลุมลูกคาหลักของตลาดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ นอกจากนั้นตลาดบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ยังไดรับปจจัยบวกจากการที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) ไดออก ใบอนุญาตและจัดสรรเลขหมายสําหรับผูใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศเพิ่มขึ้น กอใหเกิดผูใหบริการราย ใหมในตลาดบริการโทรศัพทระหวางประเทศ สงผลใหเกิดการแขงขันทั้งในแงของอัตราคาบริการที่ลดต่ําลง และคุณภาพการใหบริการ จึงทําใหยอดการใชบริการโทรศัพทระหวางประเทศผานโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้น ในชวงปที่ผานมา อยางไรก็ตาม คาดการณวาป 2552 ตลาดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่จะมีมูลคาประมาณ 169,150 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 3.7 ซึ่งนับไดวาเปนอัตราการเติบโตที่ลดลงจากปที่ผาน มา สืบเนื่องจากปญหาหลักคือภาวะคาครองชีพที่สูงขึ้นจากความผันผวนของราคาน้ํามันที่แมจะมีการปรับตัว ลดลงแลวก็ตาม แตราคาสินคาอุปโภคบริโภคสวนใหญไมไดปรับลดลงตามราคาน้ํามันดวย ประกอบกับดัชนี ความเชื่อมั่นในการใชจายของผูบริโภคที่ลดลง รวมถึงปญหาการวางงานที่เพิ่มสูงขึ้น ทําใหผูบริโภคระมัดระวัง การใชจายมากขึ้น ซึ่งแมวาจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในป 2552 จะไมไดลดลง แตระยะเวลาการใช งานและความถี่ในการใชงานเริ่มมีการปรับตัวลดลงอยางเห็นไดชัดตั้งแตปลายปที่ผานมา นอกจากนั้น ในป 2552 ยังคาดการณวา ผูใชโทรศัพทที่เดิมนิยมมีหมายเลขโทรศัพทมากกวา 1 หมายเลขหรือมีการใชงานซิม การดมากกวา 1 ซิมการดนั้น จะมีจํานวนนอยลง ดวยสาเหตุหลักจากความตองการตัดคาใชจายที่ ไมจําเปน ออกไป ปจจัยสําคัญอีกประการหนึ่งที่ทําใหมูลคาตลาดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ปรับตัวลดลงในป 2552 คือ การแขงขันทางดานราคาและการออกโปรโมชั่นตางๆ ของผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อรักษาฐานลูกคา เดิม สืบเนื่องจากแนวโนมในการอนุมัติการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability) ทําใหผูใหบริการแตละรายตองแขงขันกันเพื่อรักษาฐานลูกคาเดิมไวใหมากที่สุด อยางไรก็ตาม ในป 2552 ยังคงมีปจจัยบวกในเรื่องของความตองการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่อยูอีกมากในเขตพื้น ที่ตางจังหวัด โดยเฉพาะในเขตภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ยังคงมีสัดสวนผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากร ในระดับที่ไมสูงมากนัก อีกทั้งปจจุบันเครือขายการใหบริการของโทรศัพทพื้นฐานยังไมครอบคลุมพื้นที่นอก เขตเมืองเนื่องจากมีตนทุนการขยายสายสัญญาญคอนขางสูง พื้นที่ใหบริการภายในขายสายในเขตภูมิภาคก็ ยังไมสามารถรองรับความตองการใชงานไดอยางเพียงพอ ขณะที่แนวโนมการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่จะ เนนไปที่บริการเสริม (Mobile Non Voice) เพิ่มมากขึ้น เพื่อลดการขาดทุนที่เกิดจากสงครามราคา และ กลายเปนปจจัยบวกสําหรับตลาดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในป 2552 ทําใหสามารถตอบสนองบริการประเภท มัลติมีเดียไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2.2 ตลาดบริการสื่อสารประเภทขอมูล (Data Communication Services) ประกอบดวยบริการ Traditional Data เชน บริการ ATM (Asynchronous Transfer Mode), IIG (International Internet Gateway) และบริการ Frame Relay เปนตน นอกจากนั้นยังประกอบดวยบริการอื่นๆ เชน บริการเสริมไรสาย (Mobile Non Voice) บริการเชื่อมตออินเทอรเน็ต (Internet Access) และบริการเสริมตางๆ บนเครือขายอินเทอรเน็ต (IP Service) ไดแก บริการ Voice Over Internet Protocol (VoIP) บริการ Virtual Private Network (VPN) และบริการ Video Conference เปนตน โดยในป 2551 ตลาดบริการสื่อสารขอมูล มีมูลคารวมของทั้งตลาด 42

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

อยูที่ 61,277 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2550 ดวยอัตราการเติบโตรอยละ 13.6 และคาดการณวาจะเพิ่มขึ้นเปน รอยละ 14.2 หรือ 69,952 ลานบาทในป 2552 แผนภาพที่ 4-5 แสดงมูลคาตลาดบริการสื่อสารขอมูล ป 2550 - 2552 ลานบาท 25,000

22,999 17,924

20,000 15,000 10,000

9,513

9,827

10,125

16,076 14,157

18,904 16,213

19,161 16,085 14,197

5,000 0

Traditional Data

IP Service 2550

Internet Access 2551

Mobile Non Voice 2552

จากแผนภาพที่ 4-5 จะเห็นไดวาในสวนของตลาดบริการสื่อสารประเภทขอมูลป 2551 แรงขับเคลื่อน หลักของตลาดมาจากบริการเชื่อมตออินเทอรเน็ต หรือ Internet Access ซึ่งมีมูลคา19,161 ลานบาท และคาด วาในป 2552 จะมีมูลคาเพิ่มขึ้นเปน 22,999 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 20 โดยตลาดที่มี การเติบโตมากที่สุดคือตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband) ทั้งอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบใชสาย และไรสาย ความตองการใชบริการดังกลาวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทั้งในเขตกรุงเทพฯ และตางจังหวัด โดยเฉพาะในตางจังหวัดซึ่งไดรับแรงกระตุนทางดานเทคโนโลยีจากเทคโนโลยี WiMAX ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่ พัฒนาตอมาจากเทคโนโลยี WiFi ซึ่งมีประสิทธิภาพในการรับสงขอมูลความเร็วสูงและเหมาะสมกับสภาพของ ชนบทและพื้ น ที่ ห า งไกล ส งผลให ผู บริ โ ภคทั้ งในกรุง เทพฯ และต า งจัง หวั ดตื่ น ตั ว ในเรื่อ งของเทคโนโลยี อินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพิ่มมากขึ้น สําหรับบริการเสริมไรสาย (Mobile Non Voice) ก็เปนบริการสําคัญอีก ประเภทหนึ่งที่ไดรับแรงกระตุนจากเทคโนโลยี 3G สงผลใหมีการเติบโตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องและความ ตองการใชงานก็เพิ่มสูงขึ้นมาก ซึ่งจะเห็นไดจากการที่ผูบริโภคซื้อเครื่องลูกขายที่รองรับระบบ 3G เพิ่มมากขึ้น ในรูปของสมารทโฟนและพีดีเอโฟน แมวาในป 2551 จะมีการเปดใหบริการในบางพื้นที่เทานั้น โดยในป 2551 ตลาดบริการเสริมไรสายมีมูลคาประมาณ 16,213 ลานบาท และคาดวาจะเพิ่มขึ้นเปน 18,904 ลานบาทในป 2552 ดวยอัตราการเติบโตรอยละ 16.6 ซึ่งเปนอัตราการเติบโตที่สูงมากในตลาดบริการสื่อสารขอมูล เปนรอง เพียงแคบริการเชื่อมตออินเทอรเน็ตเทานั้น อยางไรก็ตาม ปจจุบันบริการที่เปนแรงขับเคลื่อนสําคัญของ บริการเสริมไรสาย ยังคงเปนบริการ SMS และ MMS สําหรับป 2552 คาดวาบริการที่จะเขามามีบทบาท สําคัญสําหรับตลาดบริการเสริมไรสาย คือ การใหบริการ GPRS เนื่องจากความตองการใชบริการ GPS ที่เพิ่ม สูงขึ้นมากในปจจุบัน รวมถึงความตองการใชงาน Wireless Hi-Speed Internet ที่สูงขึ้นจากความตองการใช บริการมัลติมีเดียที่ไดรับแรงกระตุนจากเครื่องลูกขายมาแรงอยาง iPhone ที่คาดวาจะมีบทบาทมากในป 2552 43

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

สําหรับบริการสื่อสารขอมูลอื่นๆ ไดแก บริการ Traditional Data ในป 2551 มีมูลคาประมาณ 9,827 ลานบาท และจะเพิ่มขึ้นเปน 10,125 ลานบาทในป 2552 โดยบริการที่เปนแรงขับเคลื่อนหลักของตลาด คือ International Internet Gateway (IIG) ที่มีมูลคาเพิ่มสูงขึ้นจากความตองการใชบริการโทรศัพทระหวาง ประเทศในป 2551 อยางไรก็ตาม จากการคาดการณวาในป 2552 จะมีจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติลดลงจาก เหตุการณปดสนามบินเมื่อปลายป 2551 ทําใหความตองการใชบริการโทรศัพทระหวางประเทศสําหรับป 2552 ไมสูงเทาที่ควร และสงผลตอตลาดบริการ Traditional Data ดวยเชนกัน ทางดานบริการ IP Service กลับเปนบริการที่นาสนใจสําหรับตลาดบริการสื่อสารขอมูล โดยในป 2551 มีมูลคา 16,076 เพิ่มขึ้นจากป 2550 ดวยอัตราเติบโตรอยละ 13.6 และคาดวาจะเพิ่มขึ้นอีกในป 2552 คิดเปนมูลคา 22,999 ลานบาท โดย ปจจัยบวกสําหรับตลาด IP Service คือความตองการใชบริการประชุมทางไกล หรือ Video Conference ที่ เพิ่มสูงขึ้นในชวงตนปและกลางป 2551 อันเปนผลสืบเนื่องมาจากราคาน้ํามันที่ปรับตัวสูงขึ้นมาก ทําให Video Conference กลายเปนทางเลือกที่ประหยัดกวาของภาคเอกชนในการลดตนทุนการดําเนินงานของธุรกิจ และ คาดวาจะกลายเปนที่นิยมของภาคธุรกิจในอนาคตดวยเชนเดียวกัน จากภาพรวมของตลาดสื่อสารทั้งหมด เมื่อพิจารณาทางดานของประเภทผูใชงานอุปกรณสื่อสารและ บริการสื่อสารนั้น การศึกษาวิจัยในปนี้มีการปรับกลุมประเภทผูใชงานเพื่อใหมีความสอดคลองกับสภาพตลาด สื่อสารของประเทศไทยใหมากที่สุด โดยไดจําแนกกลุมผูใชงานอุปกรณสื่อสารตามประเภทและลักษณะการใช งาน ซึ่งจําแนกออกเปน 1. ผูประกอบการโทรคมนาคม (Operator) 2. ลูกคาองคกร (Corporate) ซึ่งประกอบ ไปดวยองคกรธุรกิจขนาดใหญ (Enterprise) องคกรธุรกิจขนาดกลาง (Medium Business) และ 3. ผูบริโภค หรือภาคครัวเรือน (Household) และธุรกิจขนาดเล็ก (Small Office and Home Office: SOHO) ตารางที่ 4-2 มูลคาตลาดอุปกรณสื่อสาร ป 2551 จําแนกตามประเภทการใชงานและกลุมผูใชงาน

Categories

Voice Equip.

Total Operator Corporate Household /SOHO Value Value Value Value Ratio Ratio Ratio Ratio (Mil. (Mil. (Mil. (Mil. (%) (%) (%) (%) Baht) Baht) Baht) Baht)

Telephone Handset Mobile Handset

2,759

100

1,081

39.2

1,559

56.5

119

4.3

57,540

100

805

1.4

8,689

15.1

48,046

83.5

PBX/IP-PBX

6,795

100

4,077

60.0

2,616

38.5

102

1.5

67,094

100

5,964

8.9

12,863

19.2

48,267

71.9

36,935

100

25,596

69.3

10,674

28.9

665

1.8

22,933

100

13,164

57.4

9,242

40.3

527

2.3

59,868

100

38,759

64.7

19,917

33.3

1,192

2.0

126,962

100

44,723

35.6

32,780

25.8

49,459

38.6

Total Voice Equipment Data Wired Line Comm Equip. Wireless Total Data Comm.Equipment

Grand Total

44

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

จากตารางที่ 4-2 พบวา กําลังซื้อของตลาดอุปกรณสื่อสารในภาพรวมสวนใหญมาจากกลุมผูบริโภค และภาคครัวเรือน คิดเปนมูลคาตลาดประมาณ 49,459 ลานบาทหรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 38.6 รองลงมา ไดแก กลุมผูประกอบการโทรคมนาคมคิดเปนมูลคา 44,723 ลานบาท มีสัดสวนรอยละ 35.6 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากป 2550 ที่เดิมมีสัดสวนรอยละ 31.3 ขณะที่กลุมลูกคาองคกรมีสัดสวนเพิ่มขึ้นในป 2551 รอยละ 25.8 จากเดิม รอยละ 23.0 เมื่อพิจารณาลงรายละเอียด พบวา กลุมผูบริโภคเปนกลุมที่มีการใชจายทางดานของอุปกรณสื่อสาร ประเภทเสียงมากที่สุด คิดเปนมูลคา 48,267 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 71.9 โดยอุปกรณที่มีการใช จายมากที่สุด คือ เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ รองลงมา คือ กลุมลูกคาองคกรคิดเปนรอยละ 19.2 หรือมีมูลคา 12,863 ลานบาท ทางดานตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทขอมูล พบวา กลุมที่มีการใชจายสูงที่สุดยังคงเปนกลุม ผูประกอบการโทรคมนาคม (Operator) โดยมีสัดสวนรอยละ 64.7 ของตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทขอมูล ทั้งหมด คิดเปนมูลคาประมาณ 38,759 ลานบาท โดยอุปกรณสื่อสารประเภทขอมูลที่มีการใชจายมากที่สุด ยังคงเปนอุปกรณสื่อสารขอมูลใชสาย ซึ่งเกิดจากการขยายโครงขายการใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงของ ผูใหบริการเปนหลัก กลุมที่ใชจายทางดานอุปกรณสื่อสารประเภทขอมูลสูงรองลงมาจากผูประกอบการ โทรคมนาคม คือ กลุมลูกคาองคกรคิดเปนสัดสวนรอยละ 33.3 หรือมีมูลคา 19,917 ลานบาท โดยอุปกรณ สื่อสารใชสาย (Wired Line) ยังคงเปนอุปกรณที่ถูกซื้อมากที่สุดในกลุมผูใชงานทุกประเภท ทางดานตลาดบริการสื่อสารจําแนกประเภทผูใชบริการแตกตางจากตลาดอุปกรณสื่อสาร กลาวคือ จะจําแนกผูใชบริการออกเปน 1. หนวยงานภาครัฐ (Government) เชน กระทรวง ทบวง กรม และสถานศึกษา ตางๆ เปนตน 2. กลุมลูกคาองคกร (Corporate) ซึ่งประกอบไปดวยองคกรธุรกิจขนาดใหญ (Enterprise) องคกรธุรกิจขนาดกลาง (Medium Business) และ 3. ผูบริโภคหรือภาคครัวเรือน (Household) และธุรกิจ ขนาดเล็ก (Small Office and Home Office: SOHO)

45

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ตารางที่ 4-3 มูลคาตลาดบริการสื่อสารป 2551 จําแนกตามประเภทผูใชงานและกลุมผูใชงาน Total Categories Voice Fixed Line Service Mobile Total Voice Services Traditional Data Data IP Service Comm. Internet Service Access Mobile Non Voice

Ratio Value (Mil. (%) Baht) 27,842 100

Corporate Value Ratio (Mil. (%) Baht) 7,934 28.5

Government Household /SOHO Value Ratio Value (Mil. Ratio (Mil. (%) Baht) (%) Baht) 2,367 8.5 17,541 63.0

163,135 190,977

100 100

21,534 29,469

13.2 15.4

2,447 4,813

1.5 2.5

139,154 156,695

85.3 82.1

9,827

100

6,191

63.0

2,457

25.0

1,179

12.0

16,076

100

11,414

71.0

3,215

20.0

1,447

9.0

19,161

100

7,089

37.0

958

5.0

11,113

58.0

16,213

100

2,837

17.5

162

1.0

13,214

81.5

Total Data Comm. Services

61,277

100

27,532

44.9

6,792

9.5

26,953

44.0

Grand Total

252,254

100

57,001

22.5

11,605

4.7

183,648

72.8

จากตารางที่ 4-3 พบวา ภาพรวมของตลาดบริการสื่อสารสวนใหญถูกขับเคลื่อนจากการใชจายของ ผูบริโภคหรือภาคครัวเรือนโดยเฉพาะบริการสื่อสารประเภทเสียง โดยมูลคาการใชจายรวมของผูบริโภคใน ตลาดบริการสื่อสารมีมูลคา 183,648 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 72.8 โดยบริการที่ใชมากที่สุดใน กลุมผูบริโภค คือ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (รอยละ 85.3) และบริการเสริมไรสาย (รอยละ 81.5) รองลงมา คือ กลุมลูกคาองคกรคิดเปนสัดสวนรอยละ 22.5 หรือคิดเปนมูลคา 57,001 ลานบาท โดยบริการที่ใชมากที่สุดใน กลุมลูกคาองคกร คือ IP Service (รอยละ 71) Traditional Data (รอยละ 63) และ Internet Access (รอยละ 37) กลาวโดยสรุปแลว ตลาดสื่อสารป 2552 มีแนวโนมและทิศทางการเติบโตลดลงจากปที่ผานมา เนื่อง ดวยปจจัยลบจากวิกฤติการเงินโลก ความเชื่อมั่นของนักลงทุนและความเชื่อมั่นของผูบริโภคที่ลดลง แมวา ตลาดสื่อสารจะไดรับผลกระทบไม มากนัก เนื่องจากองคกรธุ รกิจขนาดใหญยังจํา เปน ตองมีการปรับปรุง โครงขายเพื่อรองรับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง รวมถึงยังมีความจําเปนตองลงทุนระบบที่ชวยใหสามารถรองรับ บริการเสริมตางๆ ที่จะมาพรอมกับเทคโนโลยี 3G และ WiMAX ทําใหปจจัยทางดานเทคโนโลยียังคงเปน ปจจัยบวกสําหรับตลาดสื่อสาร นอกจากนั้นยังมีปจจัยบวกจากความตองการใชอินเทอรเน็ตความเร็วสูง ประเภทตางๆ แตอยางไรก็ตาม ตลาดสื่อสารยังคงไดรับผลกระทบจากปจจัยเสี่ยงทางดานการเงินที่ปจจุบัน ตนทุนทางการเงินสูงขึ้นและการระดมทุน ทําไดยากขึ้น รวมถึงความไมมั่นคงทางการเมืองของรัฐบาล ดังนั้น ปจจัยหลักที่จะสงผลกระทบตอตลาดสื่อสาร ทั้งทางดานตลาดอุปกรณและตลาดบริการ คือ การลงทุนระบบ โทรศัพทเคลื่อนที่ 3G และการลงทุนระบบอินเทอรเน็ตบรอดแบรนดไรสายผานระบบ WiMAX ซึ่งหากมีการ 46

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

ลงทุนและสามารถใหบริการไดภายในป 2552 จะกลายเปนปจจัยบวกที่จะกระตุนตลาดสื่อสารใหเติบโตขึ้นได ในภาพรวม โดยเฉพาะยอดขายในตลาดเครื่องลูกขายและอุปกรณอินเทอรเน็ตแบบพกพา (Mobile Internet Devices) ที่สามารถรองรับการใชงานอินเทอรเน็ตไดหลายระบบไมวาจะเปน 3G, WiMAX และ WiFi เชน เครื่องโทรศัพทสมารทโฟน เครื่องโทรศัพทพีดีเอโฟน เครื่องโทรศัพทไอโฟน26 ซึ่งคาดวาจะเปนอุปกรณที่ สรางกระแสใหกับตลาดสื่อสารไดไมนอยในป 2552 นอกจากนั้นยังมีอุปกรณเสริมอื่นๆ เชน Mobile Storage, Bluetooth และ Wireless Aircard เปนตน รวมถึงตลาดอุปกรณโครงขายและสถานีฐานที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้น อีก แตถาหากมีความลาชาหรือตองชะลอออกไป ก็จะกลายเปนปจจัยลบของธุรกิจสื่อสาร รวมถึงธุรกิจไอทีใน ภาพรวม ไมวาจะเปนตลาดฮารดแวร ซอฟตแวร และบริการคอมพิวเตอร ก็จะไดรับผลกระทบเชนเดียวกัน สําหรับเทคโนโลยีสื่อสารอื่นๆ ที่นอกเหนือจากเทคโนโลยีเครือขายแลว เทคโนโลยีที่นาจับตามองใน ป 2552 ไดแก เทคโนโลยีระบบการนํารอง (Navigation) ซึ่งจะทําใหอุปกรณที่รองรับระบบ GPS ไดรับความ นิยมเพิ่มมากขึ้น เทคโนโลยีแบบผนวกรวมระหวางระบบการสื่อสารภายในองคกรเขากับระบบการสื่อสาร เคลื่อนที่ หรือยูนิฟายด คอมมูนิเคชั่น (Unified Communications) ซึ่งเปนผลจากการปฏิรูปทางเทคโนโลยี สื่อสารขอมูล เพื่อสรางระบบโทรคมนาคมที่มีการใหบริการครบวงจรทั้งภาพ เสียง และขอมูล หรือที่เรียกวา Triple Play ใหเปนบริการเดียวกันไมวาจะเปนระบบโทรศัพท อินเทอรเน็ต อีเมล โปรแกรมสนทนา และเอส เอ็มเอสเขาไวดวยกัน บวกกับเทคโนโลยีการเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานสายไฟ หรือ ไฟเบอรทูโฮม ซึ่งคาดวา นาจะเริ่มเขามามีบทบาทมากขึ้นภายใน 2-3 ปขางหนา ทางดานอุปกรณเครือขายที่นาจับตามองในป 2552 ไดแก อุปกรณรักษาความปลอดภัยเครือขาย (Network Security Equipment) อุปกรณสื่อสารไรสาย Multiple SSID และอุปกรณสื่อสารไรสาย WiFi Mesh (Roaming Network Equipment) สําหรับบริการสื่อสารที่นาจะ กระตุนตลาดบริการสื่อสารไดพอสมควร นอกเหนือจากบริการ 3G และ WiMAX แลวยังมีบริการ Video Conference และกลองวงจรปด (CCTV) ซึ่งบริการเหลานี้ จะชวยกระตุนตลาดสื่อสารในภาพรวมได พอสมควรในสภาวะที่ประเทศตองเผชิญกับปญหาเศรษฐกิจชะลอตัวในปจจุบัน

26

การศึกษาวิจัยในปนี้ยังไมนับรวมมูลคาของเครื่องโทรศัพทไอโฟน แตจะนํามาคิดเปนสวนหนึ่งของมูลคาตลาดสื่อสารในปหนา เนื่องจากจะเริ่มมีการใหบริการไอโฟนอยางเปนรูปธรรมในป 2552 ซึ่งอาจตองมีการปรับนิยามและวิธีการนับมูลคาของตลาด เครื่องลูกขายใหมอีกครั้ง เพื่อใหสอดคลองกับเทคโนโลยีและสภาพตลาดที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว 47

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

กรอบ นิยาม และวิธีการสํารวจ

48

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

กรอบ นิยาม 1. ตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวร (Computer Hardware) ขอบเขตการศึกษาตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวร ป 2551 จะแบงผลิตภัณฑที่ศึกษาออกเปน 2 กลุมหลักๆ ดังนี้ 1. กลุมผลิตภัณฑประเภท Systems ประกอบดวย Categories

Model

1.1 Large Scale Systems

IBM Mainframe, IBM Power 590, Tandem, HP Integrity Superdome, SUN FIRE E20K, SUN SPARC Enterprise M9000, Fujitsu Primepower 9000, Fujitsu Primepower M8000 x86 servers; IBM System x3950 M2, HP ProLiant DL785 G5, SUN x4600 M2

1.2 Medium Scale Systems

IBM Power 560, IBM Power 550, HP Integrity rx7640, HP Integrity rx6600, SUN SPARC Enterprise M5000, SUN FIRE E4900, Fujitsu Primepower M5000, Fujitsu Primepower M4000 x86 servers; IBM System x3850 M2, HP ProLiant DL580 G5, DELL PowerEdge R900, SUN x4450

1.3 Small Scale Systems

IBM BladeCenter JS12, IBM BladeCenter JS22, HP Integrity BL870c, HP Integrity rx2660, Sun SPARC Enterprise T6320, Sun Opteron Blade X8450 (Blade Servers), SUN SPARC Enterprise T5240 (Rack Servers) x86 servers; IBM System x3100, HP ProLiant ML110 G5, DELL PowerEdge T100,

1.4 Special Purpose Equipments

Banking System และ POS System

2. กลุม ผลิตภัณฑประเภท Personal Computer & Peripherals ประกอบดวย 2.1 Total PC 2.1.1 Desktop PC 2.1.2 Traditional Notebook เปนเครื่องคอมพิวเตอรขนาดเล็ก ที่สามารถขนยายไดสะดวก โดยปกติ จ ะมีน้ํ า หนัก ประมาณ 1-3 กก. การทํ า งานของโนต บุ ค จะใชพ ลัง งานจาก 49

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

แบตเตอรี่ ในขณะเดี ย วกั น ก็ ส ามารถใช พ ลั ง งานได โ ดยตรงโดยการเสี ย บปลั๊ ก ไฟ ประสิทธิภาพของโนตบุคโดยทั่วไปจะพอๆ กับคอมพิวเตอรตั้งโตะแบบปกติ ในขณะที่ ราคาจะสูงกวา โดยสวนที่จะแตกตางกับคอมพิวเตอรทั่วไป คือ จอภาพจะเปนลักษณะ จอแอลซีดี และจะมีทัชแพดที่ใชสําหรับควบคุมการทํางานของลูกศรบริเวณหนาจอ27 2.1.3 Mini Notebook หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา เน็ตบุค นั้น จะมีขนาดที่เล็กกวาโนตบุค มี น้ําหนักที่เบามาก อาจหนักไมเกิน 1 กิโลกรัม มีหนาจอขนาดเล็ก (7-10 นิ้ว) มีการ เชื่อมตอแบบไรสาย แตไมมีชองสําหรับใสซีดี และมีแปนพิมพที่คอนขางเล็ก อุปกรณ สํ า หรั บ เก็ บ ข อ มู ล ภายในเครื่ อ งมี ก ารใช ทั้ ง แบบฮาร ด ดิ ส ก แ ละ solid-state drives เน็ตบุคโดยทั่วไปถูกออกแบบมาเพื่อการใชงานที่อาศัยอินเทอรเน็ตเปนพื้นฐาน เชน การอานเว็บ หรือการใชอีเมล28 2.2 Monitor (หมายถึง จอภาพที่ขายแยกตางหาก โดยไมนับรวม จอภาพที่ขายควบไปกับ เครื่อง PC) แบงออกเปน 2.2.1 CRT 2.2.2 LCD 2.3 Printer แบงเปน 3 ประเภทหลักๆ ไดแก 2.3.1 Dot Matrix 2.3.2 Inkjet Printer แบงออกเปนเครื่องพิมพแบบ Single Inkjet และ All-in-one Inkjet 2.3.3 Laser Printer แบงออกเปนเครื่องพิมพแบบ Single Laser และ All-in-one Laser 2.4 External Data Storage แบงออกเปน 2.4.1 External Harddisk 2.4.2 Enterprise Storage 2.4.2.1 Entry Level: Storage for Small Scale Systems 2.4.2.2 Hi-End Level: Storage for Medium–Large Scale Systems 2.5 Other Peripherals แบงออกเปน 2.5.1 Scanner 2.5.2 Digital Camera (ประกอบดวยกลองดิจิทัลคอมแพคและกลองดิจิทัล SLR) 2.5.3 PDA (ไมนับรวม PDA Phone เนื่องจากมูลคาผลิตภัณฑดังกลาวจะอยูในผลการศึกษา ของตลาดสื่อสาร)

27 28

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, http://th.wikipedia.org, สืบคนเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2552. จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, http://th.wikipedia.org, สืบคนเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2552. 50

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

2. ตลาดคอมพิวเตอรซอฟตแวร (Computer Software) ซอฟตแวร (Software) หมายถึง กลุมของโปรแกรมชุดคําสั่งที่ใชสั่งงานใหคอมพิวเตอรทํางาน หรือ ประมวลผลอยางใดอยางหนึ่งได ในงานศึกษานี้ แบงซอฟตแวรใน 2 มิติ ไดแก 1. การแบงซอฟตแวรตามประเภทซอฟตแวรหลัก โดยแบงออกเปน 4 ประเภท ไดแก • Enterprise Software: คือ ซอฟตแวรชวยในการบริหารจัดการทั่วไป หรือทํางานเพื่อแกปญหา/ จัดการทรั พยากรของบุคคล/องคกร ลักษณะของซอฟตแวรจะแบงออกเปนอีก 2 กลุม ตาม รูปแบบการสงมอบ ไดแก (1) Package Software หมายถึง ซอฟตแวรที่มีการขาย ใหเชา หรือ ใหบริการ โดยคิดคาบริการเปน transaction หรือ license และ (2) Software Development หมายถึง การออกแบบและพัฒนาซอฟตแวร เพื่อใชงานเฉพาะกับงานประเภทตางๆ ทั้งนี้ ซอฟตแวรในกลุมนี้จะไมรวมถึงการพัฒนาหรือปรับปรุงซอฟตแวรที่ใชภายในแตละองคกรเอง (In-house Development) • Mobile Application: ซอฟตแวรสําหรับอุปกรณพกพาขนาดเล็ก (เชน โทรศัพทมือถือ PDA ) โดยสามารถแบงเปนกลุมใหญๆ ได 2 กลุม คือ (1) ซอฟตแวรเพื่อสนับสนุนธุรกรรมทางธุรกิจ (Business Application) ทั้งนี้ปจจุบันหลาย Application มีความใกลเคียงกับ Enterprise Software คือ สามารถนํามาใชในการบริหารจัดการทรัพยากร หรือสนับสุนนการทําตลาดของ องคกรได (2) ซอฟตแวรที่เกี่ยวของกับนันทนาการและบันเทิง (Entertainment Application) ซึ่ง รวมเกมบนมือถือ • Embedded Software: ซอฟตแวรซึ่งนําไปฝงตัวไวในอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ เพื่อใช สําหรับควบคุมการทํางาน ซึ่ง ในนิย ามของการสํา รวจ จะไมนับ รวมซอฟตแ วรที่อ ยูใ น อุป กรณสื่อสารขนาดเล็ก เชน มือถือ เนื่องจากนําไปรวมในกลุม Mobile Application แลว • อื่นๆ ที่ไมไดระบุไวขางตน เชน เกมอื่นๆ ที่ไมไดอยูบนมือถือ (ไมนับรวมเกมออนไลน) CAD/CAM ซอฟตแวรเพื่อการศึกษา เปนตน 2. มิติตามผูใชงาน ประกอบดวย ภาครัฐ เอกชน และครัวเรือน ซึ่งในกลุมครัวเรือนนี้ จะรวมธุรกิจ ครัวเรือนขนาดเล็ก (SOHO: Small Office and Home Office) ดวย หมายเหตุ: ในขอบเขตของตลาดซอฟตแวรนี้ไมรวม (1) การผลิต Animation และ Digital Content ซึ่งมี ความหมายกวางกวาเรื่องซอฟตแวรมาก (2) Game Online (3) มูลคาการบริการดานคอมพิวเตอรที่เกี่ยวของกับ ซอฟตแวร เชน System Integration (เฉพาะสวนบริการ) Software Maintenance ซึ่งปจจุบันการ ขายซอฟตแวรใน โครงการขนาดใหญ/ซอฟตแวรสําหรับหนวยงาน จะมีการใหบริการแบบเปนระบบและมีการคิดรวมการบริการไวดวย ซึ่งในงานศึกษานี้ไดแยกสวนการบริการไวในตลาดการบริการดานคอมพิวเตอรตางหาก

51

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

3. ตลาดบริการดานคอมพิวเตอร (Computer Services) การสํารวจมูลคาตลาดบริการดานคอมพิวเตอร (Computer services) ในป 2551 ใชกรอบการจัดเก็บ ขอมูล/นิยามเดียวกันกับการจัดเก็บในป 2550 โดยมีการปรับหมวดหมูของนิยามเล็กนอย ไดแก การรวมหมวด System Integration: SI และ หมวด Network Services เขาไวดวยกัน ในปนี้ ตลาดบริการดานคอมพิวเตอร (Computer Services) จึงประกอบดวยประเภทบริการ 7 กลุมหลัก คือ 1. System Integration: SI & Network Services (บริการการออกแบบเหมารวมระบบครบวงจรและ บริการดานเครือขาย) รวมบริการดังนี้ • System Integration: SI (บริการการออกแบบเหมารวมระบบครบวงจร) รวมกิจกรรมที่เปน สวนหนึ่งของการเชื่อมตอระบบ อาทิ Planning, Design, Implementation, Maintenance แต ไมรวม งาน Outsourcing • Network Services (บริการดานเครือขาย) เปนการใหบริการสราง ออกแบบและวางระบบ Network ไมวาจะเปน LAN หรือ wireless ซึ่งเปนการสรางเครือขายภายในองคกรทั้งภายใน และภายนอกอาคาร เชน จางใหวางระบบ network ระหวางสาขาเชียงใหมกับ กทม. เปนตน 2. Software and Data Maintenance Services (บริการดูแลบํารุงรักษาซอฟตแวรและฐานขอมูล) เปนการใหบริการขอมูล รวม Data Entry และบริการที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาระบบฐานขอมูล แตไมนับรวม บริการออกแบบดวยระบบคอมพิวเตอร (Computer - Aided Design: CAD), ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System: GIS), บริการแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (Electronic Data Interchange: EDI), พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-Commerce), โฆษณาบนเว็บไซต, การประมวลผลเครื่องถอนเงิน สดอัตโนมัติ (ATM) และการใหบริการของบริษัทที่ขาย GPS (Global Positioning System) 3. Hardware Maintenance Services (บริการดูแลรักษาคอมพิวเตอรและการซอมบํารุง) รวม Preventive และ Proactive Maintenance ของอุปกรณฮารดแวร ตางๆ เชน พวก Infrastructure Hardware ทั้ง Server, System เปนตน แตไมนับรวม การเชาเครื่องคอมพิวเตอร และตนทุนเครื่องคอมพิวเตอร (ที่นํามา ใหบริการเชา) คาดอกเบี้ย และตนทุนของสถาบันการเงินที่เปนผูใหบริการธุรกรรมทางการเงินที่เกี่ยวของ 4. Data Center and Disaster Recovery Center คือ การใหบริการดาน Infrastructure กับ Facilities ในการทํา operation service ที่เกิดขึ้นภายในศูนยขอมูล ให run ได 24 ชั่วโมง * 7 วัน ซึ่งบริการนี้จะประหยัด resource และมีความปลอดภัยสูง โดยการใหบริการทาง Data Center และ Data Disaster Recovery Center รวมการบริการดังนี้ • Web Hosting/Mail Hosting คือ บริการกิจกรรมดานเว็บโฮสตติ้ง/บริการกิจกรรมดานเมล โฮสตติ้ง ซึ่งนับรวม Web Hosting/Mail Hosting ที่ตั้งอยูใน Data Center และ Web Hosting/Mail Hosting ที่ตั้งอยูภายนอก Data Center ทั้งนี้การบริการในกลุม Web Hosting/Mail Hosting ไมนับรวม Web design & Programming และรานอินเทอรเน็ตและ เกม 52

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

• Data Warehouse Hosting เชน o Co-Location Services เปนบริการเชาพื้นที่วาง server หรือ บริการรับฝากเครื่อง server และอุปกรณ ICT ตางๆ o Dedicated Server Service เปนบริการจัดหาเครื่อง server ใหเชาตามคุณสมบัติที่ ลูกคาตองการ • Disaster Recovery Services เปนระบบที่ใหบริการสํารองและกูขอมูลซึ่งนับรวม Disaster Recovery Services ที่ตั้งอยูใน Data Center และ Disaster Recovery Services ที่ตั้งอยู ภายนอก Data Center 5. IT related Training & Education (บริการดานฝกอบรมและใหความรูดานคอมพิวเตอร) รวม หนวยฝกอบรมขององคกรที่มีการเปดหลักสูตรอยางตอเนื่อง รวมถึงการฝกอบรมหรือใหความรูที่เกี่ยวของกับ Hardware และ Software แตไมนับรวม การฝกอบรมในสถานศึกษา ไดแก สถาบันอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา และโรงเรียน รวมทั้งรายบุคคล 6. IT Consulting (บริการใหคําปรึกษา) รับเปนที่ปรึกษาและใหคําแนะนําเกี่ยวกับ IT รวมถึง IT Strategy 7. IT Outsourcing เปนบริการที่รับจางหนวยงานภายนอกใหเขามาบริหารจัดการและปฏิบัติการ บางสวน หรือบริหารดาน IT ขององคกรทั้งหมด โดยมีระดับการบริการ คาธรรมเนียม และระยะเวลาที่ตกลงกัน ไว (Service Level Agreement) ซึ่งรวมการบริการดังนี้ • การบริการ Outsourcing แบบครบวงจร (Enterprise-Wide) ซึ่งจะเกิดขึ้นไดกับองคกรขนาด ใหญเทานั้น โดยลักษณะของการบริการประเภทนี้ จะเปนการรวมเอาบริการ outsourcing หลายๆ แบบที่อยูในแผนกของ IT เขามาบริหารจัดการในรูปแบบเดียวกัน ภายใตการบริการ ของ IT Provider โดย IT Service Provider หรือ Outsourcer จะเขามา takeover แผนก IT ขององคกรทั้งหมด เชน บริษัท IBM ที่ทํา IT Outsourcing ใหกับธนาคารกสิกรไทย • Network and Desktop Management เปนการจัดการ network และเครื่องคอมพิวเตอรใน องคกร ใหสามารถปฏิบัติการไดอยางมีประสิทธิภาพและไมเกิดปญหาขึ้นมา โดยอาจจะตอง monitor resource ที่มีอยู และวางแผนในอนาคตวาตองเพิ่มอะไรเขาไปเพื่อใหประสิทธิภาพดี ขึ้น ซึ่งบริการในกลุมนี้ จะรวมการใหเชาเครื่องคอมพิวเตอร • Application Management (การบริการจัดการดาน Application) โดยมี SLA (Service Level Agreement) เขามาควบคุม

53

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

4. ตลาดสื่อสาร (Communications) ในการจัดทํามูลคาตลาดสื่อสาร ป 2551 นั้น แบงหมวดหมูตลาดสื่อสารออกเปน 2 ประเภทหลักๆ คือ ตลาด อุปกรณและตลาดบริการ มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ตลาดอุปกรณสื่อสาร (Communication Equipments) หมายถึง ตลาดที่จําหนายอุปกรณการสื่อสาร เพื่อรองรับการสื่อสารทั้งแบบที่ใชสายและแบบไรสาย โดยยังแบงยอยออกเปน 2 ตลาด ดังตอไปนี้ 1.1 ตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทเสียง (Voice Communication Equipments) ประกอบดวย ผลิตภัณฑตางๆ ดังนี้ 1.1.1 โทรศัพทพื้นฐาน (Telephone Handset) ประกอบดวย Traditional Handset, IP Phone และ Fax29 1.1.2 โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Handset) ประกอบดวย Traditional Mobile Handset, Smart Phone และ PDA Phone (Personal Digital Assistant Phone) 1.1.3 ตูชุมสายโทรศัพท (PBX/PABX) ประกอบดวย Traditional PBX/PABX และ IPPBX เชน DVC และ DSLAM (Digital Subscriber Line Access Multiplexer) 1.2 ตลาดอุปกรณสื่อสารประเภทขอมูล (Data Communication Equipments) ครอบคลุม ผลิตภัณฑตางๆ ดังนี้ 1.2.1 Wired Line หรือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขาดวยกันเปนเครือขายในพื้นที่ที่ ใกลเคียงกัน โดยอุปกรณหลักที่เกี่ยวของ ไดแก Hub, Multiplexer, Concentrator, MSCG (Multi Service Control Gateway), DXC (Digital Cross Connect), Switch, Router, NIC, Modem, Fiber Optic, สายโทรศัพท Cable, Wired LAN และ Coaxial เปนตน 1.2.2 Wireless LAN หรือ ระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรดวยคลื่นวิทยุ โดยอุปกรณหลัก ที่เกี่ยวของ ไดแก DWDM (Dense Wavelength Division Multiplexing), SDH Equipment (Synchronous Digital Hierarchy Equipment), BTS (Base Station Transceiver), MSC (Mobile Switching Center), GGSN (Gateway GPRS Support Node), Access Card, Access Point, Wireless Router, Wireless LAN, IP Core Networks, TDM Switching (Time Division Multiplexer Switching), MPLS (Multiprotocol Label Switching) เปนตน 2. ตลาดบริการสื่อสาร (Communication Services) หมายถึง ตลาดผูใหบริการสื่อสารทั้งแบบใชสายและ แบบไรสาย แบงออกเปน 2 ตลาด คือ ตลาดบริการสื่อสารประเภทเสียง (Voice Communication Services) และตลาดบริการสื่อสารประเภทขอมูล (Data Communication Services) โดยมีรายละเอียด ของแตละตลาดดังนี้

29

ไมรวม Fax ที่อยูในเครื่อง All in One Printer ซึ่งถูกรวมไวในตลาดคอมพิวเตอรฮารดแวร 54

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

2.1 ตลาดบริการสื่อสารประเภทเสียง (Voice Services) ครอบคลุมบริการตางๆ ดังนี้ 2.1.1 Fixed Line Voice หรือ การใหบริการโทรศัพทใชสาย ประกอบดวย การใหบริการ โทรศัพทภายในพื้นที่เดียวกันและทางไกลภายในประเทศและตางประเทศ (ผาน ดาวเทียมหรือสายเคเบิล) นอกจากนั้น ยังรวมถึงโทรศัพทสาธารณะ (Public Payphone) 2.1.2 Mobile Voice หรือการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งการใหบริการภายในประเทศ และการให บ ริ ก ารโทรศั พ ท ร ะหว า งประเทศ ซึ่ ง ประกอบด ว ยบริ ก ารแบบชํ า ระ คาบริการลวงหนา (Prepaid) และบริการแบบชําระคาบริการหลังการใช (Postpaid) ทั้งนี้ ไมรวม การบริการเสริมไรสาย หรือ Mobile Non Voice 2.2 ตลาดบริการสื่อสารประเภทขอมูล (Data Communication Services) ครอบคลุมบริการตางๆ ดังนี้ 2.2.1 Traditional Data ประกอบดวย Leased Circuit, ATM (Asynchronous Transfer Mode), SDH (Synchronous Digital Hierarchy), International Internet Gateway (IIG) และ DARK Fiber 2.2.2 IP Service ประกอบดวย IP - VPN (Internet Protocol-Virtual Private Networks) และ VoIP (Voice over Internet Protocol) IP - VAS (Internet Protocol - Value Added Services) 2.2.3 Internet Access ประกอบดวย xDSL, Cable Modem, FWA (Fixed Wireless Access), Metro Ethernet และ Wireless LAN 2.2.4 Mobile Non Voice ประกอบดวย GPRS, SMS/MMS/EMS, IVR, Content and Data Transmission เชน โลโก ริงโทน ริงแบ็คโทน วอลเป-เปอร และเกมมือถือ เปนตน

55

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

วิธีการสํารวจ การจัดเก็บขอมูลสําหรับการสํารวจตลาดปนี้ ดําเนินการระหวางเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน 2551 โดย เก็บขอมูลจากฝงผูขายเพื่อนํามาสะทอนถึงการใชจายดาน ICT ของผูซื้อในประเทศ โดยทําการจัดเก็บขอมูลจาก ผูประกอบการรายหลักของตลาด (Key Player) ซึ่งผูประกอบการกลุมนี้ หมายถึง ผูประกอบการที่มีความสําคัญ ตอ ตลาดในแตล ะประเภทผลิต ภัณ ฑ แ ละบริ ก าร ทั้ งในแงข องส ว นแบง ตลาด รายได ข องบริ ษัท รวมถึ งการ เคลื่อนไหวที่สงผลตอความเคลื่อนไหวของตลาด วิธีการสํารวจตลาด สรุปโดยยอไดดังนี้ 1.ระบุผูประกอบการรายหลักของแตละตลาด 2.จัดเก็บขอมูลจากผูประกอบการรายหลักของตลาดโดยวิธีการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) จํานวนผูประกอบการหลักที่ทําการสัมภาษณ สรุปไดดังตาราง A ตาราง A : จํานวน Key Player ที่ทําการสัมภาษณในแตละตลาด ตลาด

จํานวน (ราย)

Computer Hardware

28

Computer Software

22 *

Computer Services

22 **

Communications

30 รวม

102***

สําหรับตลาดคอมพิวเตอรซอฟตแวรนั้น ยังใชขอมูลจากฐานขอมูลผลการสํารวจผูป ระกอบการใน อุตสาหกรรมซอฟตแวรเมื่อป 2550 ที่ผานการปรับปรุงแลว จํานวนทั้งสิ้น 400 ราย มาประกอบการประเมิน มูลคาตลาดดวย และในตลาดบริการดานคอมพิวเตอร ยังมีการสํารวจดวยแบบสอบถามจากผูประกอบการ จํานวน 52 ราย นอกจากนี้ในการศึกษาครั้งนี้ยังใชขอมูลทุติยภูมิจากแหลงตางๆ ไดแก ขาวสาร รายงานประจําป รายงานผลประกอบการประจําปจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ขอมูลงบการเงินจากกรมพัฒนาธุรกิจ การคา เปนตน 3.นําขอมูลในแตละตลาดมาประมวลผลดวยวิธีการทางสถิติ เชน การหาคาเฉลี่ย การหาคาเฉลี่ยแบบ ถวงน้ําหนัก และประเมินกลับเปนมูลคาตลาดในภาพรวม 4.ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกับกลุมผูเชี่ยวชาญในแตละอุตสาหกรรม ดวยการจัดประชุม Focus Group โดยจัดแยกรายตลาด จํานวนทั้งสิ้น 4 ครั้ง ในเดือนธันวาคม 2551 และมกราคม 2552 ตามลําดับ 56

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1.

ดร.รุงเรือง ลิ้มชูปกรณ

ผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน)

2.

ดร.พันธศักดิ์ ศิริรัชตพงษ

ผูอํานวยการศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร แหงชาติ

3.

คุณจํารัส สวางสมุทร

ประธานที่ปรึกษาสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย

4.

คุณมนู อรดีดลเชษฐ

นายกกิตติมศักดิ์สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย

5.

คุณบุญรักษ สรัคคานนท

นายกสมาคมสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย

6.

คุณศุภชัย สัจจไพบูลยกิจ

ตัวแทนสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย

7.

คุณสมบัติ อนันตรัมพร

นายกสมาคมเคเบิ้ลลิ่งไทย

8.

คุณสมเกียรติ อึงอารีย

นายกสมาคมอุตสาหกรรมซอฟตแวรไทย

9.

คุณเฉลิมพล ปุณโณทก

นายกสมาคมสงเสริมการสงออกอุตสาหกรรมซอฟตแวรไทย

10. ดร.อภิเนตร อุนากูล

นายกสมาคมสมองกลฝงตัวไทย

11. คุณสุวิภา วรรณสาธพ

ผูอํานวยการเขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย

12. ดร.ชฏามาศ ธุวะเศรษฐกุล

รองผูอํานวยการศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร แหงชาติ

13. ดร.กษิติธร ภูภราดัย

ผูอํานวยการฝายวิจัยกลยุทธและดัชนีอุตสาหกรรม ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

57

สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2551 และประมาณการป 2552

รายนามคณะวิจัย 1. ดร.อรฉัตร เลียงพิบูลย

หัวหนาโครงการ

2. คุณจิราพร ตั้งพูลเจริญ

นักวิจัย

3. คุณสิรินทร ไชยศักดา

นักวิจัย

4. คุณสุมาวสี ศาลาสุข

นักวิจัย

5. คุณปณิตา ล่ําซํา

นักวิจัย

6. คุณปญชลี พึ่งพิศ

นักวิจัย

7. คุณนนทวัฒน มะกรูดอินทร

นักวิจัย

8. คุณพรรณี พนิตประชา

นักวิจัย

9. คุณวิภาภรณ บุตรเมฆ

นักวิจัย

10. คุณวันวิสาข ศรีคราม

ผูประสานงาน

58

Related Documents

Final Mkt Strat
May 2020 7
Svcs Mkt Final Project
December 2019 4
Final De Mkt 100%.
June 2020 8
Mkt
June 2020 26