Dpu Place

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Dpu Place as PDF for free.

More details

  • Words: 3,099
  • Pages: 18
Small in size, DPU Place is big at heart, providing a range of services normally found in four-star hotels. The entire place is fully air-conditioned. The hotel has 22 twinrooms, two suites and a very large room specially equipped to meet the training needs of students majoring in Hotel and Tourism at Dhurakij Pundit University. Guest rooms are spacious and tastefully furnished and supplied with cable TV. Room Rate

Day Use Room Rate Room Type No ABF

6.00-18.00 น.

ABF

Monthly Rate ลด 30 %

ลด 40 %

ABF

ABF

Extra Bed

No ABF

AB F

450

550

Standard

1,30 1,200 0

825

Regency Suite

2,64 2,540 0

1,650

47,520

450

550

Presidential Suite (connecting room)

3,630

3,85 0

2,750

69,300

450

550

Deluxe

1,430

1,59 5

990

29,700

450

550

Dormitory( 5 beds)

3,30 2,970 0

2,200

59,400

450

550

หมายเหตุ

23,100

1. Day Use คือ อัตราเข้าพักเฉพาะกลางวันระหว่างเวลา 06.00 น. - 18.00 น. โดยพักไม่เกิน 6 ชัว ่ โมง 2. เด็กอายุต่ ากว่า 5 ขวบ ทีเ่ ข้าพักกับครอบครัว โรงแรมไม่คิดค่าใช้จ่าย 3. อัตราห้องพักอาจเปลีย ่ นแปลงโดยไม่ได้แจ้งล่วงหน้า 4. ห้ามสูบบุหรีภ ่ ายในโรงแรมและห้องพัก

บริการที่เกี่ยวเนื่ องกับการจัดประชุม / อบรม/ สัมมนา และการจัดงานเลี้ยง เช่น ห้องประชุม อาหารว่าง อาหารและเครื่องดื่ม 1. บริการอาหารและเครื่องดื่มกลางวันสำาหรับผ้้บริหาร

2. สนับสนุนการเรียนการสอนของภาควิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรมทั้ง

ด้านสถานที่ห้องปฏิบัตก ิ ารและบุคลากร

3. บริการห้องพักเพื่ออำานวยความสะดวกและสนับสนุนการจัดโครงการ /

กิจกรรม ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย รวมถึง ผ้้ปกครอง ศิษย์เก่า บุคลากร และนักศึกษาของมหาวิทยาลัย

4. สนับสนุนด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีให้แก่

มหาวิทยาลัย เช่น การเยี่ยมชม ด้งาน ของนักศึกษาต่างสถาบันและหน่วย งานทั้งภาครัฐและเอกชน

เงื่อนไขการบริการ •

การขอใช้บริการงานประชุมและจัดเลี้ยง (FM33.1-1) ○ ○ ○



เงื่อนไขการจองห้องประชุม

เงื่อนไขและอัตราห้องประชุม/ห้องพัก (ภายใน) เงื่อนไขในการใช้สถานที่

ห้องอาหาร ดีพียู คาเฟ่ ○ ○

อาหารเช้า แบบอเมริกัน 100.- บาท/ ท่าน เปิ ดบริการเวลา 07.30 น. - 10.00 น. วันจันทร์ - วันเสาร์ อาหารกลางวัน ให้บริการอาหารไทย ยุโรป จีน รสเลิศในราคา มิตรภาพ เปิ ดบริการเวลา 11.00 น. - 14.30 น.

If you enjoy eating good food in a clean, pleasant environment and seek the comforts of home, then DPU Place in the place to be.



Internet Room



Fitness Center



Postel Service



Tennis Courts



Laundry Service



Sauna



Parking Lot



Outdoor Swimming Pool

At the DPU Place Hotel, we have a dedicated team of Catering and Event Specialists to ensure the successful planning and execution of your event. We cater to every type of indoor or outdoor function. You have a choice of function rooms with various capacities, each adequately furnished with a selection of presentation and audio/visual equipment. Ample discussion areas are also provided adjacent to the function rooms to offer delegates a private and conducive environment for breakout sessions.

transportations •

15 minutes from the airport.



15 minutes from the railway system to the provinces.



20 minutes from the new sky train system into the inner

Location

DPU Place is a boutique hotel set within the compound of Dhurakij Pundit University surrounded by manicured gardens and lovely ponds. Only 15 minutes away from Donmeaung Airport and about 45 minutes away from Suwannabhumi International Airport and downtown Bangkok. อุปสรรค

ปั ญหาจากเซอร์วิสอพาทเมนท์ ซึ่งในปั จจุบันมีเซอร์วิสอพาทเมนท์หลาย แห่งทำาธุรกิจ

แข่งขันกับโรงแรม ถึงแม้ว่าจะมีพรบ. โรงแรมเข้าควบคุมแล้ว แต่ในทาง ปฏิบัติแล้วก็ไม่สามารถเข้า

ควบคุมได้เต็มที่ ยังมีการแอบขายห้องเป็ นรายวันหรือตำ่ากว่า 30 วันอย่่ ทำาให้ธุรกิจโรงแรมที่มีอัตราเข้า

พักของล่กค้าน้อยอย่่แล้วจะถ่กเซอร์วิสอพาทเมนท์ดึงแย่งล่กค้าไปอีกส่วน หนึ่ ง จุดอ่อน

ซึ่งจะมีเพียงล่กค้าเฉพาะกลุ่มเท่านั้ นที่เลือกเข้า มาใช้บริการ

Having a strong brand can really differentiate your business in your market เจ้าของธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดเล็ก ต้องเข้าใจว่า การมีแบรนด์ท่ีเข้ม แข็ง จะสร้างความแตกต่างของธุรกิจในตลาดที่เขากำาลังแข่งขันอย่้

แบรนด์ คือ อะไร คนส่วนใหญ่มักมองว่า แบรนด์ คือ ตราสินค้าของบริษท ั ฯ และ คิดว่า บริษท ั ฯใหญ่เท่านั้นจึงจะทำาแบรนด์ได้ เช่น โค๊ก เป็ นต้น ความเชื่อแบบนี้ เป็ นสิ่งที่ผิด เพราะธุรกิจขนาดเล็ก สามารถสร้าง แบรนด์ ได้เช่นกัน และไม่ ต้องใช้เงินมากมายมหาศาลอย่างที่คิด แบรนด์ มิใช่ตราสินค้าเท่านั้น แต่เป็ นการสร้างจินตนาการและ สื่อความคิดให้เกิดในความทรงจำาของล้กค้า ผ่านกระบวนการสื่อสารทุกร้ป แบบ ที่ให้ล้กค้าได้เห็น สัมผัสผ่านโสตประสาททุกส่วน และกระต้น ุ อารมณ์ ของผ้้ซ้ ือให้เกิดความอยากที่จะจดจำา ภพลักษณ์ของตัวสินค้า ข้อความที่ เรียกร้องความสนใจ และชื่อของบริษท ั ดังนั้นในการสร้างแบรนด์ จำาเป็ น ต้องมีกลยุทธ 4 ประการ คือ 1. กลยุทธประการแรก คือ ร้เ้ ขา ต้องรู้ว่า ใคร คือ ลูกค้า ที่ต้องการสื่อ ด้วย กล่ม ุ เป้ าหมาย อย่้ท่ีใด ผ่านการทำาการสำารวจตลาด ศึกษาข้อม้ลทั้ง ด้านกายภาพ และรายละเอียดของสินค้า ตัวเลขสถิติจากแหล่ง ต่าง ๆ ประกอบการศึกษาเพื่อจัดทำา แผนการตลาด 2. กลยุทธประการที่ 2 คือ รู้เรา หรือ การวิเคราะห์ตนเอง หรือ ธุรกิจที่ ต้องการสร้างแบรนด์ผ่านกระบวนการ SWOT analysis เพื่อหา จุดแข็ง อาทิ ความสามารถหลักของธุรกิจ Core competency จุดอ่อน โอกาส และ อุปสรรค ของ ตัวธุรกิจ และสินค้า 3. กลยุทธประการที่ 3 คือ 3 F ประกอบด้วย Feature ร้ปลักษณ์ Function การใช้งาน Fashion ร้ปแบบที่น่าสนใจ เพื่อนำาเสนอ จุดเด่น ในการเสนอขาย Unique Selling Point เพื่อสร้างความแตกต่าง จาก สินค้าหรือบริการอื่น ๆ ในตลาดเดียวกัน 4. กลยุทธประการที่ 4 คือ มุมมองของล้กค้า (Outside in perspective) เช่น ความน่ าเชื่อถือ ขายของแพง ขายของถ้ก บริการดี ซื่อสัตย์ ได้รับ ความไว้วางใจ เป็ นต้น และแนวคิด 4 P vs 4 C : Product = Customer’s need Price = Cost Place = Convenience Promotion = Communication สร้างแผนการตลาดที่อาศัยข้อม้ลและข้อเท็จจริงที่ปรากฏให้ตรงกับ ประเภทธุรกิจ และศึกษาตัวสินค้าหรือบริการ เพื่อพิจารณาว่า “สินค้า หรือบริการของธุรกิจนี้ เป็นทีต ่ ้องการของลูกค้าหรือไม่” หรือ“ ธุรกิจนี้ ก่าลังเสนอขายสินค้า หรือ บริการ ทีล ่ ูกค้าไม่ต้องการ หรือ ซื้อจากทีใ ่ ดก็ได้” หากพบว่าเป็ น ข้อแรกเริ่มดำาเนิ นการต่อ โดยการ แสวงหาจุดต่าง เพื่อ กำาหนดเป็ น เอกลักษณ์ในการนำาเสนอ และกำาหนด ตำาแหน่ งทางการตลาด หากพบว่าเป็ นประการที่สอง ต้องเสนอแนะให้มี การปรับปรุงร้ปแบบ ภาพลักษณ์ ตลอดจากการสร้าง เอกลักษณ์สินค้าให้ เป็ นที่ประจักษ์และเด่นชัด จึงจะเหมาะสมที่จะเข้าส่้กระบวนการสร้าง แบรนด์

คุณภาพและมาตรฐาน ปั จจัยส่าคัญในการสร้าง แบรนด์ คุณภาพ Quality ของ สินค้าเป็ น องค์ประกอบที่สำาคัญของความสำาเร็จ ในการสร้างแบรนด์ เพราะสินค้า ที่ได้รบ ั การสร้างแบรนด์จนโด่งดัง และ เป็ นที่นิยมของล้กค้า อาจล่มสลายได้ในชั่วพริบตา หากไม่สามารถรักษา คุณภาพของสินค้า หรือ สงวนเอกลักษณ์ของความแตกต่าง อาทิ เช่น ขนมปั ง โรตีบอย ที่โด่งดังมากในปี พ.ศ. 2549 แต่ในเวลาเพียงไม่ถึง 1 ปี แบรนด์ของ โรตีบอย เริ่มล่มสลายและประชาชนเสื่อมความนิ ยม เพราะไม่ สามารถสงวนความแตกต่างของสินค้าไว้ได้ เนื่ องจาก ค่้แข่งสามารถลอก เลียนแบบได้ง่าย และเข้าส่้ตลาดได้ง่าย เกิดการแข่งขันด้านราคา มีการ ลดคุณภาพสินค้าเพื่อลดต้นทุน นำาไปส่้ความเสื่อมของแบรนด์ การ พิจารณาเงื่อนไขคุณภาพ สามารถตรวจสอบได้จากการที่สถานประกอบ การมีใบรับรองมาตรฐาน ISO 9001 -2000GMP HACCP ฯลฯ มาตรฐานการบริการ (Standard Operating Procedures) สำาหรับธุรกิจบริการ คุณภาพการบริการ ต้องมีเกณฑ์ หรือ ตัวชี้วัดใน เรื่อง มาตรฐานการบริการ ซึ่งธุรกิจบริการทุกประเภทจำาเป็ นต้องมีคม ่้ ือ การทำางาน หรือ ค่้มือการให้บริการสำาหรับพนักงานได้ปฎิบัตต ิ ามอย่างมี แบบแผน และรักษาะระดับมาตรฐานให้ได้ทุกครั้งที่ให้บริการแก่ล้กค้า การ พิจารณาความพร้อมของธุรกิจบริการในการสร้างแบรนด์ คือ การตรวจ สอบว่า สถานประกอบการมี ค่ม ้ ือการให้บริการ หรือไม่ หรือ ค่ม ้ ือที่มีอย่้ได้ มาตรฐาน และ เป็ นที่ยอมรับหรือไม่ หากมีอย่้พนักงานได้ปฎิบัติตาม แนวทางที่กำาหนดหรือไม่ สำาหรับธุรกิจบริการที่ยังไม่ได้จัดทำาค่ม ้ ือการให้ บริการต้องเริ่มจากการพิจารณาความพรอ้มของเจ้าของธุรกิจในการจัดทำา ค่้มือ และ ความพร้อมของพนักงานในการปฎิบัตต ิ ามแนวทางที่กำาหนด ประสานความคิด สร้างจิตส่านึ กส่าหรับทุกคนในองค์กร ในการสร้าง แบรนด์ เจ้าของธุรกิจ ต้องประสานความร่วมมือจากพนักงาน ในองค์กรเพื่อให้มีความเข้าใจ และคุณประโยชน์ท่ี ธุรกิจจะได้รับ และม้ลค่า ทางการเงินของ แบรนด์ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เมื่อ แบรนด์ท่ีสร้างขึ้นได้รบ ั การยอมรับและเป็ นที่ร้จักแพร่หลายในกลุ่มล้กค้าและประชาชนโดยทั่วไป การสร้าง แบรนด์เป็ นการบ้รณาการของ ภาพลักษณ์ของธุรกิจที่เป็ นอย่้ใน ปั จจุบัน ผนวกกับวิสัยทัศน์และจินตนาการกับความน่ าจะเป็ นของธุรกิจใน อนาคต ในมุมมองของล้กค้า ค่ค ้ ้า และพนักงานในองค์กร เพื่อที่จะได้รับ การยอมรับและความร่วมมือจากทุกฝ่ ายซึ่งเป็ นปั จจัยในการนำาไปส่้ผล สำาเร็จของการสร้าง แบรนด์

STP จ่าแนกตลาดให้ชัด จัดกลุ่มเป้ าหมายให้แม่นย่า ก่าหนด สถานภาพตลาดทีถ ่ ูกต้อง ในการสร้าง แบรนด์ สำาหรับสินค้า หรือ บริการ เจ้าของธุรกิจต้องศึกษา สัดส่วนการตลาดให้ฃัดเจนว่าสินค้า หรือ บริการ เหมาะสมกับสัดส่วนการ ตลาด segmentation (S) กล่ม ุ ไหน ขนาดใด ธุรกิจ SME ไม่ควรหลง เข้าไปแข่งขันในตลาดใหญ่ mass market เพราะมีการแข่งขันส้ง ต้อง ลงทุนค่าใช้จ่ายมากกว่า และต้องการความเข้มแข็งและขีดความสามารถใน การแข่งขันที่ส้งกว่า ดังนั้น ธุรกิจขนาดเล็ก จึงควรมองหาตลาดที่มีความ

เฉพาะ niche market มีความเหมาะสมกับกำาลังและปริมาณการผลิต หลีกเลี่ยงการแข่งขันกับยักษ์ใหญ่ในสินค้าประเภทเดียวกัน เมื่อเลือก สัดส่วนการตลาดได้แล้ว ต้องสามารถเลือกกลุ่มล้กค้าเป้ าหมาย target (T) ได้อย่างแม่นยำา กลุ่มล้กค้าเป้ าหมาย หมายถึง ผ้้บริโภคที่มีพฤติกรรม การใช้จ่ายและเลือกซื้อสินค้าที่แตกต่าง เช่นวัยวุฒิ คุณวุฒิ การศึกษา อาชีพ และวิถีชีวิตที่แตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม การเลือกกลุ่มเป้ าหมายที่ถ้ก ต้อง จะทำาให้การสื่อสารการตลาดมีประสิทธิภาพและใช้งบประมาณไม่มาก ความสำาคัญอีกประการหนึ่ง ก่าหนดสถานภาพ positioning (P)ของ สินค้า หรือ บริการในตลาดที่มีค่้แข่งขัน เพื่อเปรียบเทียบกับค่้แข่งขันที่มีอย่้ ใด้ดานคงวามได้เปรียบหรือเสียเปรียบ และศึกษาความแข็งแกร่งหรือความ อ่อนแอของค่้แข่งขันที่อย่้ในตลาดเดียวกัน แนวทางการสร้าง แบรนด์ ส่าหรับธุรกิจ SME เจ้าของต้องมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด เริ่มตั้งแต่การสร้างกระบวนทัศน์ทาง ความคิด และการแปลงวิสัยทัศน์ของเจ้าของธุรกิจ ออกเป็ น ร้ปแบบ สีสัน สื่อข้อความ ที่มีความหมายและโยงใยความสัมพันธ์ระหว่างสินค้า หรือ บริการ กับบริษท ั ฯ เพื่อสื่อให้ล้กต้าเข้าใจความหมายและภาพลัษณ์ท่ีถ้ก ต้อง แบรนด์ เป็ นเรื่องของอารมณ์ และการสื่อความหมาย มากกว่าการใช้ เหตุใช้ผล ในการศึกษาเรื่องของ แบรนด์ หากปรากฏว่า แบรนด์ท่ีใช้อย่้ไม่ ได้ผล หรือ ไม่ส่ ือความหมายในทางที่ต้องการ หรือ สื่อความหมายผิด หรือ ไม่ได้สร้างประโยชน์ต่อการขายสินค้า หรือ บริการ เท่าที่ควร ต้องเริม ่ ศึกษาถึงปั ญหาที่อาจเกิดขึ้น เพราะบ่อยครั้งเจ้าของธุรกิจมีความเข้าใจที่ คลาดเคลื่อนว่า โลโก้ หรือ ตราสินค้า คือ แบรนด์ ในกรณีน้ี เจ้าของธุรกิจ อาจไม่ได้เข้าใจผิดทั้งหมดเพียงแต่ไม่เข้าใจกระบวนการของการสร้าง แบรนด์ให้ครบถ้วนก่อนที่จะหวังผลประโยชน์ท่ีได้จากการสร้างแบรนด์ ใน กระบวนการสร้าง แบรนด์ หากพบว่า แบรนด์ ที่มีอย่้ไม่ส่ ือความหมายที่ถ้ก ต้องไปยังกลุ่มล้กค้าเป้ าหมายที่ต้องการ อาจต้องมีการปรับเปลี่ยน ร้ปแบบ ลายเส้น สีสัน ถ้อยความ และการนำาเสนอเช่น ภาพหรือตราสัญลักษณ์ สินค้าที่ปรากฏบนบรรจุภัณฑ์ของสินค้า การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ตลอดจนการเลือกใช้ส่ ือ ประชาสัมพันธ์ เพื่อสื่อสารกับกลุ่มล้กค้าเป้ าหมาย

วิธีการสร้างคุณค่าให้กับ แบรนด์ แนวคิดพื้นฐานในการสร้างม้ลค่าเพิ่ม added value ให้กบ ั แบรนด์ สำาหรับ สินค้าหรือ บริการ มีความคล้ายคลึงกับ วิธีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ Product development ทั้งสองกรณีต่างมีนัยเดียวกัน คือ การสร้าง เครื่องมือ สำาหรับ ล้กค้า ในการเข้าถึง ความต้องการของล้กค้า (customer need)ในการสร้าง แบรนด์ ปั จจัยสำาคัญที่สุด คือ ต้องร้้ว่า“ ลูกค้าต้องการอะไร” อาทิ ชื่อเสียง ภาพพจน์ท่ีดี ความสนุกสนาน การ พักผ่อน หรือ การสนองความต้องการทางจิตวิทยา เป็ นต้น แบรนด์ ที่ ประสบความสำาเร็จ ต้องสามารถตอบสนองความต้องการของล้กค้าได้ แบรนด์ ที่ไม่สามารถสื่อถึงประโยชน์ในการใช้สอย ไม่ใช่แ บรนด์แม้ว่าจะ มี สัญลักษณ์ ชื่อ และสื่อโฆษณา ที่แพร่หลาย แต่ลก ้ ค้าจะไม่สนใจเพราะไร้

ประโยชน์กฎแห่งความสำาเร็จ สำาหรับการสร้างนวัตกรรมสินค้า หรือ บริการ มักจะมีการสร้าง แบรนด์ เป็ นองค์ประกอบเสมอ เงื่อนไขสำาคัญ คือ การเสนอบางสิ่งบางอย่างที่ล้กค้าต้องการ แต่ยังไม่สามารถเป็ นเจ้าของ ได้ในวันนี้ เพราะราคาแพงเกินไป การเป็ นเจ้าของยุ่งยาก หรือซับซ้อนเกิน ไป การสร้าง แบรนด์ มีหลายลักษณะ จึงมีวิธีการหลกลหายในการสร้างคุณ ประโยชน์เพิม ่ เติมจาก สินค้า หรือ บริการ ที่สามารถสัมผัสได้ ดังนี้ 1. สร้างความเชื่อมโยงระหว่าง คุณค่า และ คุณประโยชน์ทีส ่ ัมผัส ได้ ไม่ว่าจะเป็ นการใช้งาน หรือ ประสบการณ์ท่ีได้จากการใช้บริการ อาทิ แชมพ้ แพนทีน สื่อการใช้บำารุงรักษาเส้นผม หรือ โรงแรม ในเครือ เวสติน เน้นการพักผ่อนนอนหลับสบาย บนที่นอนและหมอนที่นุ่มนวลที่สุด 2. การสร้างความคาดหวังและจินตนาการ หมายถึง การสร้างภาพ หรือ ความคาด หวังในความคิด หรือ จินตนาการของล้กค้า เช่น โรงแรม สื่อความหมาย เป็ น โรงแรมสไตล์บ้ติค Boutique hotel ทำาให้ล้กค้าคาด หวังว่าประสบการณ์จากการพัก แรมจะแตกต่างจาการใช้บริการโรงแรม สำาหรับธุรกิจ 3. การสร้างประสบการณ์ (Experience) หมายถึง การที่ แบรนด์ สร้างความคาดหวังให้แก่ล้กค้า หรือ ประสบการณ์เหนื อกว่าในความร้้สึก เมื่อใช้ผลิตภัณฑ์ หรือ บริการ เช่น เครื่องดื่ม กระทิงแดง สื่อให้ผ้ด่ ืมร้้สึกว่า จะเพิม ่ พลังงานให้แก่ร่างกายหลังการดื่ม หรือ การที่ บริการ สปา สื่อความ หมายของ ความสบายกายและสบายใจ เป็ นประสบการณ์ใหม่หลังการใช้ บริการ 4. การสร้างอัตลักษณ์เฉพาะ หมายถึง การที่ แบรนด์ สื่อความหมาย ถึงเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่นเฉพาะ สินค้า หรือ บริการ เหนื อกว่าสินค้าอื่น ๆ ในกลุ่มเดียวกัน เช่น แบรนด์ Rolex หรือ Piaget สื่อความ หมายถึง สถานภาพส้งทางสังคมของผ้้สวมนาฬิกาทั้งสองยี่ห้อนี้ สำาหรับ ธุรกิจบริการ โรงแรมโอเรียนเต็ลสื่อความหมายถึง บริการที่ยอดเยี่ยม และดีท่ีสุดในโลกผ้้ใดที่ได้พก ั หรือใช้ บริการของโรงแรมนี้ จะด้ดใี น สังคมว่าเป็ น คนมีรสนิ ยมส้งและรำ่ารวย 5. การสื่อ ข้อความทีม ่ ีความหมายส่าคัญ เช่น เพชร เดอ เบียร์ De Beer สร้างภาพพจน์ในกลุ่มล้กค้าชั้นส้งให้เห็น คุณค่าของสัมพันธภาพ อมตะนิ รันดร์กาลของเพชร (Diamond is Forever) ต่อมาในปี 2546 เพชร เดอ เบียร์ได้เปลี่ยน เป้ าหมายการตลาดไปจับกล่ม ุ สุภาพสตรี โดยสื่อ ค่านิ ยม ใหม่ให้สุภาพสตรีสวมแหวนเพชรที่นิ้วนางข้างขวา The right hand diamond เพื่อแสดง ความเป็ น อิสระ แตกต่างจาก ผ้้หญิงสวม แหวนเพชรนิ้ วนางข้างซ้าย แสดงว่ามีพันธะแล้ว 6. การเป็นทีย ่ อมรับในฐานะผู้น่าทางนวัตกรรมสินค้าบางชนิ ดสร้าง ภาพลักษณ์ให้ผ้ใช้เป็ น ผ้้นำาทางนวัตกรรมในสังคม เช่น การใช้โทรศัพท์มือ ถือรุ่นใหม่ท่ีทำาได้ท้ังถ่ายร้ป ด้หนัง ฟั งเพลง 7. ท่าให้ผู้ใช้ดูเสมือนเป็นผู้รักธรรมชาติและสิง ่ แวดล้อม สินค้า ประเภทเครื่องสำาอางที่ทำาจากสมุนไพรธรรมชาติ เช่น Bodyshop ทำาให้ผ้ ใช้ร้สึกได้ร่วมมือในการอนุรก ั ษ์สิ่งแวดล้อมและช่วยเหลือคนยากจนทั่วโลก

8. สร้างฝั นและจินตนาการ การสร้างความฝั น และ จินตนาการให้ผ้ ใช้ได้ร้สึกเหมือนไปอย่้ในโลกของจินตนาการที่นอกเหนื อชีวิตจริง เช่น เสน่ ห์ ทางเพศความโดดเด่นเหนื อผ้้อ่ ืน การเข้าไปในโลกของการผจญภัย ตัวอย่าง เช่น รองเท้า ทิมเบอร์แลนด์ สร้างความร้้สึกสมบุกสมบันและ ทรหดให้แก่ ผ้้สวมใส่

การวางแผนสื่อสารการตลาดส่าหรับ แบรนด์ เมื่อได้สร้าง แบรนด์ ตามกระบวนการและแนวคิดให้สอดคล้องกับแผนการ ตลาดที่จัดทำาขึ้น ในขั้น ตอนต่อไปคือการเลือกใช้เครื่องมือในการสื่อสาร กับกลุ่มล้กค้าเป้ าหมาย การสื่อสารการตลาดแบบบ้รณาการ หมายถึง การเลือก เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมกับ สินค้า หรือบริการ มากกว่า 1 ประเภท มาใช้ผสมผสานกันอย่างต่อเนื่ องเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด แต่การเลือกใช้เครื่องมือใดมากหรือน้อยขึ้นอย่้กับประเภทของสินค้าหรือ บริการ การเลือกใช้ กิจกรรมที่รวมอย่้ในการสื่อสารการตลาดแบบครบ วงจร ประกอบด้วย การขายโดยบุคคล Personal selling การประชาสัมพันธ์ Public relation การตลาดตรง Direct marketing การตลาดเชิงกิจกรรม Events marketing โฆษณา Advertising การจัดแสดงสินค้า Products display การอบรม Training การออกแบบบรรจุ ภัณฑ์Packaging design การบอกเล่าปากต่อปาก Words of mouth องค์ประกอบของ การสื่อสารการตลาดแบบบรณาการประกอบ ด้วย 1. กระบวนการ Process หมายถึง วิธีการเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมต่อ ผ้้บริโภคและจัดทำากิจกรรมอย่างต่อเนื่ องมีจด ุ เริม ่ ต้นและสิ้นสุดในระยะเวลา ที่กำาหนดแน่ นอน 2. เครื่องมือสื่อสารหลายร้ปแบบ Various forms of communication หมายถึง การเลือกใช้เครื่องมือสื่อสารหลาย ๆ ชนิ ด ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพฤติกรรม ผ้้บริโภค ในสถานการณ์หนึ่ ง เมื่อ สถานการณ์เปลี่ยนไป จำาเป็ นต้องเปลี่ยนประเภทเครื่องมือสื่อสารให้เหมาะ สมด้วย 3. พฤติกรรมล้กค้าปั จจุบัน และ ล้กค้าที่คาดหวัง Customers & Prospective Behaviours หมายถึง พฤติกรรมของ กลุ่มผ้บ ้ ริโภคซึ่งอาจ จะแตกต่างกัน และต้องแบ่งตามเกณฑ์ Segmentation Target Promotion (STP) เริม ่ ปฎิบัติการและการประเมินผล หลังจากการวางแผนการตลาด กระบวนการสร้างแบรนด์ การเลือกใช้ส่ ือ ตามงบประมาณที่ได้วางแผนไว้ จะถึงขั้นตอนการลงมือปฎิบต ั ิ ในการ แนะนำา แบรนด์ ส่้สาธารณชน หรือ กลุ่ม เป้ าหมายหลัก โดยการรณรงค์

ผ่านการสื่อสารต่างๆ หลายร้ปแบบ อย่างไรก็ตาม เพื่อประโยชน์ในการ ประเมินผล ควรมีการทำาการวิจัยสินต้าหรือ บริการ ในด้านความรับร้้ และ ความพึงพอใจ ของผ้้บริโภค Pre-launching research เมื่อดำาเนิ นการ ตามกระบวนการสื่อสารการตลาดไปแล้วระยะหนึ่ ง จึงจัดให้มก ี ารประเมิน ผลอีกครั้งหนี่ ง Post launching research เพื่อเปรียบเทียบผลการ ดำาเนิ นงานและระดับความแตกต่างของ การรับร้้และความพึงพอใจในสินค้า หรือบริการในช่วงสั้น ๆ การรักษาคุณภาพและระดับมาตรฐาน เป็น ปั จจัยส่าคัญในการ รักษาสถานภาพของ แบรนด์ การรักษาคุณภาพและมาตรฐานการบริการ เป็ น ปั จจัยสำาคัญในการรักษา การดำารงอย่้ของ แบรนด์ เจ้าของธุรกิจต้องให้ความสำาคัญที่จะ ควบคุม คุณภาพของสินค้า หรือ มาตรฐานการบริการ ราคา และการสื่อข้อความ ไปยังกล่ม ุ ล้กค้าเป้ าหมายอย่างต่อเนื่ องและสมำ่าเสมอ การสื่อข้อความเกี่ยว กับ แบรนด์ ไปยังกลุ่ม เป้ าหมาย ต้องเลือกใช้ถ้อยคำา ข้อความ และ สื่อที่ถ้ก ต้องตรงกับกลุ่มล้กค้าเป้ าหมาย จึงจะเกิดประสิทธิผลแบรนด์ ของสินค้า หรือบริการที่มีช่ ือเสียงของโลก ต่างมีหลักการในการรักษาสถานะของ แบรนด์ คือ ความสมำ่าเสมอ และ ต่อเนื่ อง ในเรื่องของคุณภาพและบริการ อย่างไรก็ตาม เจ้าของธุรกิจต้องไม่คาดหวังผลส้งหรือ เล็งผลเลิศเกินไปกับ จำานวนเงินงบประมาณที่ใช้ กล่าวโดยสรุป แบรนด์ เป็ น หัวใจสำาคัญที่สุด ของการทำาธุรกิจไม่ว่าจะเป็ น ขนาดเล็ก หรือ ขนาดใหญ่แบรนด์ ดัง ๆ ที่มีช่ ือเสียงไปทั่วโลก ใช้เวลาใน การสร้างแบรนด์และรักษาคุณภาพอย่างต่อเนื่ องมาเป็ นเวลานานหลาย ทศวรรษ ต้องจัดสรรเงินทุนเป็ นงบประมาณในการรักษา แบรนด์ ไว้เพื่อ เป็ นการสร้างม้ลคาเพิม ่ แก่ธุรกิจน่ าเสียดายที่ธุรกิจ ขนาดกลางและขนาด เล็กจำานวนมาก มองข้ามความสำาคัญและไม่สนใจที่จะสร้างแบรนด์เจ้าของ ธุรกิจ SME ต้องเพิ่มความเอาใจใส่ในธุรกิจ และให้ความสนใจในการเรียนร้้ ที่จะสร้างแบรนด์สำาหรับธุรกิจตั้งแต่บัดนี้ เพื่อประโยชน์ของธุรกิจและ เป็ นการสร้างม้ลค่าเพิม ่ แก่ธุรกิจในอนาคต แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( Thursday, 24 May 2007 )

สภาพทัว ่ ไปของอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ ว การท่องเที่ยวมีความสำาคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมาก เป็ น โอกาสในการสร้างรายได้ และการจ้างงาน ในปี 2548 นักท่องเที่ยวต่าง ชาติท่ีเดินทางเข้ามาเที่ยวประเทศไทยลดลงจากปี 2547 ประมาณร้อยละ 1.8 หรือคิดเป็ นจำานวนนักท่องเที่ยวประมาณ 11.44 ล้านคน คิดเป็ นราย ได้จากการท่องเที่ยวประมาณ 400,000 บาท ในขณะที่เกิดสถานการณ์ ด้านลบต่อการท่องเที่ยวของไทยหลายประการ อาทิ สถานการณ์ไม่สงบ ใน 4 จังหวัดภาคใต้ การระบาดของไข้หวัดนก ผลกระทบจากการเกิด คลื่นยักษ์สึนามิใน 6 จังหวัดชายฝั่ งทะเลอันดามัน เมื่อปลายปี 2547 และ ราคานำ้ามันที่ส้งขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ซึง ่ ล้วนเป็ นปั จจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ ในปี 2549 คาดว่าจำานวนนักท่องเที่ยวจะเพิม ่ ขึ้น

ประมาณ ร้อยละ 8 หรือ จำานวนนักท่องเที่ยวประมาณ 12.4 ล้าน คน เนื่ องจากเป็ นปี เฉลิมฉลองการครองราชย์สมบัตค ิ รบ 60 ปี ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่้หัว ซึ่งทางรัฐบาลได้จัดให้มีการเฉลิมฉลอง ที่ยิ่งใหญ่ตลอดทั้งปี ในปี 2549 คาดว่าจำานวนนักท่องเที่ยวจะเพิ่ม ขึ้น

การเปลีย ่ นแปลงในอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ ว ปั จจัยภายใน อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของโลก ก็เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่าง มาก จากการท่องเที่ยวแบบดั้งเดิม มาเป็ นการท่องเที่ยวที่ให้ความสำาคัญ เฉพาะด้าน การจัดการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน Sustainable tourism ด้วย การสร้างจิตสำานึ กในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและธรรมชาติซึ่งเป็ นแหล่งท่อง เที่ยว การจัดการ ท่องเที่ยวชุมชน Community Based Tourism โดยจัด กิจกรรมการท่องเที่ยวโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม พฤติกรรมของนักท่องที่ยว รุ่นใหม่ท่ีเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม คือ การเดินทางเป็ นกลุ่มใหญ่ ๆ มีจำานวน น้อยลง และ นักเดินทางรุ่นใหม่จะเดินทางเป็ นกล่ม ุ เล็ก หรือ เดินทางตาม ลำาพังมากขึ้น กิจกรรมท่องเที่ยวสมัยใหม่จำาเป็ นต้องออกแบบให้สอดคล้อง กับความต้องการของนักท่องเที่ยวเฉพาะราย เฉพาะกลุ่ม โดยเน้นให้นัก ท่องเที่ยวได้รับประสบการณ์ท่ีอบอุ่น ประทับใจ น่าจดจำา ซึง ่ จะทำาให้นัก ท่องเที่ยวกลับมาเที่ยวซำ้าอีก การเปลี่ยนแปลงไปของโครงสร้างและร้ปแบบ ส่วนหนึ่ งได้รบ ั อิทธิพลจาก การแพร่กระจายของข้อมูลข่าวสารและ เทคโนโลยีการสื่อสาร ( ICT – Information and Communication ) ในธุรกิจท่องเที่ยว ทำาให้นักท่องเที่ยวสามารถติดต่อกับธุรกิจท่องเที่ยวได้ โดยตรง ลดต้นทุนทางธุรกรรมและคนกลาง แต่สาเหตุหลักที่สำาคัญ มากต่อการเปลี่ยนแปลง คือ ตัวนักท่องเที่ยวเองที่มีความต้องการท่อง เที่ยวแบบ Tailor –made ตามรสนิ ยม ร้ปแบบการดำาเนิ นชีวิตส่วนบุคคล ซึ่งมีรายละเอียด ความแตกต่างและซับซ้อนมากขึ้น ลักษณะประชากรที่ เปลี่ยนไป เป็ นอิทธิพลที่มีนัยสำาคัญต่ออุตสาหกรรมอย่างมาก อาทิ อายุ ของประชากร นักท่องเที่ยวส้งอายุ เข้ามามีบทบาทในกิจกรรมการท่อง เที่ยว และเป็ นผ้้มีอำานาจในใช้จ่าย กลุ่มลูกค้า ล้กค้าหรือนักท่องเที่ยวผ้้ใช้บริการธุรกิจนำาเที่ยว แบ่งได้ 4 ระดับ คือ 1. กลุ่มล้กค้าระดับ A คือ กล่ม ุ ล้กค้าที่มร ี ายได้ส้ง มีฐานะทางการเงิน ดี มีอำานาจการซื้อส้ง ชอบการบริการที่ดี มีระดับ ราคาไม่ใช่ปัจจัยสำาคัญ ในการพิจารณา กล่ม ุ ล้กค้าระดับ A ได้แก่ ผ้้บริหาร นักการเมือง เจ้าของกิจการ เป็ นต้น กลุ่มล้กค้าระดับนี้ จะเป็ นกลุ่มเป้ าหมายของบริษท ั นำาเที่ยวขนาดใหญ่ ที่มีช่ ือเสียงด้านการบริการที่ดี 2. กลุ่มล้กค้าระดับ B คือ กลุ่มล้กค้าที่มีรายได้ปานกลาง ฐานะ ทางการเงินอย่้ในเกณฑ์ท่ีดี แต่ราคาก็เป็ นปั จจัยสำาคัญในการพิจารณาเช่น กัน กล่ม ุ ล้กค้าระดับนี้มักจะเปรียบเทียบระหว่างราคากับการบริการ กลุ่ม ล้กค้าระดับ B ได้แก่ พนักงานระดับหัวหน้างาน ผ้้จัดการบริษท ั ข้าราชการระดับหัวหน้ากอง อาจารย์ นักวิชาการ เป็ นต้น กล่ม ุ ล้กค้า ระดับนี้ มักใช้บริการของบริษท ั นำาเที่ยวขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่

3. กลุ่มล้กค้าระดับ C คือ กล่ม ุ ล้กค้าที่มร ี ายได้ไม่มากนัก มีอำานาจการ ซื้อน้อย จะใช้ราคาในการตัดสินใจ โดยไม่ค่อยคำานึ งถึงเรื่องการบริการ กลุ่มล้กค้าระดับ C ได้แก่ ข้าราชการชั้นผ้้นอ ้ ย พนักงานบริษท ั ฯ พนักงาน โรงงาน เป็ นต้น การจัดส่งเสริมการขายไม่ว่าจะเป็ นการลดราคา หรือ การส่งเสริมการขายพิเศษ จึงดึงด้ดคนกลุ่มนี้ ได้ดี กลุ่มล้กค้าระดับ C มัก ใช้บริการของบริษท ั นำาเที่ยว ขนาดเล็ก หรือ จัดการนำาเที่ยวด้วยตนเอง 4. กล่ม ุ ล้กค้าระดับเยาวชน คือ กลุ่มล้กค้าที่เป็ นนักเรียน นักศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ระดับอุดมศึกษา มีอำานาจการซื้อในวงเงิน จำากัด เดินทางเพื่อทัศนะศึกษาเป็ นหม่้คณะ เพื่อส่งเสริม การเรียนร้้ และสร้างประสบการณ์ชีวิตนอกห้องเรียน

พฤติกรรมการท่องเทีย ่ วของลูกค้ากลุ่มนักท่องเทีย ่ วชาวไทย นักท่องเที่ยวชาวไทย ส่วนใหญ่จะใช้เวลาในช่วงวันหยุดที่ติดต่อกันหลาย วัน เดินทางท่องเที่ยวไปต่างจังหวัด โดยจะเดินทางไปเที่ยวกันเอง เพราะ ค่าใช้จ่ายถ้กกว่าซื้อรายการนำาเที่ยวจากบริษท ั ทัวร์ และมี อิสระในการแวะเที่ยวแต่ละแห่งได้ตามต้องการ ส่วนผ้้ท่ีซ้ ือรายการนำาเที่ยว จากบริษท ั ทัวร์ มักต้องการไปร่วมงานประเพณีต่าง ๆ หรือเดินทางไป เที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยวชายทะเลที่เป็ นที่นิยม เพราะผ้้เดินทางจะประสบ ปั ญหาด้านการจองพาหนะการเดินทางและห้องพัก การซื้อรายการนำา เที่ยวจากบริษท ั ทัวร์ให้ความสะดวกมากกว่าและได้ท่องเที่ยวในเวลาตามที่ วางแผนไว้ แหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิ ยมจากกล่ม ุ นักท่องเที่ยวไทย คือ แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดภาคเหนื อตอนบน ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน เพชรบ้รณ์ เลย จังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียง เหนื อ เช่น หนองคาย ขอนแก่น อุบลราชธานี นครราชสีมา รวมทั้ง แหล่ง ท่องเที่ยวชายทะเลภาคตะวันออก อาทิ พัทยา ระยอง จันทบุรี เกาะช้าง ตราด ชายทะเลด้านตะวันตก เช่น ชะอำา หัวหิน ปราณบุรี และ สมุย ชายทะเลฝั่ งอันดามัน เช่น ภ้เก็ต กระบี่ พังงา และ ตรัง ส่วนแหล่งท่อง เที่ยวระยะใกล้แบบไม่ค้างคืน ส่วนใหญ่อย่้ในภาคกลางที่ได้รับความนิ ยม ได้แก่ กาญจนบุรี นครปฐม พระนครศรีอยุธยา สระบุรี และลพบุรี นอกจากการท่องเที่ยวพักผ่อนชายทะเล และการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แล้ว การท่องเที่ยวที่กำาลังได้รบ ั ความนิ ยมเพิม ่ มากขึ้นในปั จจุบัน คือ การ ท่องเที่ยวเชิง นิ เวศ หรือการท่องเที่ยวที่คำานึ งถึงการอนุรก ั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สภาพแวดล้อม ผ้้คนส่วนใหญ่หันมาท่องเที่ยวประเภทนี้ กันมากขึ้น เพราะ การท่องเที่ยวเชิงนิ เวศทำาให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสหรือ มีประสบการณ์กับ สภาพแวดล้อมธรรมชาติโดยตรง พฤติกรรมลูกค้าของกลุ่มนักท่องเทีย ่ วชาวต่างประเทศ นักท่องเที่ยวชาวเอเชียในแต่ละประเทศนิ ยมเดินทางไปพักผ่อนยังต่าง ประเทศในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ขึ้นอย่้กับเทศกาลวันหยุดประจำาปี ของ ประเทศนั้น ๆ เทศกาลวันหยุดประจำาปี ที่สำาคัญ ของชาวเอเชีย อาทิ

จีน ฮ่องกง ไต้หวัน มาเลเซีย สิงคโปร์ : ช่วงเทศกาลตรุษจีน จัด เป็ นวันหยุดระยะยาว ในช่วงนี้ แหล่งท่องเที่ยวชั้นนำาย่านเอเชีย รวมทั้ง ไทยจะเนื องแน่ นไปด้วยนักท่องเที่ยวกล่ม ุ นี้ ญี่ปุ่น : ช่วงวันหยุดระยะยาวที่ชาวญี่ปุ่นนิ ยมเดินทางท่องเที่ยวมาก เป็ นพิเศษ ได้แก่ ช่วง “ Golden Week “ ประมาณต้นเดือนพฤษภาคม และอีกช่วงหนึ่ ง คือ ช่วงวันหยุดสิ้นปี ต่อเนื่ องถึงวันขึ้นปี ใหม่ ในแต่ละช่วง กินเวลาประมาณ 5 – 6 วัน - เกาหลีใต้ : เทศกาลวันหยุดระยะยาวของชาวเกาหลีใต้ ได้แก่ ช่วงวัน ตรุษจีน และวันขอบคุณพระเจ้าของชาวเกาหลี ( Korean Thanksgiving Days ) นักท่องเที่ยวเอเชียมีรสนิ ยมการพักผ่อน ท่องเที่ยว ที่แตกต่างกับชาวตะวัน ตก เช่น ชาวเอเชียจะนิ ยมธรรมชาติและชายทะเล ขณะที่นักท่องเที่ยว ตะวันตก มีท้ังกลุ่มที่สนใจธรรมชาติชายทะเลมาก เช่นนักท่องเที่ยว เยอรมัน และ สแกนดินาวีย จะสนใจการพักผ่อนชายทะเลมาก ส่วนนักท่อง เที่ยวจากฝรั่งเศสสเปน และ ยุโรปตอนใต้ สนใจในเรื่องวัฒนธรรมและ ประเพณีของไทยมากกว่า โดยรวมอาจกล่าวได้ว่า กล่ม ุ นักท่องเที่ยวต่าง ชาติมีวต ั ถุประสงค์การท่องเที่ยว เพื่อการแสวงหาประสบการณ์จากความ แตกต่างทางวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม พบปะผ้้คน การแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ นักท่องเที่ยวจึงมักสนใจกิจกรรมที่เกี่ยวกับศิลปะ วรรณกรรมและประเพณีไทยต่าง ๆ ค่อนข้างมาก

ผลการศึกษา ในปี 2543 แหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิ ยมจากกล่ม ุ นัก ท่องเที่ยวต่างชาติ คือ แหล่งท่องเที่ยวทางชายทะเล เช่น เกาะพีพี อ่าวพระนาง เกาะเต่า เกาะลันตา และเกาะช้าง ส่วนใหญ่ นักท่องเที่ยวต่างชาติจะเดินทางไป แหล่งท่องเที่ยวชายทะเลกันในช่วงฤด้เดือนตุลาคม – มีนาคม ซึ่งเป็ นฤด้กาลท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเดิน ทางมากที่สุด และช่วงที่นักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวน้อยที่สุดจะอย่้ในช่วง เดือนพฤษภาคม ถึง เดือนกันยายน

การจัดการท่องเทีย ่ วอย่างพอเพียง Sufficiency tourism การจัดการท่องเทีย ่ วอย่างพอเพียง ยังไม่มน ี ิ ยาม หรือ คำาจำากัดความ โดยเฉพาะ แต่ผ้เขียนอยากจะนำา แนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่้หัวมาประยุกต์กับ ความหมาย คือ การทำางานด้านการท่องเที่ยวเพื่อให้มร ี ายได้พอกินพออย่้ ไม่ทำาให้ใหญ่โดเป็ น อุตสาหกรรมท่องเที่ยว การจัดการท่องเที่ยวอย่างพอ เพียง ยังสัมพันธ์ กับการจัดการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน Sustainable Tourism และ การจัดการท่องเที่ยวชุมชน Community Based Tourism การจัดการท่องเที่ยวทั้ง 3 อย่างมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด เพราะ การจัดการท่องเที่ยวอย่างพอเพียงนั้น ไม่ได้มุ่งหมายสร้างความรำ่ารวย แต่ เป็ นการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ที่สามารถอาศัยประโยชน์จากการที่มีนัก ท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวในชุมชนนั้น ปั จจัยสำาคัญ คือ การจัดการท่องเที่ยว อย่างพอเพียง ต้องเป็ นกิจกรรมที่จัดขึ้นโดยชุมชนเห็นด้วย เพื่อสร้างรายได้

สำาหรับเลี้ยงครอบครัวและเป็ นประโยชน์ต่อชุมชน การจัดการท่องเที่ยว อย่างพอ เพียงไม่ได้จำากัดเฉพาะในการสร้างรายได้อย่างพอเพียง แต่ยังหมายถึง การ ท่องเที่ยวที่ไม่เติบโต มากจนไปทำาลายสิ่งแวดล้อมหรือสถานที่ท่องเที่ยวตาม ธรรมชาติ หรือ วิถีชีวิตของชุมชน การจัดการท่องเที่ยวอย่างชุมชน จึงเป็ น ธุรกิจระดับส่วนตัว ครอบครัว และอย่้ภายในชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาความ ร้้และทักษะของประชากรในพื้นที่ให้มค ี วามร้ค ้ วามเข้าใจ

ในการให้ความร้้ท่ีถ้กต้องและอำานวยความสะดวกแก่ผ้มาเยือนในแต่ละท้อง ถิ่น การจัดการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง คือ การประกอบอาชีพเสริมด้าน การท่องเที่ยวจากอาชีพหลัก และทำาให้ชุมชนสามารถประกอบอาชีพได้อย่าง อิสระ เกิดความรักท้องถิ่น โดยไม่ต้องมุ่งไปขายแรงงานในจังหวัดใหญ่ การจัดการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง ไม่ได้มีเป้ าหมายในการสร้างบุคลากร ออกไปทำางานในธุรกิจและอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในสังคมเมือง การจัดการ ท่องเที่ยวอย่างพอเพียง เหมาะสำาหรับทำาเป็ นอาชีพอิสระเพราะไม่ต้องลงทุน มากแต่ต้องเรียนร้้ให้มาก การจัดการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง จึงเป็ น ลักษณะการประกอบการธุรกิจขนาดเล็ก small enterprise โดยสมาชิกใน ครอบครัว หรือ กล่ม ุ บุคคลร่วมกันทำา และ ธุรกิจระดับจิว ๋ micro enterprise โดยส่วนตัวหรือกลุ่มบุคคล 2 -3 คน อาชีพที่เหมาะสมกับ การจัดการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง เช่น 1. การจัดที่พักแบบโฮมสเตย์ Homestay 2. การจัดที่พักแบบบ้านสวน Farmstay / Orchardlodge 3. ผ้้ประกอบการนำาเที่ยวท้องถิน ่ Domestic Handling Agent 4. ผ้้ผลิตสินค้าที่ระลึกสำาหรับการท่องเที่ยว Souvenirs for tourists 5. มัคคุเทศก์ท้องถิ่น Domestic Tourist Guide โฮมสเตย์ หรือ การพักรวมกับเจ้าของบ้าน เป็ น วิถีชีวต ิ ดั้งเดิมของคน ไทย ดังมีคำากล่าวว่า แขกมาถึงเรือนชาน ก็ต้องต้อนรับ ในอดีต การเดิน ทางไปเยี่ยมเยียนเพื่อนหรือญาติมาตรในต่างจังหวัด ผ้้เดินทางจะต้องด้ว่า จังหวัดที่จะไปนั้นมีเพื่อนฝ้งหรือญาติพ่ีนอ ้ งที่มบ ี ้านพัก และขอไปพักอาศัย ด้วย เจ้าบ้านก็จะจัดห้องพักให้สำาหรับแขกที่มาเยือน และด้แลเรื่องข้าวปลา อาหารโดยมิได้คิดค่าใช้จ่าย เป็ นการแสดงความเป็ นมิตรและเจ้าบ้านที่ดี ตามวิถีชีวิตของคนไทย การทำาธุรกิจ โฮมสเตย์ จึงไม่ได้ต้องการให้เจ้าของ บ้านไปก้้เงินเพื่อมาลงทุนสร้างบ้านขึ้นเป็ นพิเศษแต่วัตถุประสงค์ คือ การนำา ห้องพักที่มีเหลือใช้ในครอบครัวอาจจะเป็ นเพราะล้กหลานแยกย้ายไปทำางาน ต่างถิ่นหรือ มีครอบครัว การนำาห้องพักมาให้บริการแก่ล้กค้า เป็ น ประโยชน์ในการสร้างรายได้ ดังนั้นหากจะมีการลงทุน ควรเป็ นการลงทุน ปรับปรุงเล็ก ๆ น้อย เพื่อให้ได้มาตรฐานด้านสุขอนามัย และ ความปลอดภัย มากกว่าความหร้หราเกินพอดี การรับล้กค้าเข้าพักต้องมีการคัดเลือกล้กค้า ที่เหมาะสม เพราะการรับล้กค้าโดยไม่เลือก อาจจะเป็ นการพาโจรเช้าบ้าน ก็ได้ การพักแบบ โฮมสเตย์ นั้น นอกจากผ้้พก ั ได้เรียนร้้การอย่้อาศัยแบบ พื้นเมืองแล้ว เจ้าบ้าน ควรให้ผ้พักมีส่วนร่วมในกิจกรรมประจำาวันตามวิถีชีวิตเพื่อเป็ นการสร้าง ประสบการณ์และการเรียนร้้ในวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของท้องถิ่นนั้น ๆ

บ้านสวน บ้านไร่ เป็ น การจัดที่พักอีกแบบหนึ่ งที่สร้างประสบการณ์ใหม่ สำาหรับนักท่องเที่ยว เช่น การพักในไร่องุ่น สวนผลไม้ หรือ ฟาร์ม ปศุสัตว์ เพื่อเป็ นการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบสมบ้รณ์ การ จัดที่พักในบ้านสวน จะทำาให้ผ้พักได้บรรยากาศที่แท้จริงของสวนผลไม้ ไร่ องุ่น หรือ ฟาร์มปศุสัตว์ ซึง ่ จะมีอาณาเขตกว้างใหญ่ และความเขียวสดของ ทุ่งหญ้าสำาหรับเลี้ยงสัตว์ สถานที่เหล่านี้ จะมีความงดงามของธรรมชาติ อากาศสดชื่น และความสวยงามของต้นไม้ประเภทต่างๆ การให้ผ้พักได้มี ส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ในสวน หรือ ไร่ เป็ นการสร้างความสนุกสนาน และส่งเสริมการเรียนร้้ทำาให้การท่องเที่ยวมีรสชาติยิ่งขึ้น ผู้ประกอบการน่าเทีย ่ วท้องถิน ่ Domestic Handling Agent คือ การเริ่มอาชีพของผ้้ประกอบการนำาเที่ยวอิสระในท้องถิ่นที่เป็ นแหล่งท่อง เที่ยว สามารถเริ่มทำาได้ท้ังเป็ นกลุ่มบุคคล หรือ ครอบครัวที่มค ี วามร้้และ ความเข้าใจในวัฒนธรรมท้องถิ่น หรือ แหล่งท่องเที่ยว มีความสามารถ เฉพาะในการนำาเที่ยว แบบด้นก เดินป่ า ล่องแก่ง ดำานำ้า ปี นผา ฯลฯ ผ้้ ประกอบการอิสระเหล่านี้ จะเป็ นผ้้กำาหนดรายการนำาเที่ยวแบบต่างๆ การ คิดราคาค่าบริการ การจัดการอำานวยความสะดวก และทำาหน้าที่ มัคคุเทศก์นำาทางด้วยตนเอง สามารถทำาเป็ นอาชีพเสริมในวันสุดสัปดาห์ หรือ ช่วงฤด้กาลท่องเที่ยว

ผู้ผลิตสินค้าทีร ่ ะลึกส่าหรับนักท่องเทีย ่ ว รายได้จากการจำาหน่ าย สินค้าที่ระลึกแก่นักท่องเที่ยวคิดเป็ นอัตราส่วนกว่าร้อยละ 25 ของค่าใช้ จ่ายของนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยดังนั้น หากชุมชนใด เป็ นแหล่งท่องเที่ยว ประชากรในชุมชนนั้นสามารถสร้างรายได้ด้วย การจัดทำาสินค้าที่ระลึก ประเภท หัตถกรรม เครื่องจักสาน ผ้าทอ ผลิตภัณฑ์อาหาร ขนม เพื่อจำาหน่ ายแก่นักท่องเที่ยวได้ มัคคุเทศน์ท้องถิน ่ อาชีพที่ไม่ต้องลงทุน แต่ต้องขยันหาความร้้ การเดิน ทางท่องเที่ยวจะไม่สมบ้รณ์ หากขาดคนนำาทางที่ดี หรือ คนที่จะให้ความร้้แก่ นักท่องเที่ยวในเรื่องวัฒนธรรมประเพณี หรือ ประวัติศาสตร์ของแหล่งท่อง เที่ยว มัคคุเทศก์ท่ีมีประสบการณ์ส้ง สามารถหาเลี้ยงชีพได้อย่างอิสระและ มีรายได้ดี

ประเภทของการจัดน่าเทีย ่ ว 1. การจัดการนำาเที่ยวเชิงนิ เวศน์ ( Ecotourism ) เป็ นการนำาเที่ยวที่มี วัตถุประสงค์เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ซาบซึ้งกับความงาม ความยิ่งใหญ่หรือ ความพิศวงของธรรมชาติ เช่น การชมนก การเดินป่ า เป็ นต้น 2. การจัดนำาเที่ยวเชิงเกษตร (Agro Tourism) เป็ นการนำาเที่ยวเชิงเกษตร อาทิ สวนผลไม้ ไร่ องุ่น ฟาร์มโคนม ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ การทำานาก้ง ุ การเลี้ยงปลา เป็ นต้น 3.การนำาเที่ยวเพื่อการศึกษา ( Educational Tourism ) เป็ นการนำา เที่ยวที่ตอบสนองความต้องการศึกษาเรียนร้้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ ง เช่น การ เยี่ยมชมศ้นย์ทดลองด้านการเกษตรโครงการในพระราช ดำาริ หรือฝึ กทักษะ อย่างใดอย่างหนึ่ ง เช่น การเรียนภาษา หรือ การเรียนศิลปะหัตถกรรม เป็ นต้น

4.การจัดนำาเที่ยวเชิงสุขภาพและกีฬา ( Health and Sport Tourism ) เป็ นการนำาเที่ยวที่มุ่งเสริมสร้างความสมบ้รณ์ทางร่างกายและจิตใจของนัก ท่องเที่ยวด้วยกิจกรรมตาง ๆ เช่น การเล่นกีฬา การบำารุงผิว การนวดตัว การฝึ กสมาธิ การอาบนำ้าแร่ การอบสมุนไพร เป็ นต้น 5 การจัดนำาเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรม ( Religious and Cultural Tourism ) เป็ นการนำาเที่ยวที่มีจุดประสงค์ให้นักท่องเที่ยว ได้ทำาบุญไหว้ พระ ได้รับความร้้และความเพลิดเพลิน จากการชมและสัมผัสวัฒนธรรม ท้องถิ่น ศิลปะหรือ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ 6. การจัดนำาเที่ยวเพื่อสัมผัสชาติพันธ์ุและชีวิตวัฒนธรรมพื้นถิ่น ( Ethnic Tourism ) การนำาเที่ยวประเภทนี้ มุ่งตอบสนองนักท่องเที่ยวที่ต้องการ สัมผัสชีวิตวัฒนธรรมท้องถิ่นของกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างใกล้ ชิด เช่น การไปท่องเที่ยวโดยอาศัยอย่้กับคนต่างวัฒนธรรมในช่วงเวลา หนึ่ ง ( Home stay)

การบริการทีก ่ ารจัดการท่องเทีย ่ วอย่างพอเพียง สามารถเสนอได้ คือ 1. การบริการทัวร์ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิน ่ ( Lifestyle and cultural tours ) เป็ นการสร้างประสบการณ์ใหม่ และความร้้เกี่ยวกับวิถี ชีวิตชุมชน ประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านให้แก่ล้กค้า โดยที่ล้กค้าสามารถ พักอย่้ในหม่้บ้าน แบบ โฮมสเตย์ รับประทานอาหารพื้นบ้าน ได้ร่วม กิจกรรมกับชาวบ้าน หรือศึกษาวิถีชีวิตความเป็ นอย่้ การได้ศึกษาการทำาหัต กรรมครัวเรือน เป็ นต้น 2. การบริการทัวร์เชิงเกษตร ( Farm or orchard Tours ) เป็ นการ บริการสำาหรับล้กค้าที่ต้องการเดินทางเพื่อศึกษาและเรียนร้้วิถี ชิวิต เกษตรกร การทำาไร่ ทำาสวนผลไม้ การเลี้ยงสัตว์โดยผ้้ประกอบการท่อง เที่ยวท้องถิ่น Domestic Handling Agent หรือ เจ้าของสวนจัดให้มี มัคคุเทศก์ท้องถิ่นเป็ นผ้้บรรยายให้ความร้้ และอำานวยความสะดวกระหว่าง การเดินทางเยี่ยมชม และอาจจัดทำากิจกรรมพิเศษต่าง ๆ ไว้ เช่น การรีด นมวัว ในฟาร์มโคนม การทดลองเก็บองุ่นในไร่อง่น ุ หรือ เก็บผลไม้ ในสวนผลไม้ เพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่ ความประทับใจและ ความเพลิดเพลินให้กับล้กค้านักท่องเที่ยวชาวไทย และ ต่างประเทศ

ปั ญหาและอุปสรรคของผู้ประกอบการน่าเทีย ่ วในประเทศขนาดเล็ก การแข่งขันในธุรกิจนำาเที่ยวทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ผ้้ประกอบการ ขนาดใหญ่ท่ีมีช่ ือเสียงและครองตลาดมานานจะเป็ นผ้้ได้เปรียบ ส่วนผ้้ ประกอบการขนาดเล็กและกลางซึ่งมีอย่้เป็ นจำานวนมาก ต้องต่อส้้แข่งขันเพื่อ ดึงด้ดล้กค้า โดยส่วนใหญ่แล้ว ผ้้ประกอบการรายเล็ก มีพนักงานระหว่าง 5 – 10 คนมีอย่้ประมาณร้อยละ 90 ของบรรดาผ้้ประกอบการท่องเที่ยว มัก เป็ นคนในวงการที่แยกตัวออกมาตั้งกิจการของตนเอง และใช้ฐานล้กค้าทีมี อย่้ขยายตลาดส่้ธุรกิจนำาเที่ยว ปั ญหาหลักที่เกิดขึ้นเพราะผ้้ประกอบการ ธุรกิจนำาเที่ยว มักจัดรายการนำาเที่ยวซำ้าซ้อนกัน แข่งขันด้วยการตัดราคา ทำาให้ราคาทัวร์ถก ้ ลง เนื่ องจากต่างแย่งล้กค้าในตลาดเดียวกัน mass market การตัดราคามีท้ง ั จากตัวแทนบริษท ั ที่ให้บริการด้านที่พก ั ตัว ๋

เครื่องบิน หรือร้านอาหาร และการตัดราคาระหว่างบริษท ั นำาเที่ยวด้วยกัน สำาหรับในกรณีแรก ตัวแทนบริษท ั ต่าง ๆ แย่งกันตัดราคา กรณีน้ี จัดเป็ นผล ดีต่อกิจการ เพราะทำาให้ผ้ประกอบการมีต้นทุนที่ต่ ำาลง แต่ถ้าเป็ นในกรณี หลัง คือ บริษท ั นำาเที่ยวต่างตัดราคาทัวร์กันเอง จะทำาให้รายได้ของกิจการ ลดลง ดังนั้น ผ้้ประกอบการจำาเป็ นต้องม่ง ุ เน้นพัฒนาคุณภาพการบริการ มากยิ่งขึ้น โดยจัดรายการนำาเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ๆ ที่น่าสนใจ และเจาะตลาดเฉพาะกล่ม ุ มากขึ้น เพื่อพัฒนาร้ปแบบการบริการให้ สอดคล้องกับความต้องการของล้กค้าแต่ละกลุ่ม

ปั ญหาและอุปสรรคอื่น ๆ ที่ผ้ประกอบการประสบอย่้ คือ 1. ปั ญหาความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยวชาวต่าง ประเทศ เช่น นักท่องเที่ยวประสบอุบัติเหตุ การโดนโจรกรรมหรือหลอก ลวงให้ซ้ ือสินค้าราคาแพง ปั ญหาความไม่สงบใน 4 จังหวัดภาคใต้ เป็ นต้น 2. ปั ญหาภัยธรรมชาติ เช่น ผลทางจิตวิทยาของการเกิดคลื่นสึนามิ การระบาดของไข้หวัดนก อากาศไม่เหมาะสมกับการท่องเที่ยว นำ้าท่วม การติดอย่้ตามเกาะต่าง ๆ เพราะคลื่นลมในทะเลแรง เป็ นต้น 3. สภาพเศรษฐกิจและความเชื่อมั่นในการบริโภค สภาพเศรษฐกิจ เป็ น ปั จจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรง และภาวะเงินเฟ้ อทำาให้ ต้นทุนของการ บริการส้งขึ้น ผ้้ประกอบการไม่สามารถขายให้ส้งขึ้น ได้ เพราะสภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมส้งมาก

ปั จจัยทีท ่ ่าให้การจัดการท่องเทีย ่ วอย่างพอเพียงประสบความส่าเร็จ ความสำาเร็จของการจัดการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง จะพึงพิงปั จจัยหลัก ดังนี้ 1. คุณลักษณะของผู้ประกอบการ ซึง ่ ประกอบด้วย 1. 1 รักการท่องเที่ยวและการให้บริการ เป็ นชีวต ิ จิตใจ เพราะ ผ้้ประกอบ การที่รักการท่องเที่ยวจะเข้าใจถึง ความต้องการของล้กค้าได้อย่างชัดเจน และสนองตอบกับความต้องการนั้นได้อย่างเต็มใจ 1. 2 มีความร้้พ้ ืนฐานด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิต ความร้้ ภ้มิปัญญา และ ภาษาท้องถิ่นอย่างลึกซึ้ง ทั้งร้้ถึงความแตกต่างทางขนบธรรมเนี ยม ประเพณีของแต่ละท้องถิ่น และสามารถสื่อสาร ถ่ายทอดได้ อย่างถ้กต้องรวมทั้ง สภาพของแหล่งท่องเที่ยว ข้อม้ลความร้้ของแหล่งท่อง เที่ยวนั้น ๆ เพื่อช่วยสร้างสี สันและความสนุกสนานในการนำาเที่ยวแต่ละครั้ง

1. 3 เป็ นนักวางแผนที่ดี ทั้งในการเตรียมความพร้อมชุมชน ร้ปแบบการ ท่องเที่ยว การให้บริการและสิ่งอำานวยความสะดวก ปลอดภัยในการท่อง เที่ยว โยไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 1. 4 มีภาวะผ้้นำา มีความสามารถในการสื่อความหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ 1. 5

มีความซื่อสัตย์ และจริงใจในการให้การบริการ

2. บุคลากรผู้ให้บริการ การจัดการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง จะประสบความสำาเร็จหรือไม่ขึ้นกับ

คุณภาพของผ้้ให้บริการ บุคลากรหรือผ้้ให้บริการจึงมีความสำาคัญมาก ต่อ ความสำาเร็จของผ้้ประกอบการท่องเที่ยวท้องถิ่น เพราะเป็ นธุรกิจครอบครัว ขนาดเล็ก หรือเป็ นการร่วมมือระหว่างคนในชุมชนร่วมกันทำากิจกรรมหรือ ให้บริการ 1. ให้ความสำาคัญกับการสรรหาและการพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นที่จะเข้า ร่วมในการจัดการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง โดยต้องชี้แจงให้เข้าใจถึง ประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการบริการ นักท่องเที่ยว 2. ให้ผลตอบแทนหรือกระจายรายได้อย่างเป็ นธรรม 3. สร้างความภาคภ้มิใจให้แก่ผ้ท่ีเข้ามาเป็ นส่วนหนึ่ งขององค์กร บุคลากรกลุ่มหนึ่ งที่มค ี วามสำาคัญต่อการให้บริการ คือ มัคคุเทศก์ท้องถิ่น เพราะมัคคุเทศก์ท้องถิ่นเป็ นผ้้ให้ความร้้และบริการอำานวยความสะดวก ระหว่างการเดินทางให้แก่ล้กค้า ล้กค้าจะประทับใจบริษท ั หรือมี ประสบการณ์ท่ีดีต่อการท่องเที่ยวครั้งนั้นหรือไม่ ส่วนหนึ่ งขึ้นอย่้กับ มัคคุเทศก์ การคัดเลือกและฝึ กอบรมผ้้ท่ีจะเป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิน ่ จึงเป็ นสิ่ง ที่ผ้ประกอบการนำาเที่ยวท้องถิน ่ ต้อง ใส่ใจเป็ นพิเศษ 3. ปั จจัยด้านการตลาด ปั จจัยที่จะนำาไปส่้ความสำาเร็จของ การจัดการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง อีก ปั จจัยหนึ่ ง คือ ด้านการตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความต้องการของนักท่อง เที่ยว ผ้้ประกอบการในด้านการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง จำาเป็ นต้องคำานึ งถึง หลัก 4 ประการ คือ 3.1 กำาหนดกิจกรรมท่องเที่ยวที่ชัดเจน Focus on activities เช่น ท่อง เที่ยวทางนำ้า เดินป่ า ล่องแก่ง ดำานำ้า ตกปลา ด้นก ปี นผา เป็ นต้น 3.2 กำาหนดกลุ่มล้กค้าเป้ าหมายที่ชัดเจน Target on specific group of clients เช่น กลุ่มนักท่องเที่ยวหน่ ุมสาว กลุ่มท่องเที่ยวผจญภัย นัก ธรรมชาติวิทยา ฯลฯ 3.3 กำาหนด สถานภาพด้านการตลาดที่ชัดเจน Market positioning หมายถึงการกำาหนดลักษณะการให้บริการ สิ่งอำานวยความสะดวก และ ราคา ให้ตรงกับความสามารถในการจ่ายของกลุ่มเป้ าหมาย 3.4 กำาหนดวิธีการและเครื่องมือสื่อสารการตลาดที่เหมาะสม Integrated Marketing Communication เช่น การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ การเสนอเป็ น บทความ หรือ สารคดีการท่องเที่ยว การทำา website การเชิญ ตัวแทนสื่อมวลชน หรือ บริษท ั นำาเที่ยวเข้ามาทดลองกิจกรรมการท่องเที่ยว หรือ เส้นทางนำา เที่ยวที่จัดขึ้น เป็ นต้น ดัชนี ช้ีวัดความส่าเร็จของการจัดการท่องเทีย ่ วอย่างพอเพียง วัตถุประสงค์ของการจัดการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง คือ 1. ด้านวัฒนธรรม - เป็ นการอนุรักษ์ ฟื้ นฟ้ และสืบทอดวัฒนธรรม 2. ด้านสิ่งแวดล้อม - รักษาสมดุลของธรรมชาติ แอละอนุรักษ์แหล่งท่อง 4..

เที่ยว 3.. ด้านเศรษฐกิจ - สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนในท้องถิน ่ ให้พอกิน พออย่้ 4. ด้านสังคม การมีส่วนร่วมของชุมชนในท้องถิ่น คุณภาพชีวิตดีขึ้น

ตัวอย่างการชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด 1. ด้านวัฒนธรรม มีการฟื้ นฟ้วัฒนธรรมเก่า ๆ ความภ้มิใจในการ เล่าเรื่องวัฒนธรรมตนเอง ไม่มก ี ารเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมเพื่อเอาใจ นักท่องเที่ยว มีการถ่ายทอดความร้้ด้านวัฒนธรรมแก่คน รุ่นใหม่ 2. ด้านสิ่งแวดล้อม แวดล้อมเป็ นร้ปธรรม

ชุมชนมีกิจกรรมด้านอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่ง

4. ด้านสังคม ตนเอง

เกิดผ้้นำาใหม่ ๆ ในชุมชน มีความภาคภ้มิใจใน

3. ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านมีรายได้เสริมจากการประกอบอาชีพ ท่องเที่ยว เช่น การขายอาหาร การขายเครื่องดื่ม บริการยานพาหนะสำาหรับ นักท่องเที่ยว ขายสินค้าที่ระลึก รายได้น้ันทำาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น

ด้านการท่องเที่ยวทั่วถึงกัน

มีส่วนร่วมในการทำางาน และได้รับประโยชน์

http://www.thma.org/th/index.php? option=com_content&task=view&id=20&Itemid=36

Related Documents

Dpu Place
June 2020 0
Dpu-model
July 2020 0
Dpu-model-sa Hranom
July 2020 0
Dpu (2007) - Objetiva
November 2019 3