Creative Economy 14092552

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Creative Economy 14092552 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,261
  • Pages: 7
รายได้ทเี่ กิดจากเศรษฐกิจสร้างสรรค์ประมาณร้อยละ 10 ของรายได้ทงั้ หมด และคาดว่าจะเพิม่ ขึน้ çประเทศไทยมี เป็นร้อยละ 20 ในปี 2555 เมื่อรัฐบาลเดินหน้าอัดฉีดงบประมาณกว่า 20,000 ล้านบาท เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทยอย่างจริงจัง โดยขณะนี้มีโครงการร่วมกว่า 100 โครงการ ที่จะได้รับการอนุมัติเงิน สนับสนุนจำนวน 3,800 ล้านบาท ในปี 2553é นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี

าและบริการทีเ่ กิดจากความคิดสร้างสรรค์ çกลุโดยมีม่ สิทนนุ ค้ทางวั ฒนธรรมและสังคมถือเป็นเครือ่ งมือ

ชนิดใหม่ทไี่ ด้รบั การยอมรับจากนักเศรษฐศาสตร์ ชัน้ นำจากทัว่ โลกว่าจะเป็นวิธแี ก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจโลก และเป็นกุญแจสำคัญทีจ่ ะเข้ามีบทบาทในการสร้าง ระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์คอื การพัฒนาซอฟต์แวร์ และดิจิตอลคอนเทนต์เทคโนโลยี

é

การเน้นการสร้างสรรค์ความคิด ç จุตัดง้ แต่แตกต่เด็กาๆงก็ด้ควอืยการเตรี ยมความพร้อมให้แก่เด็ก

และเยาวชนในเรื่องการศึกษาในเชิงสร้างสรรค์ เชือ่ มโยงกับท้องถิน่ และชุมชน โดยเชือ่ ว่าคนไทย เรามีจดุ แข็งในเรือ่ งเอกลักษณ์ ในเรือ่ งของศิลปาชีพ และการส่งเสริมในนวัตกรรมใหม่

é

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี

ร้อยตรีหญิงระนองรักษ์ สุวรรณฉวี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

ç

เปลี่ยนจากทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ให้มีคุณค่า ทางเศรษฐกิจส่งเสริมให้การซื้อขายแลกเปลี่ยน สิ ท ธิ ใ นทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาเพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่มให้กับธุรกิจประเภทต่างๆ

é

นายอลงกรณ์ พลบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์

เป็ น โอกาสที่ ดี ข องผู้ ส ร้ า งสรรค์ ง านศิ ล ป çนัวัฒบนธรรม ทีจ่ ะนำกระบวนการ “คิดอย่างสร้างสรรค์”

และ “สร้างแรงบันดาลใจจากพืน้ ฐานทางวัฒนธรรม และภูมปิ ญ ั ญาทีส่ งั่ สมของสังคม” มาสร้างคุณค่า ทางเศรษฐกิ จ และเชื่ อ มโยงไปสู่ ก ารสร้ า ง คุณค่าทางสังคม

é

นายธีระ สลักเพชร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม

ç การนำข้อมูลเชิงวัฒนธรรมจากรากหญ้า ทีเ่ กิดจาก

ชุมชนเครือข่าย และข้อมูลจากหน่วยงานมา ผสมผสานกับเทคโนโลยีทำให้มีการเพิ่มทุนทาง วัฒนธรรม ก่อให้เกิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ นำขี ด ความสามารถทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีไปใช้เป็นเครื่องมือช่วยให้ประชาชน สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และฐานข้อมูลทาง ศิลปวัฒนธรรม และนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง เท่าเทียมกัน

é

ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

รัฐบาลขับเคลือ่ นเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์? ในหลายทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยพึ่งพาเศรษฐกิจเชิงเกษตรกรรม ที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นทุนหลัก แต่ไม่นานนักทัว่ โลกก้าวเข้าสูร่ ะบบ อุตสาหกรรม ประเทศไทยจึงต้องปรับตัวเพื่อเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมโดยประยุกต์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาผสมผสานกับ ทุนทางการเงินและทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ จนมาถึงปัจจุบัน เมื่อทั่ว โลกต้องเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจ ประเทศไทยจึงได้รบั ผลกระทบอย่าง หลีกเลีย่ งไม่ได้ มูลค่าการส่งออกทีล่ ดต่ำลง อัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจที่ติดลบ และภาวะซบเซาในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว ล้วน สะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า กลไกที่ ท ำหน้ า ที่ ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ บนพื้ น ฐาน

ของระบบอุตสาหกรรมแบบเดิมนั้นเสื่อมประสิทธิภาพ ประเทศไทยจึง จำเป็นต้องหาเครื่องมือใหม่ที่มีประสิทธิภาพกว่า รวมทั้งแสวงหาแหล่ง ทุนใหม่มาทดแทน

ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลไทย ภายใต้การนำของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี

อภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ จึงประกาศให้การสร้างระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

ในประเทศไทยเป็นวาระแห่งชาติ โดยให้บรรจุไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 พร้อมกับงบประมาณสนับสนุนจำนวน กว่า 2 หมื่นล้านบาท และมอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ ซิป้า เป็นหน่วยงานที่ร่วม

ขั บ เคลื่ อ นในการนำประเทศไทยสู่ ก ารเป็ น ผู้ น ำของระบบเศรษฐกิ จ

เชิงสร้างสรรค์ในภูมิภาคเอเชียและระดับโลกในอนาคต

พันธสัญญาของรัฐบาลทีจ่ ะกระตุน้ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ทงั้ 12 ด้าน มี ดังนี้ ด้านที่ 1 ยกระดั บ โครงสร้ า งพื้ น ฐานเพื่ อ สนั บ สนุ น ระบบเศรษฐกิ จ สร้างสรรค์ (Creative Infrastructure) พันธสัญญาที่ 1 : จั ด ให้ มี ห น่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบโดยตรงในการขั บ เคลือ่ นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ภายใน 6 เดือน (Creative Economy Agency) พันธสัญญาที ่ 2 : ปรับระบบการดูแลและการบริหารจัดการทรัพย์สิน

ทางปัญญา ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดทั้งระบบภายใน 6 เดือน พันธสัญญาที ่ 3 : พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

เพื่อสนับสนุนธุรกิจและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์

เช่น ระบบ 3G, Fiber Optics, Broadband และ WiMAX

ด้านที่ 2 สร้างรากฐานและปลูกฝังความสามารถด้านการคิด และการ สร้างสรรค์ ในระบบการศึกษาไทย (Creative Education & Human Resource) พันธสัญญาที ่ 4 : เพิม่ กิจกรรมสร้างสรรค์ในหลักสูตรการเรียนการสอน

จัดให้มวี ชิ าเรียนตำราเรียนเกีย่ วกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และทรัพย์สนิ ทาง ปัญญา ภายในปีการศึกษาหน้าเพือ่ สร้างรากฐานด้านความคิดสร้างสรรค์

ให้แก่ระบบการศึกษาไทย

พันธสัญญาที ่ 5 : สนับสนุนทักษะช่างเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับการ ออกแบบดีไซน์ ศิลปะแขนงต่างๆ และรวมทัง้ เพิม่ จำนวนบุคลากร และกำลัง

ทัง้ นี้ รัฐบาลได้เสนอพันธสัญญา 12 ข้อ ครอบคลุม 4 ด้านเพือ่ เป้าหมาย คนที่มีขีดความสามารถในด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ หลัก 2 ข้อ คือ ด้านที ่ 3 กระตุ้นให้ทุกภาคส่วนให้ความสำคัญกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 1. ทำให้ประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

(Creative Society & Inspiration) ในภูมิภาคอาเซียน พันธสัญญาที่ 6 : ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในระดับภูมภิ าคและระดับ 2. เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์จาก ท้องถิน่ เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ และสร้างรายได้ภายในพืน้ ที่ โดยการต่อยอด ร้อยละ 12 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ เป็นร้อยละ 20 ภูมปิ ญ ั ญาไทย ภายในปี 2555

สารจากผูอ้ ำนวยการ

พันธสัญญาที ่ 7 : ยกย่องความสำเร็จของคนไทยที่มีผลงานความคิด สร้างสรรค์ที่ทำชื่อเสียงให้แก่ประเทศชาติและสนับสนุนโครงการต่างๆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดกระแสเมืองไทยเมืองนักคิด หรือนิยมวัฒนธรรมหรือ ในทศวรรษทีผ่ า่ นมา เศรษฐกิจของโลกขับเคลือ่ นด้วยระบบอุตสาหกรรม เน้นการผลิตในปริมาณมาก เพื่อตอบสนองตลาดการบริโภคที่สูงขึ้น ศิลปะไทยต่อประชาคมโลก ประเทศไทยจึ ง เป็ น ฐานการผลิ ต ของอุ ต สาหกรรมประเภทต่ า งๆ พันธสัญญาที ่ 8 : จัดให้มีพื้นที่กิจกรรมและแสดงผลงานที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากความได้เปรียบทางด้านทรัพยากรบุคคล ค่าจ้างแรงงานต่ำ กับความคิดสร้างสรรค์ (Creative Zone) เพิ่มขึ้นในสถานที่ต่างๆ ทัง้ ใน การพัฒนาประเทศในอดีตจึงมีการสร้างสรรค์และการสร้างมูลค่าเพิ่ม กรุงเทพฯและส่วนภูมภิ าค เช่น พืน้ ทีท่ ศั นศิลป์ (Visual Art Zone) พื้นที่ศิลปะ น้อยกว่าทีค่ วร ทำให้การพัฒนาประเทศไม่มคี วามต่อเนือ่ ง และไม่ประสบ การแสดง (Performing Art Zone) เพื่อเปิดกว้างให้นกั คิด นักสร้างสรรค์ ความสำเร็จเหมือนกับประเทศอื่นๆ นำเสนอผลงานสร้างสรรค์โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย เราต้องกลับมาพิจารณาหาแนวทางใหม่ในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของชาติกนั ด้านที ่ 4 ส่งเสริมสนับสนุนธุรกิจและอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับเศรษฐกิจ ใหม่ ซึง่ Creative Economy คือแนวทางการพัฒนาด้วยการดึงเอาทุน สร้างสรรค์ (Creative Business Development & Investment) ทางด้ า นวั ฒ นธรรมและสั ง คมมาสร้ า งเป็ น มู ล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ และหัวใจของการพัฒนา Creative Economy ให้ประสบความสำเร็จใน พันธสัญญาที่ 9 : จั ด ตั้ ง กองทุ น เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ แ ละสนั บ สนุ น ครัง้ นี้ คือความฉลาดในการใช้เทคโนโลยีซอฟต์แวร์และดิจติ อลคอนเทนต์ แหล่งเงินทุนต่างๆ เพือ่ รองรับการเริม่ ต้นธุรกิจจนถึงต่อยอดธุรกิจของภาค เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาประเทศ เอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

ดร.รุ่งเรือง ลิ้มชูปØิภาณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอøต์แวร์แห่งชาติ

พันธสัญญาที ่ 10 : จั ด ให้ มี ม าตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น สำหรั บ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ พร้อมทั้งแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย และจัดให้มี พ.ร.บ. ส่งเสริมและสนับสนุนเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดยเฉพาะ เพือ่ ส่งเสริม การลงทุนและการต่อยอดทางธุรกิจของภาคเอกชน

สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ ซิปา้ (SIPA) ในฐานะหน่วยงานภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีบทบาทสำคัญ ในการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ซึ่งได้รับมอบหมาย จากรัฐบาลให้เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนประเทศไทยเข้าสู่ พันธสัญญาที ่ 11 : ส่งเสริมด้านการตลาด กิจกรรมเชิงพาณิชย์และการส่ง ระบบเศรษฐกิ จ เชิ ง สร้ า งสรรค์ โ ดยการสนับสนุนทางด้านเทคโนโลยี เสริมการส่งออกสินค้า หรือบริการสำหรับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ไทยสู่ ซอฟต์แวร์และบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถทางด้านไอทีแบบครบ ตลาดโลก วงจร ทัง้ นีเ้ พือ่ นำประเทศไทยสูก่ ารเป็นผูน้ ำของเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ พันธสัญญาที ่ 12 : จัดสรรงบประมาณตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ในภูมิภาคเอเชีย 2553-2555 เพือ่ วางรากฐานและขับเคลือ่ นโครงการเศรษฐกิจสร้างสรรค์ใน ซิปา้ มีแนวคิดใหม่เพือ่ การพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส และเปลีย่ นประเทศไทย วงเงิน 20,000 ล้านบาท สูก่ ารเป็นสวรรค์ของนักสร้างสรรค์แห่งเอเชียและระดับโลก ด้วยเศรษฐกิจ เชิงสร้างสรรค์ ซึ่งคนไทยเป็นคนที่มีความสามารถ และมีศักยภาพสูง ไม่ด้อยกว่าประเทศใดในโลก หากเรารู้จักนำเอาความได้เปรียบของเรา มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อสร้างรายได้และมูลค่าทางเศรษฐกิจ และนี่คือโอกาสของประเทศไทยอย่างแท้จริง

เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์คอื อะไร? นิยามหรือคำจำกัดความของเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ หรือ Creative Economy มีความหลากหลายและถูกพัฒนาตามแนวคิดของสำนักต่างๆ

ในการนี้เราจะถือเอานิยามและขอบเขตของเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ตาม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ว่า “เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์” คือ แนวคิดการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจบนพืน้ ฐาน

ของการใช้องค์ความรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์

ผลงาน (Creativity) และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual property) ที่เชื่อมโยงกับรากฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรู้ของ สังคมและเทคโนโลยีนวัตกรรมสมัยใหม่ การจั ด แบ่ ง ประเภทของอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์สามารถแบ่งได้ หลายประเภทตามชนิดของสินค้าและบริการหรือตามกิจกรรมการผลิต หากอิงตามการแบ่งกลุ่มของการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้า และการพัฒนาหรือ อังค์ถัด (UNCTAD) จะสามารถแบ่งประเภท อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ออกเป็น 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ มรดกทาง

• กลุม่ งานสร้างสรรค์และออกแบบ ประกอบด้วย การออกแบบ สถาปัตยกรรม

แฟชั่น การโฆษณา และซอฟต์แวร์ จากการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

พบว่า ในปี 2549 มูลค่าของอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ของไทยมีประมาณ 840,621 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 10.7 ของจีดพี ี หากเราสามารถเพิม่ มูลค่า จากอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์นี้เพียงแค่ 10% จากมูลค่าที่มีอยู่ในปัจจุบัน

เราจะสามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศไทยได้อย่างมหาศาล

ประเทศไทย...สวรรค์เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ปั จ จุ บั น ประชาคมโลกที่ มี ก ารพั ฒ นาแล้ ว มี ค วามต้ อ งการในการบริ โ ภค

สือ่ ข้อมูลข่าวสาร สือ่ บันเทิงต่างๆ มากกว่าการบริโภคอาหาร ภายในระยะเวลา

3-5 ปี ธุรกิจสือ่ ต่างๆ เหล่านีจ้ ะขยายตัวไปพร้อมกับการย้ายฐานการผลิต

จากอเมริกาและยุโรป มาสู่ประเทศในเอเชียที่มีต้นทุนต่ำกว่า เช่นเดียวกับ การย้ายฐานการผลิตของอุตสาหกรรมชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรม

ยานยนต์ในอดีต

วัฒนธรรม (Heritage or Cultural Heritage) ศิลปะ (Arts) สื่อ (Media) ประเทศไทย เป็นประเทศทีม่ คี วามพร้อมในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

ในหลายด้านด้วยกัน ประการแรก คือ ความร่ำรวยทางประวัติศาสตร์ ศิลป และงานสร้างสรรค์ตามลักษณะงาน (Functional Creation) วัฒนธรรม และภูมิปัญญา ซึ่งถือเป็นแหล่งทุนทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าและ สำหรับประเทศไทย ทางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ จะก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มจำนวนมหาศาลหากนำไปต่อยอดในระบบเศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติ ได้จดั ประเภทของอุตสาหกรรมโดยแบ่งเป็น 4 กลุม่ หลักตาม เชิงสร้างสรรค์ แบบอังค์ถัด และ 15 กลุ่มย่อย ซึ่งเป็นการกำหนดกรอบโดยกว้างเพื่อ ประโยชน์ในการวัดขนาดทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ นอกจากนี้ บุคลากรไทยมีทักษะและความสามารถด้านความเป็นช่างฝีมือ และความคิดสร้างสรรค์สูง หากได้รับการอบรมส่งเสริม พัฒนาฝีมือและ ของไทยและสะท้อนถึงความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ ได้แก่ พรสวรรค์ที่มีอยู่ให้สอดคล้องกับความต้องการในอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ • กลุ่มมรดกทางวัฒนธรรม ประกอบด้วยงานฝีมือและหัตถกรรม ประเทศไทยจะมี บุ ค ลากรที่ มี คุ ณ ภาพเพี ย งพอต่ อ การขั บ เคลื่ อ นระบบ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม/ความหลากหลายทางชีวภาพ การแพทย์ เศรษฐกิจต่อไป ยิ่งไปกว่านั้น ประเทศไทยเป็นสังคมเปิด คนในสังคมสามารถ แผนไทย และอาหารไทย ยอมรับความแตกต่างทางความคิด และมีความเป็นมิตรกับคนทุกเชื้อชาติ

ทุ กภาษา ทำให้เกิดบรรยากาศทีเ่ อือ้ ต่อธุรกิจและการลงทุน และเป็นแรงดึงดูด • กลุม่ ศิลปะ ประกอบด้วยศิลปะการแสดง และทัศนศิลป์ อันทรงพลังทีจ่ ะทำให้ตา่ งชาติเข้ามาลงทุนมากขึน้ • กลุ่มสื่อสมัยใหม่ ประกอบด้วยภาพยนตร์และวีดิทัศน์ การกระจาย จากคุณลักษณะอันโดดเด่นของสังคมไทยดังกล่าว เมือ่ ประกอบกับการพัฒนา

เสียงการพิมพ์ และดนตรี โครงสร้างพื้นฐานซึ่งใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านไอทีเข้ามาช่วยด้วยแล้ว

ประเทศไทยจึงมีโอกาสประสบความสำเร็จในการเป็นผู้นำเศรษฐกิจ • ระบบเทคโนโลยีขนั้ สูงคุณภาพระดับโลก เชิงสร้างสรรค์ของภูมภิ าคเอเชีย โดยถือเป็นแนวทางและความหวังใหม่ท ี่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟต์แวร์ และดิจิตอลคอนเทนต์เป็นเครื่องมือ จะสามารถนำพาประเทศให้รอดพ้นจากวิกฤติเศรษฐกิจโลกได้จริง สำคัญในการขับเคลือ่ นระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ การทีป่ ระเทศไทย

จะสร้ า งศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น และเป็ น ผู้ น ำในระบบเศรษฐกิ จ ใหม่ นี้ จำเป็ น ต้ อ งมี เ ครื่ อ งมื อ ที่ ถู ก ต้ อ งและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในระดั บ สากล ดังที่ได้กล่าวไว้ว่า เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ คือการแปลงทุนทางสังคม นอกจากนั้น ซอฟต์แวร์และดิจิตอลคอนเทนต์เทคโนโลยีมีการพัฒนา และวั ฒ นธรรมให้ เ ป็ น สิ น ค้ า และบริ ก ารที่ มี มู ล ค่ า ทางเศรษฐกิจสูง เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ประเทศไทยจึงต้องมีศูนย์พัฒนาและรองรับ ด้วยบุคลากรทีม่ คี วามคิดสร้างสรรค์บวกกับเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับ การเปลี่ยนแปลงนั้น เพื่อให้บุคลากรในแวดวงอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีประสิทธิภาพและทันสมัยอยู่เสมอ โลก แต่หัวใจของเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ที่แท้จริง ต้องประกอบด้วย

หัวใจสำคัญของเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

• ผูน้ ำทีเ่ ข้มแข็ง

• ความร่วมมือระหว่างประเทศ

การมีผนู้ ำทีเ่ ข้มแข็งจะส่งผลดีในด้านการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ ในโลกปัจจุบนั การสร้างเครือข่ายเพือ่ สนับสนุนอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจ

ที่จำเป็นต่อการพัฒนาประเทศอย่างเป็นรูปธรรม และเป็นทีช่ ดั เจนว่า เชิงสร้างสรรค์ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ จาก

รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ ได้ให้ความสำคัญแก่นโยบาย

ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ทัง้ ใน

ด้านซอฟต์แวร์และสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ โดยสนับสนุนให้มกี ารวิจยั และพัฒนา

รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร เพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลาง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในภูมิภาค

ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งไม่ได้จำกัดเฉพาะเครือข่ายใน ประเทศ ต้องมีการขยายผลไปยังเครือข่ายในต่างประเทศด้วย ซึ่งจะ สามารถสร้างความได้เปรียบในการต่อรองและการแข่งขันในเวทีโลก

• การพัฒนาทรัพยากรบุคคล

บทบาทของซิป้าในการขับเคลื่อน

เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

การพัฒนาทางด้านบุคลากรเป็นการสร้างคนเพื่อรองรับการพัฒนาของ อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ในโลกสมัยใหม่ ซึ่งจะต้องเริม่ ตัง้ แต่ระดับ เยาวชน ทัง้ ในระบบและนอกระบบการศึกษา รวมถึงการพัฒนา

บุคลากรและผูป้ ระกอบการทีอ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรม ให้มคี วามรูค้ วามสามารถ และศักยภาพการแข่งขันในระดับโลก เพื่อก่อให้เกิดการสร้างสรรค์สนิ ค้า และบริการใหม่ๆ อันจะนำมาสู่การสร้างรายได้และมูลค่าทางเศรษฐกิจ ให้กับประเทศต่อไป

ในความเป็นจริง ประเทศไทยมีอตุ สาหกรรมและธุรกิจเชิงสร้างสรรค์มา นานแล้ว อาทิ การผลิตเพลง ภาพยนตร์ สื่อบันเทิงและโฆษณา และ การออกแบบเพื่อประโยชน์ใช้สอยต่างๆ แต่สิ่งสำคัญในทศวรรษนี้ คือ

ความสามารถในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟต์แวร์ และสือ่ อิเล็กทรอนิกส์

เข้ามาใช้ เพือ่ ดัดแปลงทุนทางสังคมและวัฒนธรรมเหล่านี้ โดยใช้ซอฟต์แวร์

เทคโนโลยีให้เป็นสินค้าและบริการในภาคอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์

ที่โดดเด่น และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ

สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ ซิป้า เป็นองค์กรที่ช่วยสนับสนุนให้ความรู้ และเทคโนโลยี ตลอดจน อุปกรณ์เครือ่ งมือต่างๆ ทีจ่ ำเป็นต่อการพัฒนาในอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ โดยได้ ด ำเนิ น การสอดคล้ อ งกั บ นโยบายของรั ฐ บาลปั จ จุ บั น และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ในด้านต่างๆ ดังนี้

(Digital Creative Center) โครงการศูนย์กลางการศึกษาและพัฒนา บุคลากรสำหรับอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ (National Creativity Academy) นอกจากนี้ ยังมีการสนับสนุนให้บริษทั ยักษ์ใหญ่ดา้ นซอฟต์แวร์ ระดับโลกมาตั้งศูนย์วิจัยในประเทศไทย อาทิ IBM Excellent Centre in Thailand และ Microsoft Regional Innovation Centre in Thailand

4. การสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทัง้ ภายในและต่างประเทศ เพือ่ ร่วมพัฒนา ทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ ประเทศไทย โดยเริม่ จากความร่วมมือกับกลุม่ ประเทศพันธมิตรในภูมภิ าคเอเชีย ภายใต้ แนวคิด “Asia is One” ในการขับเคลือ่ นภาคอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ ในการนี้ ซิปา้ ได้เป็นผูน้ ำในการจัดตัง้ สมาคมอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ 2. ด้ า นการพั ฒ นาบุ ค ลากรสำหรั บ อุ ต สาหกรรมเชิ ง สร้ า งสรรค์ แห่งเอเชีย หรือ Association of Asian Creative Industries (AACI) เน้นการพัฒนาทักษะทัง้ ในกลุม่ ของผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรม รวมถึง เพื่อเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือระหว่างกลุ่มประเทศในเอเชีย การเตรี ย มความพร้ อมให้กับ เยาวชนเพื่อรองรั บการเติบ โตของภาค เพือ่ การพัฒนาและเพิม่ ศักยภาพการแข่งขันทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมในอนาคต ซอฟต์แวร์ และดิจิตอลคอนเทนต์เทคโนโลยีของภูมิภาคในตลาดโลก 1.ด้านการวิจยั และพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ เพือ่ รองรับการเป็น ศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในภูมภิ าค ผ่านโครงการ ศูนย์วจิ ยั พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมไอซีที (R&D and Innovation Paradise)

• โครงการอบรม CSEM หรือ Creative/ Science/ Engineering/

5. การแก้ ไขกÆเกณ±์ข้อบังคับของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม Management เพื่ออบรมให้เยาวชนไทยมีความรู้ในสหวิชาที่จำเป็นต่อ การลงทุน และให้สทิ ธิพเิ ศษทางด้านภาษีแก่ผปู้ ระกอบการในอุตสาหกรรม การสร้างผลงานในอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ เชิงสร้างสรรค์ • โครงการอบรม SSME Fast Track Program เป็นโครงการพัฒนา บุคลากรระยะสั้นที่ได้ความร่วมมือจาก NECTEC และบริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จำกัด โดยเน้นหลักสูตรวิทยาศาสตร์การบริการ เพื่อเตรียม ความพร้อมของบุคลากรก่อนการเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง โครงการนี้ได้รับความสนใจจากประเทศเพื่อนบ้านเป็นอย่างยิ่งโดย เฉพาะประเทศเวียดนาม และสิงคโปร์ 3. ด้ า นการสร้ า งโครงสร้ า งพื้ น ฐานสำหรั บ ผู้ ป ระกอบอุ ต สาหกรรม เชิงสร้างสรรค์ ซิป้าพยายามผลักดันให้ประเทศไทยมีโครงสร้างพื้นฐาน เพือ่ ให้บริการแก่ภาคเอกชน ผ่านโครงการศูนย์กลางผลิตดิจติ อลคอนเทนต์

นอกจากนี้ ซิป้า ยังมีการจัดงานนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์ ประเภทต่างๆ รวมทั้งการประกวดผลงานสร้างสรรค์ทั้งในระดับประเทศ และนานาชาติอย่างสม่ำเสมอ เพือ่ กระตุน้ ให้เยาวชนคนรุน่ ใหม่ ตลอดจน ผู้ประกอบการได้แสดงออกซึ่งความคิดสร้างสรรค์และนำไปต่อยอดทาง ธุรกิจได้ในอนาคต รวมทัง้ เป็นการแสวงหาความร่วมมือกับนานาประเทศ ในการทีจ่ ะสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์อย่างเป็นรูปธรรมมากยิง่ ขึน้ อีกด้วย

Related Documents

Creative Economy
May 2020 10
Creative
November 2019 43
Creative
December 2019 37
Creative
May 2020 24
Economy
May 2020 30