Checkup Explain

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Checkup Explain as PDF for free.

More details

  • Words: 245
  • Pages: 3
คําชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการตรวจสุขภาพของลูกจาง และสงผลการตรวจแกพนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๗ กระทรวงแรงงานไดอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๑๐๗ แหง พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ออกกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการตรวจ สุขภาพของลูกจางและสงผลการตรวจแกพนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งมีผลใชบังคับเมื่อพน กําหนดเกาสิบวันนับแตวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป กลาวคือ มีผลใชบงั คับตั้งแตวนั ที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนตนไป (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๔ ก วันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๘) จึงขอชี้แจงรายละเอียดของกฎกระทรวงฉบับดังกลาว เพื่อความเขาใจและปฏิบัติ อยางถูกตอง ดังตอไปนี้ ๑. “การตรวจสุขภาพ” ตามกฎกระทรวงฉบับนี้หมายความวา การตรวจรางกายและสภาวะ ทางจิตใจตามวิธีทางการแพทย เพื่อใหทราบถึงความเหมาะสม และผลกระทบตอสุขภาพของลูกจางอันอาจ เกิดจากการทํางาน ๒. “งานเกี่ยวกับปจจัยเสี่ยง” ตามกฎกระทรวงฉบับนี้หมายความวา งานที่ลูกจางทําเกี่ยวกับ ๒.๑ สารเคมีอันตรายตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด ๒.๒ จุลชีวันเปนพิษซึง่ อาจเปนเชื้อไวรัส แบคทีเรีย รา หรือสารชีวภาพอืน่ ตามที่ รัฐมนตรีประกาศกําหนด ๒.๓ กัมมันตภาพรังสี ๒.๔ ความรอน ความเย็น ความสัน่ สะเทือน ความกดดันบรรยากาศ แสง เสียง หรือ สภาพแวดลอมอื่นที่อาจเปนอันตราย ทั้งนี้ ตามทีร่ ัฐมนตรีประกาศกําหนด ๓. กฎกระทรวงฉบับนี้กําหนดใหนายจางทีใ่ หลูกจางทํางานเกีย่ วกับปจจัยเสี่ยง ตองดําเนินการ เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการทํางาน ดังนี้

-๒๓. ๑ จัดใหลูกจางไดรบั การตรวจสุขภาพจากแพทยที่มีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ ๓.๑.๑ เปนแพทยแผนปจจุบันชั้นหนึง่ ที่ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ดานอาชีวเวชศาสตร หรือ ๓.๑.๒ ผานการอบรมดานอาชีวเวชศาสตร หรือ ๓.๑.๓ มีคุณสมบัติตามที่อธิบดีประกาศกําหนด ๓.๒ จัดใหลูกจางไดรบั การตรวจสุขภาพตามกําหนดระยะเวลาการตรวจ ดังนี้ ๓.๒.๑ ตรวจสุขภาพลูกจางครัง้ แรกใหเสร็จสิน้ ภายในสามสิบวันนับแตวนั ที่รับ ลูกจางเขาทํางาน ๓.๒.๒ ตรวจสุขภาพลูกจางครัง้ ตอไปอยางนอยปละหนึง่ ครัง้ ๓.๒.๓ ในกรณีที่ลักษณะหรือสภาพของงานที่เกีย่ วกับปจจัยเสีย่ งนั้น มีความจําเปน ตองตรวจสุขภาพตามระยะเวลาอื่น ใหนายจางจัดใหมีการตรวจสุขภาพลูกจางตามระยะเวลานั้น ๓.๒.๔ ในกรณีที่นายจางเปลี่ยนงานของลูกจาง โดยที่งานนัน้ มีอันตรายแตกตางไป จากเดิม นายจางตองจัดใหมกี ารตรวจสุขภาพของลูกจางทุกครั้งใหเสร็จสิ้นภายในสามสิบวันนับแตวันที่ เปลี่ยนงาน ๓.๓ ในกรณีที่ลกู จางหยุดงานสามวันทํางานติดตอกันเนื่องจากประสบอันตรายหรือ เจ็บปวยไมวากรณีใด ๆ นายจางอาจขอความเห็นจากแพทยผูทําการรักษา หรือแพทยประจําสถานประกอบ กิจการ หรือจัดใหมีการตรวจสุขภาพของลูกจางกอนใหลกู จางกลับเขาทํางานอีกก็ได ๓.๔ จัดใหมีสมุดสุขภาพประจําตัวของลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับปจจัยเสี่ยงตามแบบทีอ่ ธิบดี ประกาศกําหนด และบันทึกผลการตรวจสุขภาพของลูกจางในสมุดสุขภาพประจําตัวของลูกจางตามผลการตรวจ ของแพทยทกุ ครั้งที่มกี ารตรวจสุขภาพ ๓.๕ เก็บบันทึกผลการตรวจสุขภาพรวมทั้งขอมูลสุขภาพอื่นที่เกีย่ วของและพรอมทีจ่ ะให พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบไดตลอดเวลา โดยใหเก็บไว ณ ที่ทําการของนายจางไมนอยกวาสองป นับแต วันสิน้ สุดของการจางแตละราย เวนแตมกี ารรองทุกขวานายจางไมปฏิบัตติ ามกฎหมายหรือมีการฟองรองคดี เกีย่ วกับโรคหรืออันตรายอยางใดตอสุขภาพของลูกจาง แมจะพนเวลาที่กําหนด ใหนายจางเก็บรักษาเอกสารนัน้ ไวจนกวาจะมีคําสั่งหรือคําพิพากษาถึงที่สุดเกี่ยวกับเรือ่ งดังกลาว ทัง้ นี้ มิใหนายจางนําขอมูลนัน้ ไปใชในทางที่ เปนโทษแกลกู จางโดยไมมเี หตุอันสมควร

-๓๓.๖ แจงผลการตรวจสุขภาพใหแกลูกจาง ดังนี้ ๓.๖.๑ กรณีผลการตรวจสุขภาพผิดปกติ ใหแจงแกลูกจางผูนั้นภายในระยะเวลา สามวันนับแตวันทีท่ ราบผลการตรวจ ๓.๖.๒ กรณีผลการตรวจสุขภาพปกติ ใหแจงแกลกู จางผูนนั้ ภายในระยะเวลาเจ็ดวัน นับแตวนั ที่ทราบผลการตรวจ ๓.๗ จัดใหลกู จางไดรับการรักษาพยาบาลทันทีที่พบความผิดปกติของลูกจาง หรือลูกจางมี อาการหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทํางาน และทําการตรวจสอบหรือหาสาเหตุของความผิดปกติเพื่อประโยชนใน การปองกัน ๓.๘ ใหนายจางสงผลการตรวจสุขภาพของลูกจางทีพ่ บความผิดปกติหรือการเจ็บปวย การใหการรักษาพยาบาลและการปองกันแกไขตอพนักงานตรวจแรงงานตามแบบที่อธิบดีประกาศกําหนด ภายใน สามสิบวันนับแตวันทีท่ ราบความผิดปกติหรือการเจ็บปวย ๓.๙ ใหนายจางเปลี่ยนงานใหแกลกู จางในกรณีที่ลกู จางมีหลักฐานทางการแพทยจาก สถานพยาบาลของทางราชการ หรือที่ทางราชการยอมรับแสดงวาไมอาจทํางานในหนาทีเ่ ดิมได ๓.๑๐ ใหนายจางมอบสมุดสุขภาพประจําตัวลูกจางที่ทํางานเกีย่ วกับปจจัยเสี่ยงใหแก ลูกจางเมื่อสิ้นสุดการจาง ๔. หนาที่ของแพทยผูทําการตรวจสุขภาพ ๔.๑ บันทึกรายละเอียดเกีย่ วกับผลการตรวจสุขภาพ โดยใหระบุความเห็นของแพทยที่ บงบอกถึงสภาวะสุขภาพของลูกจางทีม่ ีผลกระทบหรือเปนอุปสรรคตอการทํางานหรือลักษณะงานที่ไดรับ มอบหมายของลูกจาง ๔.๒ ลงลายมือชื่อแพทยผูทําการตรวจหรือใหความเห็นในวันที่ทําการตรวจหรือ ใหความเห็นนัน้ ทั้งนี้ ในการจัดใหมีสมุดสุขภาพประจําตัวของลูกจาง การตรวจสุขภาพของลูกจางเมื่อแรกรับ ตรวจสุขภาพเมื่อเปลี่ยนงานที่มีอันตรายแตกตางไปจากเดิม และการตรวจสุขภาพประจําป รวมทัง้ การ ดําเนินการใด ๆ ตามกฎกระทรวงนี้ใหนายจางเปนผูออกคาใชจาย กระทรวงแรงงาน เมษายน ๒๕๔๘

Related Documents

Checkup Explain
October 2019 21
Checkup
October 2019 16
Checkup
November 2019 10
Checkup
November 2019 15
Checkup
November 2019 14
Checkup
October 2019 17