Chapter01 Introduction And Conceptual Modeling

  • Uploaded by: Phichya Laemluang
  • 0
  • 0
  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Chapter01 Introduction And Conceptual Modeling as PDF for free.

More details

  • Words: 1,269
  • Pages: 10
1-1

2110422 การออกแบบระบบการจัดการฐานขอมูล ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บทที่ 1* ฐานขอมูลเบื้องตนและแบบจําลองเชิงแนวคิด Introduction and Conceptual Modeling วัตถุประสงค 1. เพื่อใหมีความเขาใจในฐานขอมูลเบื้องตน 2. เพื่อใหมีความเขาใจในแบบจําลองเชิงแนวคิด 3. เพื่อใหมีความเขาใจในเรื่องกลยุทธฐานขอมูล และ สามารถนําไปประยุกตใชในการออกแบบฐานขอมูลตอไปได 4. เพื่อใหมีความเขาใจในการเขาใชขอมูลและสามารถแยกประเภทของผูใชขอมูลได 5. เพื่อใหมีความเขาใจในเรื่องของวิวัฒนาการฐานขอมูล

1.1

ชนิดของฐานขอมูลและแอปพลิเคชันของฐานขอมูล ในชีวิตประจําวันเรามักจะพบหรือตองใชฐานขอมูลอยูเสมอและอาจทําไปโดยไมรูตัว เชน การถอนเงินผานเอทีเอ็ม การจองตั๋วเครื่องบิน การยืมหนังสือจากหองสมุด เปนตน โดยทั่วไปแลัวขอมูลในฐานขอมูลนั้นอาจเปนขอความ (Text) หรือตัวเลข (Numeric) แตก็มีฐานขอมูลชนิดพิเศษอีกหลายชนิดที่ควรรูจัก เชน • ฐานขอมูลมัลติมีเดีย (Multimedia Database) ที่สามารถรองรับรูปภาพ คลิปวีดิทัศน (Video Clips) รวมทั้งขอความเสียงดวย • ฐานขอมูลทางภูมิศาสตร (Geographical Database) ที่สามารถจัดเก็บขอมูลแผนที่ ขอมูลภูมิอากาศ หรือภาพถายดาวเทียม • คลังขอมูล (Data Warehouse) มีความสามารถในการสกัด (Extract) ขอมูลจากขอมูลจํานวนมาก และมีเครื่องมือที่ชวยในการวิเคราะหขอมูลเพื่อใชในการตัดสินใจ • ฐานขอมูลแบบทันกาลเชิงรุก (Real-time and Active Database) ซึ่งมีความสามารถพิเศษในการ ควบคุมกระบวนงานในงานอุตสาหกรรมและการผลิต

1.1.1 ฐานขอมูล (Database) ฐานขอมูล (Database) คือกลุมของขอมูลที่เกี่ยวของกัน และขอมูล (Data) คือขอเท็จจริงที่สามารถบันทึกไดและมี ความหมายโดยปริยาย คุณสมบัติของฐานขอมูล ซึ่งสามารถเรียกไดวา มินิเวิรลด • สามารถเปนตัวแทนเหตุการณหรือเปนแบบจําลองของปญหาจริง (Mini-world) มินิเวิรลดคือแบบจําลองปญหาจริง หรือสวนหนึ่งของปญหาจริงที่ขอมูลในฐานขอมูลนั้น เกี่ยวของ เชน ฐานขอมูลการลงทะเบียนของนิสิตในมหาวิทยาลัย • ขอมูลที่เก็บไวในฐานขอมูลเดียวกันควรมีความเกี่ยวของกันและมีความหมายในตัวเอง • ไดถูกออกแบบ สราง และบรรจุขอมูลลงในฐานขอมูลเพื่อวัตถุประสงคอันใดอันหนึ่งที่แนชัด

1.1.2 ระบบฐานขอมูล (Database System) ระบบการจัดการฐานขอมูล (Database Management System-DBMS) คือ ซอฟตแวรที่ใชในการสรางและ บํารุงรักษาขอมูลและฐานขอมูลในคอมพิวเตอร

* อางอิงจากบทที่ 1 ของเอกสารอางอิง [1]

2110422 การออกแบบระบบการจัดการฐานขอมูล ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1-2

ระบบฐานขอมูล (Database System) คือ ซอฟตแวรระบบการจัดการฐานขอมูล (DBMS) พรอมกับขอมูล บางครั้งอาจรวมถึงแอปพลิเคชันดัวย

รูปที่ 1.1 ระบบฐานขอมูล ลักษณะเฉพาะและความสามารถของระบบการจัดการฐานขอมูล • สามารถกําหนดคุณลักษณะของฐานขอมูล ตั้งแตขนิดของขอมูล (Data type) โครงสรางของขอมูล (Structure) และเงื่อนไขบังคับ (Constraint) ตางๆ • สรางฐานขอมูลและบรรจุขอมูลลงฐานขอมูลลงในหนวยเก็บ (Secondary storage) • จัดดําเนินการ (Manipulate) ฐานขอมูล เชนการสืบคน (Query) การจัดทํารายงาน การเพื่ม (Insertion) การลบ (Deletion) การแกไข (Modification) ขอมูล • ทําการประมวลผลพรอมกันและใชขอมูลรวมกัน (Concurrent processing and sharing) โดย สามารถมีผูใชงานหลายคนพรอมกันได มีโปรแกรมหลายโปรแกรมทํางานพรอมกันได โดยที่ขอมูลยังคง ความถูกตอง • สามารถจัดการปองกันและดูแลความปลอดภัย ผานทางการตรวจสอบการเขาถึงที่ไมไดรับการอนุญาต (Unauthorized access) การจัดการดานความมั่นคงของขอมูลเมื่อซอฟตแวรหรือฮารดแวรมีปญหา • สามารถทําการปรับปรุงและบํารุงรักษาฐานขอมูล และปรับเปลี่ยนระบบไปตามความตองการที่เปลี่ยนไป

1.2

ตัวอยาง มินิเวิรลด – สวนของ University environment เอนทิตีของมินิเวิรลด • • • • •

STUDENTs COURSEs SECTIONs (of COURSEs) (academic) DEPARTMENTs INSTRUCTORs จากมินิเวิรลดนี้ เราสามารถเขียน Entity-Relationship data model เพื่อแสดงความสัมพันธของเอนทิตีใน ระดับแนวคิด (Conceptual)

ความสัมพันธของมินิเวิรลด • SECTIONs เปนสวนยอยของ COURSEs หนึ่งๆ • STUDENTs เลือก SECTIONs • COURSEs ตองมี COURSEs เบื้องตน • INSTRUCTORs สอน SECTIONs • COURSEs กําหนดโดย DEPARTMENTs • STUDENTs มีสังกัด DEPARTMENTs

2110422 การออกแบบระบบการจัดการฐานขอมูล ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1-3

จากมินิเวิรลดนี้ เราสามารถเขียนโมเดลแบบ E-R (ENTITY-RELATIONSHIP data model) เพื่อแสดง ความสัมพันธของเอนทิตีในระดับแนวคิด (Conceptual) ไดดังนี้

รูปที่ 1.2 ก ฐานขอมูลสําหรับเก็บ ขอมูลนักศึกษา (STUDENTs) และ รายวิชา (COURSEs)

รูปที่ 1.2 ข ฐานขอมูลสําหรับเก็บ ขอมูลตอนเรียน (SECTIONs)

รูปที่ 1.2 ค ฐานขอมูลสําหรับเก็บ ขอมูลรายงานผล การศึกษา (GRADE_REPOR Ts)

และรายวิชาพื้นฐาน (PREREQUISITE s)

1.3

ลักษณะสําคัญของการใชกลยุทธฐานขอมูล 1.3.1 ธรรมชาติในการบรรยายตนเองของระบบฐานขอมูล (Self-describing nature of a database system) • • •

Catalog ของ DBMS จะเก็บ definition หรือ description ของฐานขอมูล Definition ประกอบดวย โครงสรางไฟล ชนิด รูปแบบของขอมูล และขอบังคับตางๆ Description หรือเรียกวา meta-data ดังแสดงในรูปที่ 1.1 เปนสวนที่ทําใหซอฟตแวร DBMS

สามารถทํางานกับฐานขอมูลอื่นๆได

1.3.2 การไมขึ้นตอกันระหวางโปรแกรมและขอมูล ระบบฐานขอมูลจะอนุญาตใหทําการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของหนวยเก็บขอมูล และการจัดการ (Operation) ตางๆ โดยไมจําเปนตองเปลี่ยนโปรแกรมการเขาถึง DBMS (DBMS access programs) เนื่องจากโครงสราง

2110422 การออกแบบระบบการจัดการฐานขอมูล ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1-4

ของไฟลขอมูลนั้นถูกแยกออกจากโปรแกรมการเขาถึง (Access program) ซึ่งไมเหมือนกระบวนการจัดการไฟล (File processing) แบบดั้งเดิมที่โครงสรางของไฟลขอมูลจะถูกฝงติดกับโปรแกรมแอปพลิเคชัน จึงตองทําการ เปลี่ยนแปลงโปรแกรมทั้งหมดเมื่อตองการเปลี่ยนโครงสรางไฟล รูปที่ 1.3 รูปแบบของหนวย เก็บขอมูลภายใน สําหรับเก็บระเบียน นักศึกษา

1.3.3 Data abstraction หรือ Program-Operation Independence ในระบบ Object-Oriented และ Object-Relational นั้น ผูใชสามารถระบุการจัดการใหกับขอมูลในรูปแบบของ นิยามฐานขอมูล (Database definition) โดยการจัดการ (Operation) ใดๆ ซึ่งอาจจะเปนฟงกชันหรือเมทอดนั้น ประกอบดวย 2 สวน คือ • สวนติดตอกับผูใช (Interface) หรือ Signature ซึ่งประกอบดวย ชื่อคําสั่งและ argument (พารามิเตอร) ตางๆ • การปฏิบัติการ (Implementation) หรือวิธีการ (method) นั้นถูกระบุแยกออกมา ดังนั้นจึงสามารถทํา การเปลี่ยนแปลงไดโดยไมกระทบสวนติดตอผูใช ซึ่งเรียกวา Program-Operation Independence แบบจําลองขอมูล (Data model) จัดเปน Data abstraction ชนิดหนึ่ง ที่ใชในการซอนรายละเอียดของหนวยเก็บ ขอมูล และนําเสนอในรูปของมุมมองระดับแนวคิด (Conceptual view) ของฐานขอมูลใหกับผูใช จากนั้น DBMS จะทําการดึงรายละเอียดของหนวยเก็บไฟลจาก Catalog

1.3.4 สนับสนุนการพิจารณาขอมูลจากหลายมุมมอง ผูใชแตละคนสามารถพิจารณาฐานขอมูลในมุมมอง (View) ที่แตกตางกัน ซึ่งอธิบายเฉพาะสวนของขอมูลที่ผูใช สนใจเทานั้น ซึ่งมุมมองประกอบดวย ขอมูลที่อนุมานไดจากไฟลฐานขอมูล แตไมไดถูกเก็บไวในฐานขอมูลอยาง ชัดเจน

รูปที่ 1.4 แสดงสองมุมมองที่ได จากฐานขอมูล (ก) มุมมอง STUDENT TRANSCRIPT

(ข) มุมมอง COURSE PREREQUISITES

1.3.5 การใชขอมูลรวมกัน (Sharing) และการดําเนินการโดยกลุมผูใช (Multiuser transaction processing) ผูใชหลายคนมีสิทธิ์ในการรวมกันแกไขและปรับปรุงฐานขอมูลได โดยตองมีการรับรองจาก DBMS วาแตละการ ดําเนินการ (Transaction) จะตองถูกปฏิบัติการ (Execute) อยางถูกตองจนครบสมบูรณ หรือไมเชนนั้นก็ตองไม มีการดําเนินการใดๆเลย ซึ่งนับวาเปนสวนสําคัญมากสําหรับแอปพลิเคชันประเภทออนไลน หรือที่เรียกวา แอป พลิเคชัน OLTP (Online Transaction Processing) ซึ่งการดําเนินการ (Transaction) นั้นหมายถึง โปรแกรมหรือกระบวนการปฏิบัติการ ที่ทําการเขาถึงฐานขอมูลตั้งแตหนึ่งครั้งขึ้นไป เชน การอาน การแกไข เปนตน

1-5

2110422 การออกแบบระบบการจัดการฐานขอมูล ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1.4

ผูใชฐานขอมูล เราสามารถจัดแบงผูใชออกเปน 2 ประเภทหลักๆ ดังนี้ • ผูมีบทบาทเบื้องหนา (Actors on the Scene) ไดแก ผูที่ใชและควบคุมเนื้อหาของฐานขอมูล • ผูมีบทบาทเบื้องหลัง (Actor behind the Scene) ไดแก ผูที่พัฒนาฐานขอมูลหรือออกแบบซอฟตแวร DBMS

1.4.1 ผูมีบทบาทเบื้องหนา (Actors on the Scene) •





ผูบริหารฐานขอมูล (Database administrators : DBA) มีหนาที่ดังตอไปนี้ - มีอํานาจในการใหสิทธิ์การเขาถึงฐานขอมูล - ประสานงานและดูแลการใชฐานขอมูล - จัดหาทรัพยากรทางดานซอฟตแวรและฮารดแวร - ควบคุมการใชฐานขอมูลและตรวจสอบประสิทธิภาพของการจัดการ (Operation) - แกไขปญหาตางๆ เชน ชองวางของระบบความปลอดภัย และปญหาเวลาการตอบสนองต่ํา ผูออกแบบฐานขอมูล (Database Designers) มีหนาที่ดังตอไปนี้ - ระบุเนื้อหา โครงสราง ขอบังคับ (Constraint) รวมถึงฟงกชันหรือการดําเนินการ (Transaction) ตางๆ ที่เกี่ยวของกับฐานขอมูล - ติดตอและทําความเขาใจความตองการของผูใชปลายทาง ผูใชปลายทาง (End-user) มีหนาที่ดังตอไปนี้ - ใชขอมูลในการสืบคน (Query) และจัดทํารายงาน - ผูใชปลายทางบางสวนอาจทําหนาที่ในการปรับปรุงเนื้อหาของฐานขอมูลอีกดวย

1.4.2 ผูมีบทบาทเบื้องหลัง (Actors behind the Scene) • •



ผูออกแบบและพัฒนาระบบ DBMS - ออกแบบและพัฒนาสวนตางๆ รวมทั้งสวนติดตอกับผูใช ในรูปแบบของชุดซอฟตแวร ผูพัฒนาเครื่องมือ (Tool Developers) - พัฒนาเครื่องมือ หรือทูล (Tool) ซึ่งเปนชุดซอฟตแวรที่ชวยในการออกแบบระบบฐานขอมูล และชวยในการพัฒนาผลงาน ผูปฏิบัติงานและดูแลรักษา (Operators and Maintenance Personnel) - สั่งดําเนินการ (Run) รวมถึงดูแลฮารดแวรและซอฟตแวรของระบบฐานขอมูล

1.4.3 ประเภทของผูใชปลายทาง (End-user) •

ผูใชชั่วคราว (Casual) - เปนผูใชที่ทําการเขาถึงฐานขอมูลเปนครั้งคราวเมื่อตองการ



Naïve or Parametric - ผูใชปลายทางสวนใหญนั้นถูกจัดอยูในกลุมนี้ โดยมีหนาที่ในการใชฟงกชันตางๆที่ถูกกําหนด มาเรียบรอยแลวในรูปแบบของ “การดําเนินการแบบสําเร็จรูป (canned transaction)” กับ

ระบบฐานขอมูล เชน พนักงานรับและจายเงินในธนาคาร พนักงานสํารองที่ เปนตน •

Sophisticated - ผูใชประเภทนี้ประกอบดวย นักวิเคราะหธุรกิจ นักวิทยาศาสตร วิศวกร รวมถึงผูใชอื่นๆที่มี



Stand- alone - สวนมากมักจะเปนผูที่ดูแลฐานขอมูลสวนบุคคลโดยใชชุดแอปพลิเคชันพรอมใช

ความคุนเคยกับสมรรถภาพของระบบ

โปรแกรมคํานวณภาษี ซึ่งสรางฐานขอมูลภายในขึ้นมาเอง เปนตน

เชน

ผูใช

2110422 การออกแบบระบบการจัดการฐานขอมูล ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1.5

1-6

ขอดีในการใชกลยุทธฐานขอมูล •



สามารถควบคุมความซ้ําซอน (Redundancy) ในการจัดเก็บขอมูล รวมถึงความยากลําบากในการ พัฒนาและดูแลรักษา ซึ่งความซ้ําซอนของขอมูลนั้นเปนสาเหตุของปญหามากมาย เชน - จําเปนตองทําการปรับปรุงหรือแกไขขอมูลเดียวกันหลายครั้ง - สิ้นเปลืองพื้นที่ในการเก็บขอมูล - ไฟลที่เสนอขอมูลเดียวกันอาจมีการจัดเก็บขอมูลที่ไมตรงกันได - สามารถใชขอมูลรวมกันได ปองกันการเขาถึงขอมูลโดยไมไดรับอนุญาต

รูปที่ 1.5 การเก็บขอมูลที่ซ้ําซอน ของ StudentName และ CourseNumber ใน GRADE_REPORT

(ก) กรณีขอมูลตรงกัน (ข) กรณีที่ขอมูลไม ตรงกัน • •

• •

• • •

สามารถเตรียมหนวยเก็บขอมูลที่มั่นคง (Persistent storage) สําหรับโปรแกรม Objects (ใน Object-oriented DBMS’s – บทที่ 20-22) จัดเตรียมโครงสรางหนวยเก็บขอมูลเพื่อใหสามารถดําเนินการสืบคน (Query) ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยDBMS จะตองมีโครงสรางขอมูลพิเศษ เพื่อทําใหการคนขอมูลในดิสครวดเร็วยิ่งขึ้น ซึ่งทําไดโดยการ ใชดัชนี (Indexes) สามารถทําการสํารอง (Backup)และฟนสภาพขอมูล (Recovery) มีสวนการติดตอผูใชหลากหลายรูปแบบสําหรับผูใชในกลุมตางๆกัน ซึ่งประกอบดวย ภาษาสืบคน (Query language) ภาษาโปรแกรม (Programming language) แบบฟอรมและโคดคําสั่ง (Form and Command code) และ Menu-driven interface สามารถนําเสนอความสัมพันธที่ซับซอนของขอมูลได มีการกําหนดขอบังคับในการควบคุมความคงสภาพ (Integrity constraints) สนับสนุนการอนุมาน (Inference) ขอมูลใหมๆจากขอเท็จจริงที่เก็บไวในฐานขอมูล รวมถึงการ ดําเนินการ (Action) ตางๆโดยใชกฎเกณฑ

1.5.1 สิ่งที่เกี่ยวของเพิ่มเติมในการใชกลยุทธฐานขอมูล •

• • • •

มีศักยภาพในการควบคุมมาตรฐาน ซึ่งนับวาเปนสวนที่สําคัญมากของแอปพลิเคชันฐานขอมูลที่ประสบ ความสําเร็จในองคกรใหญๆ โดยมาตรฐานในที่นี้ หมายถึง ชื่อรายการขอมูล รูปแบบการแสดงภาพ หนาจอ โครงสรางรายงาน และ meta-data (นิยามของขอมูล) เปนตน สามารถลดเวลาในการพัฒนาแอปพลิเคชัน โดยทําใหเวลาที่ใชในการเพิ่มแอปพลิเคชันใหมนั้นลดลง มีความยืดหยุนในการเปลี่ยนแปลงโครงสรางขอมูล โดยโครงสรางขอมูลสามารถเปลี่ยนแปลงไปตาม ความตองการที่ระบุได มีการปรับขอมูลใหทันสมัยอยูตลอดเวลา ซึ่งเปนสิ่งสําคัญมากสําหรับธุรกิจออนไลน เชน สายการบิน โรงแรม การเชารถ เปนตน Economies of scale โดยการรวบรวมขอมูลและแอปพลิเคชันระหวางแผนก ซึ่งสามารถลดความ สิ้นเปลืองเนื่องจากความซ้ําซอนของทรัพยากรและบุคคลได

2110422 การออกแบบระบบการจัดการฐานขอมูล ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1.6

1-7

วิวัฒนาการของ DBMS (โดย James Martin) • • • •

ชวงที่ 1 : ไฟลขอมูลพื้นฐาน (Elementary Data Files) – มีอิทธิพลในชวงตนทศวรรษที่ 60 ชวงที่ 2 : กระบวนการเขาถึงไฟล (File Access Method) – มีอิทธิพลในชวงปลายทศวรรษที่ 60 ชวงที่ 3 : ระบบฐานขอมูลในชวงแรกเริ่ม (Early Database System) – มีอิทธิพลในชวงตนทศวรรษที่ 70 ชวงที่ 4 : ระบบฐานขอมูลในปจจุบัน (Today Database System) – ตั้งแตป 1970 จนถึงปจจุบัน

1.6.1 ชวงที่ 1 : ไฟลขอมูลพื้นฐาน (Elementary Data Files) • •

ในการจัดระบบไฟลในรูปแบบลําดับอนุกรม (Serial manner) โครงสรางขอมูลทางกายภาพ (Physical data structure) มีลักษณะเดียวกับโครงสรางขอมูลทางตรรก (Logical data structure)



ใชกระบวนการจัดการแบบกลุม (Batch-processing) โดยไมมีการเขาถึงขอมูลแบบทันกาล (real-

• • •

มีการจัดเก็บไฟลที่ซ้ําซอน เนื่องจากขอมูลเดิมยังคงถูกเก็บไว ซอฟตแวรสามารถจัดการไดเพียงขั้นตอน input/output เทานั้น ผูพัฒนาโปรแกรมแอปพลิเคชันจะทําการออกแบบรูปแบบทางกายภาพและฝงติดไวกับโปรแกรมแอป พลิเคชัน ถามีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางขอมูลหรือสวนควบคุมการเก็บขอมูล (Storage device) จะตองทําการ เขียนโปรแกรมแอปพลิเคชันใหม รวมทั้งแปลงภาษาและทดลองโปรแกรมใหมอีกดวย ขอมูลมักจะถูกออกแบบใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพกับแอปพลิเคชันหนึ่งๆเทานั้น เกิดการซ้ําซอนระหวางไฟลขอมูลมาก

time)

• • •

รูปที่ 1.6 ชวงที่ 1 : ไฟลขอมูลพื้นฐาน (Elementary Data Files) (มี

อิทธิพลในชวงตน ทศวรรษที่ 60)

1.6.2 ชวงที่ 2 : กระบวนการเขาถึงไฟล (File Access Method) • • • •

สามารถทําการบันทึกไดโดยการเขาถึงขอมูลแบบตามลําดับ (Serial access) หรือแบบสุม (Random access) (ไมใชการบันทึกลงในขอบเขตของขอมูล (Field)) ใชกระบวนการจัดการแบบกลุม (Batch) แบบอินไลน (In-line) หรือแบบทันกาล (Real-time) ไฟลทางตรรก (Logical file) และไฟลทางกายภาพ (Physical file) นั้นแยกออกจากกัน สามารถทําการเปลี่ยนแปลงหนวยเก็บขอมูลไดโดยไมจําเปนตองทําการเปลี่ยนแปลงโปรแกรมแอปพลิเค ชัน

2110422 การออกแบบระบบการจัดการฐานขอมูล ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • • • • •

1-8

โครงสรางขอมูล มักอยูในรูปแบบลําดับอนุกรม (Serial) ลําดับเชิงดัชนี (Index sequential) หรือ Simple direct access ไมมีการใชมัลติเพิลคีย (Multiple-key) หรือคียหลายตัวในการสืบคนขอมูล

อาจมีการตรวจสอบความปลอดภัยของขอมูล แตนับวายังไมคอยปลอดภัย ยังคงมีแนวโนมที่จะออกแบบขอมูลใหมีประสิทธิภาพกับแอปพลิเคชันหนึ่งๆอยู ยังคงพบความซ้ําซอนของขอมูลจํานวนมากอยู

รูปที่ 1.7 ชวงที่ 2 : กระบวนการเขาถึง ไฟล (File Access Method) (มี อิทธิพลในชวงปลาย ทศวรรษที่ 60)

1.6.3 ชวงที่ 3 : ระบบฐานขอมูลในชวงแรกเริ่ม (Early Database System) • • • • • • • • •

สามารถอนุมานไฟลทางตรรก (Logical file) ที่แตกตางกันไดมากมาย จากขอมูลทางกายภาพ (Physical data) เดียวกัน สามารถเขาถึงขอมูลเดียวกันไดจากหลายทาง by applications with different requirements ซอฟตแวรมีความสามารถในการลดความซ้ําซอนของขอมูล มีการใชขอมูลรวมกันระหวางแอปพลิเคชันตางๆ การไมมีความซ้ําซอนของขอมูล เอื้อตอความคงสภาพของขอมูล (Data integrity) การจัดระบบหนวยเก็บขอมูลทางกายภาพ (Physical data) นั้นไมขึ้นกับโปรแกรมแอปพลิเคชัน สามารถกําหนดตําแหนงที่อยูของขอมูลในขอบเขตของขอมูล (Filed) หรือในระดับกลุม (group level) สามารถใชมัลติเพิลคีย (Multiple-key) หรือคียหลายตัวในการสืบคนได ใชการจัดระบบขอมูลที่ซับซอนโดยไมทําใหโปรแกรมแอปพลิเคชันซับซอน

2110422 การออกแบบระบบการจัดการฐานขอมูล ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1-9

รูปที่ 1.8 ชวงที่ 3 : ระบบ ฐานขอมูลในชวง แรกเริ่ม (Early Database System) (มี

อิทธิพลในชวงตน ทศวรรษที่ 70)

1.6.4 ชวงที่ 4 : ความตองการของระบบฐานขอมูลในปจจุบัน (Today’s Requirements in Database System) • • • •

ซอฟตแวรมีขอมูลทางตรรก (Logical data) และทางกายภาพ (Physical data) ที่ไมขึ้นตอกัน สามารถทําการพัฒนาฐานขอมูลใหดีขึ้น โดยไมตองทําการดูแลรักษามาก มีสวนอํานวยความสะดวก (Facility) ใหผูบริหารฐานขอมูล ในการควบคุมขอมูล มีการใชขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมความเปนสวนบุคคล ความปลอดภัย และความคงสภาพ (Integrity) ของขอมูล

รูปที่ 1.9 ชวงที่ 4 : ความ ตองการของระบบ ฐานขอมูลใน ปจจุบัน (Today’s Requirements in Database System)

1.7

ประวัติการพัฒนาเทคโนโลยีฐานขอมูล •

แอปพลิเคชันฐานขอมูลในชวงแรก (Early Database Application) มีการนําเสนอโมเดลแบบแตกสาขา (Hierarchical model) และโมเดลแบบเครือขาย (Network model) ในชวงกลางทศวรรษที่ 60 และมีอิทธิพลในชวงทศวรรษที่ 70 ซึ่งยังคงพบการใชโมเดลเหลานี้ ในการปฏิบัติการฐานขอมูลทั่วโลกจํานวนมาก (a bulk of world wide database processing)

2110422 การออกแบบระบบการจัดการฐานขอมูล ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย •





1-10

ระบบที่ใชพื้นฐานของโมเดลความสัมพันธ (Relational Model based Systems) IBM และมหาวิทยาลัยตางๆไดทําการวิจัยและทดลองแบบจําลองที่ไดนําเสนอในชวงป 1970 เปนอยาง หนัก ซึ่งทําใหเกิดเปน DBMS เชิงสัมพันธ (Relational DBMS Products) ขึ้นในชวงทศวรรษที่ 80 Object-oriented applications

ไดมีการนําเสนอ OODBMSs (Object-Oriented Database Management System) ขึ้นในชวง ปลายทศวรรษที่ 80 ถึงตนทศวรรษที่ 90 เพื่อสนองความตองการในการประมวลผลที่ซับซอนใน โปรแกรมชวยการออกแบบหรือ CAD (Computer Aided Design) และแอปพลิเคชันอื่นๆ แตการใช งานยังไมเปนที่นิยมมากนัก ขอมูลในเว็บ (Web) และแอปพลิเคชันการคาอิเล็กทรอนิกส (E-commerce Applications) เว็บบรรจุขอมูลในรูปแบบของ HTML (Hypertext Markup Language) โดยมีการเชื่อมโยงระหวาง หนา กอใหเกิดการพัฒนาแอปพลิเคชันใหมๆขึ้นจํานวนมาก รวมถึงการคาอิเล็กทรอนิกส (Ecommerce) ซึ่งปจจุบันใชมาตรฐานใหม คือ XML (eXtended Markup Language)

1.7.1 การขยายความสามารถ (Capability) ของฐานขอมูล มีการเพิ่มฟงกชันใหมๆใหกับ DBMSs ในดานตางๆ ดังตอไปนี้ • แอปพลิเคชันทางวิทยาศาสตร • หนวยเก็บและจัดการขอมูลภาพ • การจัดการขอมูล Audio และ Video • การคนขอมูล (Data Mining) • •

Spatial data management

การจัดการขอมูลลําดับเวลาและประวัติขอมูล (Time Series and Historical Data Management) ซึ่งทั้งหมดนี้ทําใหเกิดความกาวหนาในการวิจัยและพัฒนาขอมูลชนิดใหมๆ โครงสรางขอมูลที่ซับซอน คําสั่งและ หนวยเก็บขอมูลใหมๆ รวมทั้งการเก็บดัชนี (Index schemes) ในระบบฐานขอมูล

1.8

กรณีที่ไมควรใช DBMS •





ขอเสียหลักของการใช DBMS คือคาใชจายที่สูง อันเนื่องมากจาก - การลงทุนเริ่มตนทางดานฮารดแวรสูง - คาใชจายในการใหกําหนดกฎทั่วไป (Generality) รวมถึงใหความปลอดภัย (Security) การควบคุมรวมกัน (Concurrency control) การฟนสภาพ (Recovery) และฟงกชัน ควบคุมความคงสภาพ (Integrity function) กรณีที่ไมจําเปนตองใช DBMS - เมื่อฐานขอมูลและแอปพลิเคชันมีลักษณะไมซับซอน มีการระบุที่ชัดเจน และไมตองการการ เปลี่ยนแปลงใดๆ - เมื่อตองการความทันกาลตลอดเวลา ซึ่งอาจทําไมไดเนื่องจากคาใชจายที่สูงของ DBMS - เมื่อไมตองการใหผูใชเขาถึงขอมูลไดหลายๆคน กรณีที่ DBMS ไมมีความสามารถเพียงพอ - เมื่อระบบฐานขอมูลไมสามารถจัดการกับขอมูลที่ซับซอน เนื่องมาจากขอจํากัดของโมเดล - เมื่อผูใชฐานขอมูลตองการคําสั่งพิเศษที่ไมมีใน DBMS

แบบฝกหัด 1. 2. 3.

อธิบายแนวคิดในการจัดการฐานขอมูล อธิบายแนวคิดของ DBMS จงเปรียบเทียบความแตกตางของ DBMS และ File Processing

Related Documents

Chapter01
June 2020 6
Chapter01
November 2019 13
Chapter01
August 2019 10
Chapter01 Art
November 2019 14

More Documents from ""