Ch 3 Labview Programing

  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Ch 3 Labview Programing as PDF for free.

More details

  • Words: 10,285
  • Pages: 38
Basic LabVIEW Programming LabVIEW ในบทนี้เราจะเรียนรู้ถึงวิธีการเขียนโปรแกรมและวิธี การแก้ ไ ขโปรแกรมใน LabVIEW เบื้องต้น รวมถึงการเรีย นรู้ถึ ง Controls และ Indicators แบบต่างๆ รวมถึงวิธีการเลือ กและความ หมายของตัวเลือกแบบต่างๆ สำาหรับ Controls และ Indicators แต่ละแบบ นอกเหนือจากนั้นในบทนี้ เราจะได้เรียนรู้ถึงวิธี การต่อสายในรายละเอีย ด รวมถึงการแก้ ไ ขการทำา งานหรือ ตรวจสอบการ ทำา งานของ VI เมื่อเสร็จสิ้นบทนี้เราควรจะสามารถเขีย น VI แบบง่ายๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก ล่ า ว โ ด ย ส รุ ป ใ น บ ท นี้ เ ร า มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ที่ จ ะ ทำา ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น เ รื่ อ ง ต่ อ ไ ป นี้  ก า ร กำา ห น ด Controls แ ล ะ Indicators แ ล ะ ช นิ ด ข อ ง ตั ว แ ป ร ที่ ใ ช้ ใ น LabVIEW  การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของ object ต่างๆ  รู้จักวิธีการใช้อุปกรณ์บน Tool Palette แบบต่างๆ  รู้จักวิธีการแก้ไขและตรวจสอบ VI  เรียนรู้วิธีการสร้าง subVI จาก VI  การ Save VI แบบต่างๆ

สำาหรับในส่วนแรกนี้เราจะทำาความรู้จักกับวิธีการเขียนโปรแกรมเริ่มต้น โดยใช้กิจกรรมที่ 1 เป็นการอธิบายไปพร้อมๆกัน เพราะเราเชื่อว่าคุณจะสามารถเข้าใจการใช้เครื่องมือต่างๆ บน Tools Palette ไ ด้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ห า ก มี ก า ร ฝึ ก ทำา ไ ป พ ร้ อ ม ๆ กั น กั บ ก า ร อ ธิ บ า ย ในส่วนหลังจะเป็นการอธิบายวิธีการตรวจสอบ การแก้ไข VI และการสร้าง SubVI เพื่อให้ เ ร า ส า ม า ร ถ นำา VI ที่ เ ร า เ ขี ย น นี้ ไ ป ใ ช้ ใ น VI อื่ น ไ ด้ เ มื่ อ เ ร า ต้ อ ง ก า ร

1.

Creating

VI

ในหัวข้อแรกนี้ จะเป็นการเสนอรายละเอียดเบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน VI การวางรูปแบบและการปรับ เปลี่ยนลักษณะและขนาดของ VI เหล่านั้น การใช้เครื่องมือต่างๆบน Tools Palette การใช้ปุ่มบางแบบบน Toolbar แ ล ะ วิ ธี ก า ร ต่ อ ส า ย ใ น Block Diagram

ACTIVITY

3.1

20





ที

กิจกรรมนี้จะเป็นการอธิบายการทำา งานของเครื่องมือต่างๆ เราจะอธิบายด้วยการสร้าง VI แบบง่ายๆขึ้น คล้ายกับกิจกรรมสุดท้ายของบทที่ผ่านมา แต่จะเพิ่มรายละเอียดของการใช้อุปกรณ์ต่างๆบน Tools Palette ใ ห้ ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น กิ จ ก ร ร ม มี ลำา ดั บ ขั้ น ต อ น ต่ อ ไ ป นี้ 1.



ปิ



VI





ม่



ลื





New

VI

2. ทำาให้ Front Panel อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานในขณะนี้ Controls Palette ควรจะปรากฏให้เห็น ด้ ว ย ถ้ า ไม่ ป รากฏให้ เ ห็ น ใช้ คำา สั่ ง Show Controls Palette ภายใต้ Windows Menu 3. เลื่อนลูกศรไปบนปุ่มต่างๆ บน Controls Palette สังเกตดูการเปลี่ยนชื่อของ subpalette ต่างๆ ด้ า น บ น

4. การเลื อ ก Control และ Indicator เราสามารถเลื อ กจาก Numeric Subpalette ภายใต้ Control Palette ในทางปฏิ บัติแ ล้ ว Numeric ทุกตัว เป็นได้ทั้ง Control และ Indicator แต่ LabVIEW อาจจะตั้งค่าเบื้องต้นให้เป็นไปตามความเป็นจริงในการใช้งานมากที่สุด ยกตัวอย่างเช่น ปุม่ หมุนจะมีค่าเริ่มต้นเป็น Control, เข็มมาตรวัดจะมีค่าเริ่มต้นเป็น Indicator, เทอร์โมมิเตอร์ จะมี ค่าเริ่มต้นเป็น Indicator, ปุ่มปรับเลื่อนจะมีค่ าเริ่มต้นเป็น Control เป็นต้น เพราะธรรมชาติของ อุปกรณ์เหล่านั้นที่ปรากฏบนหน้าปัทม์ของเครื่องมือจริง เราคงไม่เคยเห็นเครื่องมือใดที่ใช้ปุ่มหมุนเป็นตัว แ ส ด ง ค่ า ห รื อ ใ ช้ เ ข็ ม ชี้ เ ป็ น ตั ว กำา ห น ด ค่ า ค ว บ คุ ม 5. อย่างไรก็ตามเนื่องจาก Front Panel ของ LabVIEW เป็นเครื่องมือเสมือนจริง ดังนั้นทุกอย่างเป็น ไปได้ เราจะสามารถเปลี่ ย นอุ ป กรณ์ ทุ ก แบบเป็ น Control หรื อ Indicator ได้ โดยใช้ คำา สั่ ง Change to Control/Indicator ภ า ย ใ ต้ Pop-up menu ข อ ง object นั้ น

6. เลือก Numeric Subpalette บน Controls Palette โดยการกดเมาส์ปุ่มซ้าย Numeric Subpalette จ ะ ป ร า ก ฏ ขึ้ น ล อ ง เ ลื่ อ น เ ม า ส์ เ พื่ อ ดู ร า ย ชื่ อ ต่ า ง ๆ ข อ ง Subpalette นั้ น 7. เ ลื อ ก

Digital Control โ ด ย ก ด เ ม า ส์ ปุ่ ม ซ้ า ย

8. เลื่อนเมาส์กลับมาที่ Front Panel เมื่อลูกศรอยู่ในบริเวณ Front Panel เราจะเห็นรอยเส้นประ ของ Digital Control ปรากฏขึ้ น เลื อ กวาง Digital Control ไว้ ใ นตำา แหน่ ง ที่ ต้ อ งการ

Basic

LabVIEW

Programming3-2

9. หากเรากดเมาส์เพื่อวางตำา แหน่งบน Front Panel แล้วเรายังไม่พอใจในตำา แหน่งที่ว าง เราสามารถ เปลี่ยนตำาแหน่งได้โดยไปที่ Tools Palette แล้วเลือก Positioning Tool ตัวชี้ของเมาส์จะ เป็นลูกศรสี ดำา หากเรานำา เมาส์ ไปกดบริเ วณ Numerical Control ที่ส ร้างขึ้ นจะปรากฏเส้ นประ รอบๆ Control นั้ น เราสามารถที่ จ ะขยายหรื อ เปลี่ ย นวางตำา แหน่ ง ได้ ล องทำา ตามขั้ น ตอนนี้ ดู

10. ลองวาง Numerical Control อีกอันหนึ่งลงบน Front Panel คราวนี้ลองสังเกตดูอีกครัง้ ว่าหลัง จากที่เราวางเสร็จจะมีสี่เหลี่ยมสีดำาปรากฏอยู่เหนือ Control นั้นซึ่งเหมือนกับคราวก่อนแต่เราไม่ได้ให้ ความสนใจเท่านั้น เพราะทุกครั้งที่เราวาง Indicator หรือ Control ลงไป LabVIEW จะเตรียม พร้อมที่จะรับชื่อหรือ Labels ของ Control หรือ Indicator นั้น ใน Numerical Control อั น ที่ 2 นี้ ใ ห้ เ ร า ใ ส่ ชื่ อ B ล ง ไ ป

11. นำาเมาส์ไปชีบ้ ริเวณ Numerical control อันแรก แล้วกดเมาส์ปุ่มขวา เพื่อเรียก Pop-up menu ขึ้ นมาจากนั้ น เลื อ ก ShowLabel ช่องสี ดำา เหนื อ Control นี้ จ ะเกิดขึ้ น และเราสามารถที่ จ ะ กำา ห น ด ชื่ อ ข อ ง Control นี้ ไ ด้ เ ร า จ ะ ใ ห้ ชื่ อ Control นี้ ว่ า A 12. เลือก Position Tool ตัวชี้ของเมาส์จะเป็นลูกศร นำาไปกดที่บริเวณ Numerical Control ที่ ส ร้ า งขึ้ น จะปรากฏเส้ น ประรอบๆ Control นั้ น หากเราเคลื่ อ นย้ า ยตำา แหน่ ง ของ Numeric Control ส่วนต่างๆทั้งหมดจะติดตามกันไปด้วย แต่ถ้าเรานำาเมาส์ไปกดเฉพาะที่ label เราสามารถจะ เ ค ลื่ อ น ย้ า ย เ ฉ พ า ะ ส่ ว น label ข อ ง control นั้ น เ พี ย ง อ ย่ า ง เ ดี ย ว ไ ด้ 13. ส ร้ า ง

Numerical Control อี ก

1 อั น โ ด ย ตั้ ง ชื่ อ เ ป็ น

A*B

14. ถ้าเราต้องการนำาค่าจาก Control A และ B มารวมกันแล้วแสดงผลบน Control A*B จะทำาไม่ได้ เพราะ Control A+B จะรับค่าไม่ได้ หากเราจะแสดงค่าของข้อมูลเราต้องใช้ Indicator ตามที่เรา ท ร า บ ม า แ ล้ ว จ า ก บ ท ที่ ผ่ า น ม า

15. การแก้ ไ ขทำา ได้ โ ดยจาก Pop-up menu ของ A*B เลื อ ก Change to Indicator เราก็ ส า ม า ร ถ เ ป ลี่ ย น จ า ก Numerical Control เ ป็ น Numerical Indicator A*B 16. ขั้นต่อไปจะลองวิธีการคัดลอก object โดยมีวิธีการดังนี้ เลือก Position Tool นำา ไปกดที่ บริเวณ Numerical Indicator A*B จะปรากฏเส้นประรอบๆ Indicator นั้น หากเราต้องการ จะ Copy ส่วนนี้ ภายใต้เมนู Edit เลือกคำา สั่ง Copy จากนั้นหากต้องการคัดลอก object นั้นลง

Basic

LabVIEW

Programming3-3

บน Front Panel ทำาได้โดยภายใต้เมนู Edit เลือก Paste จะปรากฏ Indicator ชือ่ เดียวกันนี้ขึ้น อี ก ตั ว ห นึ่ ง แ ล ะ จ ะ มี คำา ว่ า copy 2 ต่ อ ท้ า ย ชื่ อ เ ดิ ม

17. เราสามารถเปลี่ยนชื่อของ object ที่สร้างขึ้นแล้วนำามากดบริเวณชื่อของ Indicator ที่สร้างขึ้นใหม่

จาก Tools Palette แล้วนำานำา เมาส์มากดบริเวณชื่อ Label ทีเ่ ราต้องการแก้ไข เราจะพบว่าเมื่อกดเมาส์ไปแล้วเราสามารถที่จะ แก้ไขตัวหนังสือเหล่านั้นได้ ให้แก้ไขชื่อเป็น A/B และให้สังเกตอีกอย่างหนึ่งคือเมื่อพิมพ์เสร็จแล้ว เราจะพบว่าเราสามารถแก้ไขชือ่ นั้นได้โดยการเลือก Label Tool

หากเรากด Enter บนแป้นพิมพ์ เราจะพบว่าเราจะได้บรรทัดของ Label นั้นเพิ่มขึ้นอีกบรรทัดหนึ่ง ซึ่ง ไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการ วิธีการที่ถูกต้องคือใช้เมาส์ กด Button ที่เขียนว่ า Enter บน Toolbar ห รื อ ใ ช้ เ ม า ส์ ก ด น อ ก Text Box นั้ น ๆ 18. ขั้นต่อไปเราจะสร้างตัวหนังสือขึ้นบน Front Panel โดยอันดับแรกเลือก Label Tool

จาก

นั้นให้เรากดเมาส์ในบริเวณที่เราต้องการเขียนข้อความ จะปรากฏมี Text Box เล็กๆขึ้นเราสามารถใส่ ข้อความได้ ถ้าเราไม่ใส่ข้อความใดๆ แล้วนำาเมาส์ไปกดที่ใหม่ Text Box เดิมจะหายไป ให้เราวางกล่อง ข้ อ ค ว า ม บ ริ เ ว ณ ด้ า น บ น VI แ ล้ ว พิ ม พ์ คำา ว่ า Simple Calculator 19. หากเราต้องการแก้ไขรูปแบบตัวหนังสือ อันดับแรกเลือก Label Tool

แล้วนำาไปเน้นข้อความ บริเวณที่เราต้องการแก้ไข จากนั้นใช้ Font Ring ที่อยู่บน Toolbar ในการแก้ไขเปลี่ยนแปลง รู ป แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร รู ป แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร ใ น LabVIEW เ ป็ น ดั ง นี้ 

 

Application Font เป็ น font หรือ แบบตั ว หนั ง สือ ที่ ใ ช้ กั บ ตั ว หนั งสือ บน Controls Palette, Function Palette แ ล ะ ตั ว ห นั ง สื อ สำา ห รั บ Controls ใ ห ม่ System Font จ ะ ใ ช้ กั บ ตั ว ห นั ง สื อ ใ น เ ม นู Dialog Font จ ะ ใ ช้ สำา ห รั บ ตั ว ห นั ง สื อ ใ น Dialog Box ต่ า ง ๆ

20. หากเราต้องการจะเปลี่ยนแปลงตัวอักษรทั้งกลุ่ม เราไม่จำาเป็นต้องใช้ Label Tool

เน้นที่ตัวอักษร

นั้ นก็ได้ แต่ใช้ Positioning Tool เลือก Text Box หรือ object นั้นทั้งหมด ส่ ว นที่ถูก เ ลื อ ก จ ะ ป ร า ก ฏ เ ส้ น ป ร ะ ขึ้ น ร อ บ ๆ จ า ก นั้ น เ ลื อ ก แ บ บ ตั ว ห นั ง สื อ จ า ก Front Ring

21. ให้ เ ปลี่ ย นตั ว หนั ง สื อ Simple Calculator เป็ น ขนาด 24 pt ตั ว หนา และมี สำา นำ้า เงิ น

22. เปลี่ยน Label A, B, A*B, A/B เป็นตัวขนาด 18 pt การเลือกหลายๆ object พร้อมๆกันอาจ ใช้ Positioning Tool เลือกโดยเมื่อเลือกตัวแรกแล้วให้กดแป้น Shift ค้างไว้แล้วเลือกตัวอื่นๆต่อ ไ ป เ ส้ น ป ร ะ รู ป ก ร อ บ สี่ เ ห ลี่ ย ม ป ร ะ จ ะ ขึ้ น กั บ ทุ ก object ที่ เ ลื อ ก

23. ขั้นต่อไปจะเป็นวิธีการเปลี่ยนสี Control หรือ Indicator โดยสีจะแบ่งเป็นสองส่ว นคือส่ว นหน้า Foreground และสีพื้นหลัง Background เราสามารถจะเปลี่ยนสีได้โดยใช้ Coloring Tool

โดยเราสามารถจะเปลี่ยนทั้งสีพื้นและสีด้านหน้าหรือทั้งสองส่วนพร้อมกันได้ เมื่อเรา

Basic

LabVIEW

Programming3-4

เลือกเครื่องมือนี้จาก Tools Palette แล้วนำาเมาส์ไปกดด้วยปุ่มขวาที่ object ใดเราจะได้หน้าต่าง ต า ม รู ป

24. เมื่อเราเลื่อนเมาส์ไปบนสีต่างๆ object จะเปลี่ยนไปตามสีที่เราเลือก ถ้าเราเลือกให้เปลี่ยนเฉพาะสีด้าน หน้าให้กดแป้น F (มาจาก Foreground) ถ้าต้องการเลือกเปลี่ยนเฉพาะด้านหลังให้กดแป้น B (มา จาก Background) ถ้าต้องการเปลี่ยนทั้งสองพร้อมกันให้ใช้เมาส์กดที่ A ถ้าต้องการสีเพิ่มให้ใช้เมาส์ ก ด ที่ More… สำา ห รั บ สี ที่ เ ขี ย น เ ป็ น ตั ว T คื อ สี โ ป ร่ ง ใ ส (Transparent) 25. ใ ห้ เ ป ลี่ ย น สี ข อง Control A ใ ห้ มี สี พื้ นเ ป็ นสี ดำา แ ละ ใ ห้ ตั ว เ ลขที่ ป ร า กฏ ใ ห้ เ ป็ น สี เ ขี ยว 26. หากเราต้องการจะคัดลอกสีที่มีอยู่เดิมเราสามารถใช้ Color Copy Tool โดย

เมื่อเลือกเครื่อง มือนี้แล้ว นำาไปกดในที่มีสีที่ใด สีใน Coloring Tool จะเปลี่ยนตามไปกับสีนั้น ซึ่งเราสามารถ สั ง เ ก ต ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ด้ จ า ก Tool Palette ข อ ใ ห้ ล อ ง ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ นี้ ดู

27. เ มื่ อ ถึ ง ขั้ น ต อ น นี้

เ ร า ค ว ร จ ะ ไ ด้

Front Panel ต า ม รู ป

28. ขั้นต่อไปเราจะพิจารณาในส่วนของ Block Diagram ซึ่งเราได้พบจากกิจกรรมในบทที่ผ่านมาแล้วว่า ทุกครั้งที่สร้าง object บน Front Panel จะปรากฏ terminal ขึ้นบน Block Diagram ขั้น แรกเราจะลองตกแต่งวางตำาแหน่งต่างๆบน Block Diagram ให้เป็นระเบียบก่อน อันดับแรกเราจะใช้ เครื่องมือช่วยในการจัดวาง object ซึ่งจะ มี 2 แบบอยู่บน Toolbar โดย แบบที่ 1 จะเป็นการจัดวาง แนว

Basic

(Alignment Ring) ใช้ เ มื่ อ ต้ อ งการวางแนวของ object ให้ อ ยู่ ใ นลั ก ษณะที่

LabVIEW

Programming3-5

ต้องการ และแบบที่ส องคือการจั ดระยะห่า ง (Distribution Ring) ใช้เมื่อต้องการจัด ระยะห่างให้เป็นไปตามที่เราต้องการ วิธีการใช้อันดับแรกให้เราเลือก object ที่ต้องการจะจัดแนวตั้งแต่ 2 object ขึ้ นไปก่อน แล้ว จึ งเลือ กว่ า จะจั ดแนวใด โดยใน Ring ทั้งสองจะมี subpalette ย่อย ลักษณะดังทีแ่ สดงในรูป รูปบน Palette เหล่านี้คงจะสามารถอธิบายตัวเลือกของการจัดวางได้เป็นอย่างดี อ ยู่ แ ล้ ว

29. จัดวาง terminal ให้อยู่ในแนวนอนและแนวตั้งเดียวกันตามรูป วิธีการเลือก object หลายๆอันพร้อม กันอีกวิธีหนึ่งนอกจากใช้ปุ่ม Shift พร้อมกับ Position Tool

เลือกที่ละ object แล้ว เรายัง

สามารถทำาได้โดย Position Tool กดที่บริเวณข้างๆ object ที่ต้องการจะเลือก แล้วกด ค้างไว้จากนั้นดึงเมาส์ขยายออกเราจะเห็นสี่เหลีย่ มเป็นเส้นประ ตามที่แสดงในรูปเมื่อเราปล่อย เ ม า ส์ object ที่ อ ยู่ ใ น ก ร อ บ สี่ เ ห ลี่ ย ม จ ะ ถู ก เ ลื อ ก

30. ที่ Functions Palette เลื อ ก Numeric Subpalette และเลื อ ก Multiply Function จากนั้ นวางลงไปบน Block Diagram จากนั้ นเลื อก Division Function จาก Numeric subpalette บ น Functions Palette แ ล้ ว ว า ง ล ง บ น Block Diagram

Basic

LabVIEW

Programming3-6

31. อันดับต่อไปเราจะเริ่มการต่อเชื่อมสายของ terminal ต่างๆบน Block Diagram เข้าด้วยกัน ขั้น แรกไปที่ Tools Palette เลือก Wiring Tool เมือ่ กลับเข้าหาใน Block Diagram ตัวชี้ ของเมาส์จะเป็นรูปสายไฟ สำาหรับรายละเอียดและขั้นตอนการวางสายเราจะกล่าวถึงต่อไปในส่วนหลังของ บ ท นี้ ใ น ขั้ น นี้ ข อ ใ ห้ ต่ อ ส า ย ต า ม ที่ แ ส ด ง ใ น รู ป ต่ อ ไ ป นี้

32. ที่ Toolbar รูปลูกศร Run จะอยู่ในสภาพพร้อม คือ เป็นลูกศรต่อสีขาว เรากลับไปที่ Front Panel แ ล ะ ข อ ใ ห้ ท ด ล อ ง ใ ช้ Continuous Run 33. ห ยุ ด ก า ร ทำา ง า น โ ด ย ก ด ปุ่ ม Abort ทำา ใ ห้ VI ห ยุ ด ทำา ง า น ก ลั บ ม า อ ยู่ ใ น โ ห ม ด แ ก้ ไ ข 34. จ า ก File Menu เ ลื อ ก Save แ ล ะ บั น ทึ ก VI ด้ ว ย ชื่ อ Activity 3.1

กิจกรรมนี้คงจะทำา ให้เราเข้าใจการใช้เครื่องมือต่างๆ บน Tool Palette ได้ดียิ่งขึ้น เราจะคุ้น เคยการใช้เครื่องมือต่างๆมากยิง่ ขึ้นเมื่อเราทำากิกรรมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

Basic

LabVIEW

Programming3-7

กิจกรรมนี้จะมีการอธิบายขั้นตอนและรายละเอียดค่อนข้างมากเพราะเราคิดว่าคุณยังใหม่และยังไม่คุ้นเคย กับการใช้เครื่องมือต่างๆมากนัก อย่างไรก็ตามหลังจากกิจกรรมนี้ไปแล้วการอธิบายกิจกรรมต่างๆ อาจจะสั้นลง ห ลั ง จ า ก ที่ คุ ณ ไ ด้ คุ้ น เ ค ย กั บ LabVIEW แ ล้ ว

2.

Properties

of

Controls

and

Indicators

ในกิจกรรมที่ผ่านมาเราได้ทราบถึงหน้าที่ของ Control และ Indicator มาบ้างแล้ว ในส่วนนี้จะ เป็นการกล่าวถึงคุณสมบัติต่างๆของ Control และ Indicator รวมถึงวิธีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงค่าคุณสมบัติ ที่ LabVIEW ไ ด้ ตั้ ง เ ป็ น ค่ า เ ริ่ ม ต้ น ใ ห้ ด้ ว ย 

Representation

ลัก ษณะของข้ อ มู ล ที่ ป รากฏใน terminals ต่ า งๆภายใน Black Diagram จะขึ้ น อยู่ กั บ การ กำาหนดรูปแบบการแทนค่า (Representation) ของข้อมูล การเลือกรูปแบบการแทนค่าจะเป็นวิธีการ เก็บข้อมูลในหน่วยความจำาให้ในคอมพิวเตอร์ เราควรจะเลือกการกำาหนดรูปแบบการแทนค่าข้อมูล ให้เหมาะสมกับชนิดของข้อมูลที่ใช้ เพราะจำาทำาให้การใช้หน่วยความจำา มีประสิทธิภาพมากขึ้น ยก ตัวอย่างเช่น เลขจำา นวนเต็ม (integer) จะใช้หน่วยความจำา น้อยกว่าเลขทศนิยม (Floating point) ดัง นั้นเมื่อเราทราบแน่นอนว่าตัวเลขควรจะมีค่าเท่ากับจำา นวนเต็ม 2 พอดี เราก็ไม่ควรจะเก็บในหน่วย ความจำา ด้วย 2.00 เป็นต้น นอกจากนี้ ตัวเลขอาจจะเก็บไว้แบบมีเครื่องหมาย (sign) คือเป็นได้ทั้ง บวก ลบ หรือ ศูนย์ หรืออาจจะเก็บแบบ unsign หรือแบบไม่มีเครื่องหมาย คือ เป็นบวกหรือศูนย์ เ ท่ า นั้ น

ภายใน Block Diagram เราจะพบว่ า terminal ต่ า งๆจะแสดงรู ป แบบการแทนค่ า หรื อ Representation ของตัวเลขต่างกัน เราสามารถบอกรูปแบบการแทนค่าของข้อมูลเหล่านั้นด้วยตัวหนังสือย่อ และลักษณะของสี เช่นเลขจำานวนเต็มจะเป็นสีนำ้าเงิน ส่วนเลขทศนิยมจะเป็นสีส้ม เป็นต้นและภายใน terminal จะมีตัวย่อ เช่น DBL จะแทนเลขแบบ Double-Precision Floating-Point เป็นต้น ลักษณะของ ข้อมูลที่เป็นตัวเลข LabVIEW ได้ใช้เป็นสัญลักษณ์กำาหนด Representation ใน Block Diagram ไ ด้ แ ส ด ง ใ น ต า ร า ง ต่ อ ไ ป นี้ การแทน Byte

Basic

ตัวย่อใน terminal I8

ขนาด (bytes) 1

Unsigned byte

U8

1

Word

I16

2

Unsigned word

U16

2

LabVIEW

Programming3-8

การแทน

ตัวย่อใน terminal

ขนาด (bytes)

Long

I32

4

Unsigned long

U32

4

Single precision

SGL

4

Double precision

DBL

8

Extended precision

EXT

10

Complex single

CSG

8

Complex double

CDB

16

Complex extended

CXT

20

เราสามารถที่จ ะเปลี่ยนแปลง Representation ของค่า คงที่, Control หรือ Indicator ได้ โดยการให้ Pop-up menu ของ object นั้น แล้วเลือก Representation ตามความต้องการ การเลือก รูปแบบตัว เลขให้เ หมาะสมนี้ จ ะช่ ว ยให้เ ราประหยัดหน่ ว ยความจำา ได้ม าก โดยเฉพาะในกรณี ที่เ ราจะต้องใช้ Arrays ใ น ห ล า ย มิ ติ จำา น ว น ม า ก นอกจากนี้เรายังมีวิธีการเลือกการกำา หนดรูปแบบตัวเลขให้เหมาะสมกับแหล่งข้อมูล โดยใช้ตัวเลือก Adapt to Source จาก Pop-up menu ซึ่ งวิ ธี นี้ LabVIEW จะจั ด การเลื อ กรู ปแบบตั ว เลขให้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ช นิ ด ข อ ง ข้ อ มู ล ที่ จ ะ เ ข้ า สู่ terminal นั้ น โ ด ย อั ต โ น มั ติ 

Format and Precision การแสดงค่าของข้อมูลที่ปรากฏใน Control และ Indicator บน Front Panel ของ VI เรา ส ามาร ถจะ กำา หนดรู ป แบบ (Format) และตำา แหน่ ง ทศ นิ ย ม (Precision) ของตั ว เลข นั้ น ได้ การที่จะเลือกรูปแบบสามารถทำา ได้โดยใช้ Pop-up menu ของ object ที่ต้องการ จากนั้นเลือก Format & Precision สำา หรับการเลือกรูปแบบนั้น อันดับแรกเราต้องเลือกว่าตัวเลขที่จะแสดงนั้นเป็น ค่าที่จะใช้แสดงตัวเลข (Numeric) หรือใช้แสดง วัน-เวลา (Time & Date) หลังจากเลือกรูปแบบหลัก แ ล้ ว เ ร า ส า ม า ร ถ เ ลื อ ก รู ป แ บ บ ย่ อ ย ต่ อ ไ ป ไ ด้ อี ก ถ้ า เราเลื อ กรู ป แบบหลั ก ว่ า เป็ น แบบ Numeric จาก Format Ring ซึ่ ง เป็ น ค่ า เริ่ ม ต้ น ที่ LabVIEW ตั้ ง ขึ้ น ไ ว้ เ ร า จ ะ ไ ด้ ลั ก ษ ณ ะ ห น้ า ต่ า ง เ ป็ น ไ ป ต า ม รู ป

Basic

LabVIEW

Programming3-9

การเลื อกตำา แหน่งทศนิยมที่จ ะแสดงใน Control หรือ Indicator จะเลือ กด้ ว ยการใส่ จำา นวน ตัวเลข ใน Digits of Precision นอกเหนือจากนั้นเรายังสามารถเลือกให้แสดงตัวเลขเป็นแบบทศนิยมปกติ หรือ แบบอื่น เช่น Scientific Notation เป็นต้น ส่วนในอีกกรณีคือถ้าหากใน Format ring เราเลือกที่ จ ะ ใ ห้ แ ส ด ง Time & Date เ ร า จ ะ ไ ด้ ห น้ า ต่ า ง ลั ก ษ ณ ะ ต า ม รู ป ต่ อ ไ ป นี้

ซึ่ ง เ ร า ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ เ ลื อ ก ตั ว เ ลื อ ก ต่ า ง ๆ ไ ด้ ต า ม ที่ เ ร า ต้ อ ง ก า ร ในกรณีที่เราแสดงค่าด้วยเข็มหรือปุ่มหมุน อาจจะเป็นการยากที่จะอ่านค่าได้อย่างละเอียดหรือในบาง กรณีเราอาจต้องการแสดงค่านี้ไปพร้อมๆกัน เราสามารถที่จะให้ LabVIEW แสดงตัวเลขไปพร้อมๆ กันได้ โดยใช้ Pop-up menu แล้ว เลื อ ก Show  Digital Display และส่ ว นนี้ จ ะเป็ น ส่ ว นหนึ่ งของ object ดั ง นั้ น จะไม่ ป รากฏใน Block Diagram อี ก กล่ า วคื อ LabVIEW จะมอง Digital Display ส่วนนี้เป็นส่วนหนึ่งของ object นั้น อย่างไรก็ตาม Digital Display ของ object ทีป่ รากฏ

Basic

LabVIEW

Programming 3-10

บน Front Panel สามารถเลื่อนไปมาบน Front Panel ได้อย่างอิสระไม่จำา เป็นต้องติดอยู่กับ object ห ลั ก ต ล อ ด เ ว ล า ก็ ไ ด้  Data

Range

การออกแบบ VI ให้ผู้ใช้นำาไปใช้งานนั้น ในบางครั้งเราต้องการที่จะบังคับช่วงของตัวเลขที่ผู้ใช้จะนำา ไปใช้ควบคุมให้อยู่ในช่วงที่แน่นอน เช่นเราอาจต้องการให้ค่าเปลี่ยนแปลงจาก -1 ถึง 1 เท่านั้น หรือต้องการ กำา หนดว่าหากผู้ใช้กดปุ่มลูกศรขึ้นหรือลงเพื่อเปลี่ยนค่าเราจะให้ตัวเลขเปลี่ยนไปที่จะ 0.1 การกำา หนดที่จะตั้ง ตัว เลขเหล่า นี้ส ามารถทำา ได้โดยการกำา หนด Data Range ของ Control หรือ Indicator เหล่ า นั้ น จาก Pop-up menu ของ object นั้นเลือก Data Range... เราจะได้หน้าต่างของ Data Rang ซึ่ ง มี ลั ก ษ ณ ะ ดั ง ต่ อ ไ ป นี้ ป ร า ก ฏ ขึ้ น

จากส่วนนี้ เราสามารถกำาหนดค่าสูงสุด (Maximum) ตำ่าสุด (Minimum) การเพิ่มหรือลด เมื่อ กดปุ่มลูกศรขึ้นลง (Increment) สำาหรับค่าเบื้องต้นจะแสดงในรูปข้างบนนี้ โดย inf. จะแทน Infinity ส่วนการกำาหนดในช่อง Default จะเป็นการกำาหนดค่าเริ่มต้นหรือค่าที่เรากำาหนดเมื่อ VI เริ่มเข้าสู่โหมดการ ทำา ง า น ส่วนสำาคัญอีกส่วนหนึ่งก็คอื จะให้ LabVIEW ทำาอย่างหากผู้ใช้ใส่ตัวเลขเกินกว่าช่วงที่เราได้กำาหนด ในรูปเราจะเห็นว่ามี If value is Out of Range ซึ่งเป็น ring อยู่ เราสามารถเลือกวิธีการใน ring นี้ได้ 3 แบบ คื อ

1. Ignore คือไม่ต้องสนใจ ให้ใช้ค่าที่ผู้ใช้ใส่ลงไปเลย ในกรณีนี้ถ้าผู้ใช้ใช้วิธีกดลูกศรขึ้นลง ค่า ข้อมูลจะหยุดอยู่ที่ตำ่า สุดหรือสู งสุด แต่ถ้า ผู้ ใช้เ ลือกใช้วิ ธีใ ส่ตัวเลขโดยตรงทางแป้นพิมพ์แ ล้ว กด Enter ช่องข้อมูลก็จะแสดงค่าที่ผู้ใช้ใส่ลงไป และ LabVIEW จะทำา งานต่อไปโดยใช้ข้อมูล เ ป็ น ตั ว เ ล ข ที่ ผู้ ใ ช้ ใ ส่ แ ล ะ ไ ม่ ส น ใ จ ค่ า ตั ว เ ล ข สู ง สุ ด ห รื อ ตำ่า สุ ด

Basic

LabVIEW

Programming3-11

2. Coerce คือ ปรับให้ตัวเลขอยู่ในช่วงค่าที่กำา หนดแล้วทำา งานต่อไป โดยถ้าค่าสูงกว่าค่ าสูงสุด LabVIEW จะปรับให้เท่ากับค่าสูงสุดแล้วทำางานต่อไป ถ้าค่าตำ่ากว่าค่าตำ่าสุด LabVIEW ก็ จ ะ ป รั บ ใ ห้ เ ท่ า กั บ ค่ า ตำ่า สุ ด แ ล้ ว ทำา ง า น ต่ อ ไ ป

3. Suspend ถ้าเราเลือกตัวเลือกนี้แล้วข้อมูลออกนอกช่วงที่กำาหนด LabVIEW จะระงับการ ประมวลผล control ที่กำาหนดค่านั้นจะปรากฏกรอบสีแดงขึ้นรอบ และปุม่ RUN จะมีวงกลมสี แดงพร้อมเส้ นทะแยงคาดทับวางอยู่ ผู้ ใช้จ ะต้องปรับค่ า ให้อยู่ใ นช่ วงก่อ น LabVIEW จึงจะ ทำา ง า น ต่ อ ไ ป ถ้าหากว่าต้องการกลับไปใช้ค่าที่ LabVIEW เตรียมไว้ให้ ให้กดปุ่ม Use Default Value เพื่อ ใ ห้ ค่ า ก ลั บ ม า เ ป็ น ค่ า เ ริ่ ม ต้ น ที่ LabVIEW เ ห็ น ว่ า มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ที่ สุ ด

3.

Others

Controls

and

Indicators

ที่ผ่านมาเรามักจะเลือก Control และ Indicator ทีป่ รากฏอยู่ภายใน Numeric Subpalette ในกิจกรรมต่างๆ อย่างไรก็ตาม LabVIEW มี Control และ Indicator ต่างๆอีกหลายแบบ ในหัวข้อนี้ เ ร า จ ะ แ น ะ นำา Control แ ล ะ Indicator ใ น รู ป แ บ บ อื่ น ๆ ที่ อ า จ ต้ อ ง ใ ช้ บ น Front Panel 

Rings

Rings เป็น object ที่ใช้เป็นตัวเลือกว่าผู้ใช้ต้องการตัวเลือกแบบใด และเมื่อผู้ใช้เลือกค่าแล้ว ค่าที่ได้จาก Ring จะเป็นจำา นวนเลขจำานวนเต็มแบบไม่มีเครื่องหมายชนิด 16 bit (U16) ในการให้ผู้ ใช้เลือกค่าใน Rings นี้ เราอาจจะใช้เป็นตัวอักษรเป็นคำาอธิบายหรืออาจใช้รูปภาพก็ได้ การใช้ Ring นี้ จะมีประโยชน์มากในกรณีที่จำา เป็นที่ต้องมีตั วเลือกหลายๆ แบบให้ผู้ ใ ช้เลือ กก่ อ นที่ จ ะทำา การ ป ร ะ เ มิ น ข้ อ มู ล ต่ อ ไ ป ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง Ring แ บ บ ต่ า ง ๆ แ ส ด ง ใ น รู ป ต่ อ ไ ป นี้

Basic

LabVIEW

Programming 3-12

ขั้นแรกในการใช้ Ring นั้น ให้เลือก ชนิดจาก List & Ring Subpalette จาก Controls Palette ซึ่งจะมีหลายแบบด้วยกัน อาจจะเป็นแบบที่มีได้เฉพาะตัวอักษร หรือแบบทีม่ ีเฉพาะรูปภาพ หรืออาจมี ทั้งสองแบบรวมกัน เมื่อเราเลือกแบบ Ring ที่ต้องการแล้ววาง Ring นั้นลงบน Front Panel ในครั้งแรก จะมีตัวเลือกเพียงตัวเดียว จากนั้นเราสามารถจะเพิ่มเติมตัวเลือกใน Ring เพิ่มในภายหลังได้ โดยใช้ Pop-up menu แ ล้ ว เ ลื อ ก Add Item After ห รื อ Add Item Before ก็ ไ ด้ ในการใส่ตัวหนังสือลงใน Ring ให้เลือก Edit Text Tools ใน Tools Palette แล้วใช้ เมาส์กดลงในบริเวณ Ring นั้น เมื่อใส่ข้อความเสร็จสิ้นแล้วให้เราใช้เมาส์กดปุ่ม Enter ที่อยู่บน Tool bar แต่ถ้า หากเรากดแป้น Enter แล้วเราจะได้ Text อีกบรรทัดหนึ่งซึ่ งจะเป็นส่ ว นหนึ่งที่อยู่ใ นตัว เลือก เดียวกัน เมื่อต้องการใส่ตัวหนังสือเพิ่มในช่องเลือกต่อไป ก็ให้กดที่ปุ่มเลื่อนตำา แหน่งด้า นซ้ า ยมือ เพื่อให้ช่อง ข้อความนั้นปรากฏขึ้นแล้วเพิ่มเติมข้อความลงไป เราสามารถดูได้ว่าขณะนี้เราอยู่ที่ชิองตัวเลือกใดได้จากการใช้ Pop-up menu แ ล้ ว เ ลื อ ก Show  Digital Display ในการใส่รูปภาพลงใน Picture Ring ขั้นแรกเราจำา เป็นต้องมีรูปภาพอยู่ใน Clipboard ก่อนที่ จะใส่รูปภาพลง วิธีการนำารูปภาพเข้าสู่ Clipboard ก็คือต้องใช้โปรแกรมวาดภาพดูรูปที่ต้องการ จากนั้นเลือก รูปที่ต้องการ โดยใช้คำาสั่ง Copy ของโปรแกรมวาดรูปนั้นๆ เพื่อเก็บรูปภาพลงไปใน Clipboard ก่อน ต่อ จากนั้นเมื่อจะนำารูปภาพมาวางลงใน Ring ลำาดับใด ก็ให้เลื่อน Ring ไปที่ลำาดับนั้นแล้วใช้คำาสั่ง Import Picture ภายใต้ Pop-up menu ของ Ring นั้น ส่วนการใส่รปู ทีต่ ัวเลือกอื่นๆ ก็ทำาได้โดยการใช้ขั้นตอน เ ดี ย ว กั น

 NOTE โปรแกรมวาดรูป เช่ น Paint, MS Photo Editor สามารถใช้ เป็ น โปรแกรมที่เ ก็บ รูปภาพลง Clipboard ได้ สำา หรั บ LabVIEW 5 นั้ น จะรั บ รู ป ในหลาย Format ไม่ ว่ า จะเป็ น bmp, jpg, GIF เ ป็ น ต้ น โ ด ย Format เ ห ล่ า นี้ จ ะ เ ป็ น ไ ป ต า ม ช นิ ด File ที่ เ ร า เ ลื อ ก เมื่อเราใส่ตัวเลือกลงใน Ring แล้ว ค่าที่ส่งออกจาก terminal เมื่อเราสั่ง VI ทำางานจะเป็นค่าตาม ลำาดับการใส่ คือ ตัวเลือกแรกจะให้ค่าตัวเลขเป็นจำา นวนเต็ม 0 ตัวเลือกต่อไปจะให้ค่าตัวเลขเป็นจำา นวนเต็ม 1 และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามลำา ดับ เราสามารถดูค่าเหล่านั้นบน Front Panel ได้โดยเลือก ShowDigital Display จ า ก Pop-up menu ข อ ง Ring นั้ น ต า ม ที่ ไ ด้ ก ล่ า ว ม า แ ล้ ว โดยทั่ว ไปการใช้ Ring จะมีประโยชน์ก็ต่อเมื่อเราใช้ร่วมกับ Case Structure ซึ่งเรายังไม่ได้ กล่าวถึง Structure ในขั้นนี้ ดังนั้นเราจึงจะไม่ยกตัวอย่างหรืออธิบายส่วนประกอบเพิ่มเติมในวันนี้ อย่างไร ก็ตามเราแนะนำาให้คุณลองเลือกและวาง Ring บน Front Panel แล้วลองใส่ตัวหนังสือ หรือรูปภาพลงใน Ring ที่ ส ร้ า ง ขึ้ น เ พื่ อ ค ว า ม คุ้ น เ ค ย ใ น ก า ร ส ร้ า ง Ring 

Boolean Boolean เป็นชื่อของนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ George Boolean ซึ่งเป็นผู้ วางรากฐาน ของ Boolean Algebra สำา หรับในงานวิศวกรรมนั้นเราสามารถที่จะมองว่า Boolean เป็นการกำา หนด ข้อมูลให้มคี ่าเป็น จริง หรือ เท็จ หรืออาจจะมองเป็นการ เปิด - ปิด เพื่อใช้ในการควบคุมการทำางานของส่วนต่างๆ

Basic

LabVIEW

Programming 3-13

เราสามารถเลือกใช้ Boolean ได้จาก Boolean Subpalette ภายใต้ Controls Palette ทีแ่ สดงใน รู ป ต่ อ ไ ป นี้

ใน Boolean Subpalette นี้จ ะประกอบด้วยสวิชท์ และไฟสัญญาณหลายแบบ ซึ่งการกำา หนด เบื้องต้นว่าจะเป็น Control หรือ Indicator จะขึ้นอยู่กับลักษณะที่เราใช้ในเครื่องมือวัดจริง เช่น สวิชท์ จะ เป็น Control และไฟสัญญาณ จะเป็น Indicator เป็นต้น อย่างไรก็ตาม เราสามารถเปลี่ยนให้อุปกรณ์เหล่า นั้นเป็น Control หรือ Indicator ก็ได้ ตามความต้องการของเรา โดยใช้คำาสั่ง Change to Control/ Indicator ภ า ย ใ น Pop-up menu ข อ ง Boolean นั้ น ใน Block Diagram ลักษณะของ Boolean terminal จะเป็นสีเขียว และมีตวั อักษร TF อยู่ ตรงกลาง และเหมื อ นกั บ ตั ว เลขคื อ ถ้ า เป็ น Control จะมี ข องที่ ห นากว่ า ขอบของ Indicator

การเลือกใช้ Boolean ใน LabVIEW นั้น นอกจากสัญลักษณ์มาตรฐานที่กำาหนดแล้วยังมีตัว เลือกให้เราเลือกใช้ได้อีกหลายอย่างที่เลือกจาก Pop-up menu สำาหรับตัวเลือกที่สำาคัญมีดังต่อไปนี้

Basic

LabVIEW

Programming 3-14

Labeled Buttons ในสวิชท์และไฟสัญญาณต่างๆ ของ Boolean บางแบบอาจจะมีตัวหนังสือประกอบไว้บน object นั้นด้วย เช่น ON และ OFF โดยปกติตัวหนังสือประกอบนี้จะไม่ได้แสดงกับสวิชท์หรือไฟสัญญาณทุกชนิด แต่เ ราสามารถที่จ ะเลือกให้แ สดงหรือไม่แ สดงได้โดยใช้ตัว เลือกจาก ShowBoolean Text ภายใต้ Pop-up menu Boolean Text นี้จะแสดง ON หรือ OFF อย่างใดอย่างหนึง่ ขึ้นกับสภาวะที่ object นั้นเป็น อยู่ขณะนั้น เช่นถ้าเปิดอยู่จะแสดงตัวหนังสือ ON เป็นต้น เราสามารถที่จะจัดวางตำาแหน่งและแก้ไขตัวหนังสือ เหล่านั้นได้โดยการใช้ Positioning Tool ในการจัดวางตำาแหน่ง และ Edit Text Tool ในการเปลี่ยน ห รื อ แ ก้ ไ ข ตั ว ห นั ง สื อ ON-OFF นั้ น ทั้ ง ส อ ง เ ลื อ ก ไ ด้ จ า ก Tools Palette ค่าของ Boolean ใน Block Diagram จะเป็นจริง (TRUE) ถ้า object นั้นอยูท่ ี่ตำาแหน่ง ON แ ล ะ เ ป็ น เ ท็ จ (FALSE) ถ้ า object นั้ น อ ยู่ ใ น ตำา แ ห น่ ง OFF  Mechanical Action Boolean Control จะมี Mechanical Action เป็ น ตั ว เลื อ กใน Pop-up menu ตั ว เลือกนี้จะเป็นตัวกำา หนดลักษณะของ Control ว่ามีการทำางานอย่างไร เหมือนกับสวิชท์ในความเป็นจริงว่ามี หลายแบบ เช่น กดแล้วเปิด กดอีกครั้งจะปิด หรือต้องกดอยู่ตลอดเวลา จึงจะเปิด ถ้าปล่อยเมื่อใดจะปิด หรืออื่นๆ ตัวเลือกนี้จะเป็นตัวเลือกลักษณะการทำา งานต่างๆ ของ Control เท่านั้น รายละเอียดต่างๆ ดูจาก Help ของ LabVIEW 

Data Range แม้ว่า Boolean Control จะมีค่าเพียง 2 ค่า คือ จริง กับ เท็จ เท่านั้น แต่เราสามารถกำาหนดได้ว่า จะให้ LabVIEW หยุดทำางานหรือไม่ ถ้าหากว่าเป็นค่าจริงหรือเท็จค่าใดค่าหนึ่ง โดยเลือกจาก Suspend if True หรือ Suspend if False จากคำา สั่ง Data Range ใน Pop-up menu ของ object นั้ น 

ก า ร เ ป ลี่ ย น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง Boolean แม้ว่า LabVIEW จะมีลักษณะของสวิชท์และไฟสัญญาณหลายแบบให้เราได้เลือกใช้ เราอาจมีความ จำาเป็นต้องใช้ Boolean ในรูปแบบอื่นก็ได้ เราสามารถที่จะนำารูปภาพอื่นมาใช้ ซึ่งเราสามารถทำาได้โดยใช้คำาสั่ง Edit Control ... จาก Edit menu จากนั้นเราจะสามารถนำา รูปภาพใดก็ได้ม าวางลงในตำา แหน่งของ Boolean นั้ น ทั้ ง ในสภาวะ ON และ OFF สำา หรั บ รายละเอี ย ดเหล่ า นี้ จ ะกล่ า วถึ ง ในภายหลั ง 



Strings

Strings ก็คือตัวแปรหรือค่าคงที่ซึ่งอยู่ในรูปของตัวอักษร เราสามารถกำา หนดให้ String นี้ เป็ นได้ ทั้ ง Control และ Indicator สำา หรั บ String นี้ จ ะอยู่ ใ น String & Table Subpatette ภายใต้ Control Palette ซึ่งจะมีลักษณะดังรูป สำา หรับรายละเอียดชอง String นี้ เราจะกล่าวถึง.o ภายหลัง

Basic

LabVIEW

Programming 3-15



Paths Path เป็น Control ที่ให้ LabVIEW แสดง Directory ที่ VI กำาลังทำางานอยู่ ตัวอย่างเช่น ใ น Windows จ ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง Path เ ป็ น เ ห มื อ น คำา สั่ ง DOS ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น C:\Program Files\National Instruments\LabVIEW\MYWORK แสดงว่าขณะนี้ VI ที่ทำา งานอยู่นี้ คือ MYWORK อยู่ใน directory ชื่อ LabVIEW และ อยู่ใน drive C หากว่าเรากำาหนด Path ขึ้นแต่ว่า LabVIEW ไม่สามารถที่จะกำาหนดที่อยู่ของ file นั้น ไ ด้ เ ร า จ ะ ไ ด้ คำา ต อ บ เ ป็ น คำาสั่งนี้จะมีประโยชน์ในการเปิด-ปิด หรือเขียนไฟล์เพื่อแก้ข้อมูล เราจะกล่าวถึงวิธีการดังกล่าวในเรื่อง ข อ ง File I/O ใ น ภ า ย ห ลั ง

4.

Wiring

ในกิจกรรมที่ผ่านมาเราได้ทำา การต่อสายภายใน Block Diagram มาบ้างแล้ว ในหัวข้อนี้เรา จะกล่าวถึงเทคนิคการต่อสายในรายละเอียด รวมถึงการแก้ไขปัญหาต่างๆเนื่องจากการต่อสายด้วย 

ก า ร ต่ อ ส า ย ที่ผ่านมาเราได้นำาเสนอวิธีการจัดวาง Control และ Indicator แบบต่างๆ ลงใน Front Panel ซึ่งเป็นเพียงการเริ่มต้นการสร้าง IV เท่านั้น ความสำาคัญที่แท้จริงของการเขียน VI คือการเลือกใช้ Function การทำางานให้เหมาะสมและต่อสายให้ถูกต้อง เพื่อจะได้ผลออกมาตามที่ต้องการ ในส่วนต่อไปของหัวข้อนี้ เราจะ ก ล่ า ว ถึ ง วิ ธี ก า ร ต่ อ ส า ย ข อ ง ส่ ว น ต่ า ง ๆ เ ข้ า ด้ ว ย กั น เราจะใช้ Wiring Tool ในการต่อ สายระหว่ า ง terminal mujxikdDvp^j4kp.o สนแา ฏรฟเพฟท เมื่อเราเลือก Wiring Tool แล้วลูกศรชี้จะเปลี่ยนเป็นรูปขดสายไฟ โดยตำา แหน่งสำา คัญของตัวชี้ ห รื อ ที่ เ รี ย ก ว่ า “ Hot Spot” ข อ ง ตั ว ชี้ จ ะ อ ยู่ ที่ ป ล า ย ส า ย ไ ฟ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ม้ ว น ต า ม รู ป

Hot Spot Basic

LabVIEW

Programming 3-16

ในแบบฝึกหัดที่ผ่านมาเราคงได้ฝึกการต่อสายมาบ้างแล้ว แต่เราไม่ได้กล่าวถึงวิธีการต่อสายและขั้นตอน การต่อสายอย่างละเอียดซึ่งเราจะกล่าวถึงในที่นี้ ในการที่จะต่อสายระหว่าง terminal เข้าด้วยกัน อันดับแรก เลือก Wring Tool จาก Tools palette จากนั้นนำา ปลายของตัวชี้ไว้ ที่ terminal หนึ่ง แล้ว กดเมาส์ (Click) จากนั้ น ลากเม้ า ส์ ไ ปที่ terminal ปลายทาง แล้ว กดเมาส์ อี กครั้งหนึ่ง ก็ จ ะเสร็ จ สิ้ น สำา หรั บ ราย ละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม และเทคนิ ก ของการต่ อ สายให้ อ อกมาสวยงามและเป็ น ไปตามต้ อ งการมี ดั ง ต่ อ ไปนี้  การต่อสาย terminal ทั้งสองเข้าด้วยกัน ในการเชื่อมตัว 2 terminal เข้าด้วยกัน เราจะเริ่ม จาก terminal ใดก็ ไ ด้ เมื่ อ เรานำา ปลายตั ว ชี้ เ ข้ า ใกล้ terminal ใด เราจะสั ง เกตเห็ น ว่ า terminal นั้นจะกระพริบและแสดงปลายสายให้เห็น นอกเหนือจากนั้นเราจะสังเกตว่ามีตวั อักษร ที่ เ ป็ น ชื่ อ ข อ ง terminal ที่ เ ร า กำา ลั ง ชี้ อ ยู่ ป ร า ก ฏ ขึ้ น อ ยู่ ด้ ว ย  การต่อสายเข้ากับ node ที่มีหลาย terminal อยู่ติดๆกัน สายต่อจะเข้าสู่ terminal ที่กำา ลัง

กระพริบอยู่เท่านั้น ไม่ว่าเราจะลากสายมาจากทิศทางใดของ node หรือเข้าสู่ node ที่ตำาแหน่ง ใดก็ตาม ข้ อเสนอแนะก็คื อควรต่อ สายให้เ ข้ า สู่ terminal ตรงตามตำา แหน่งและทิศ ทางของ terminal ใ น node นั้ น เ พื่ อ ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข  ก า ร ก ด เ ม า ส์ ปุ่ ม ข ว า จ ะ เ ป็ น ก า ร ย ก เ ลิ ก ก า ร ต่ อ ส า ย  ในการลากสายในระหว่างการเชื่อมต่อนั้นเราไม่จำา เป็นต้องกดเมาส์เอาไว้ เราสามารถปล่อยได้เลย

แล้วกดอีกครัง้ หนึ่งเมือ่ ถึงปลายทาง ยกเว้นเราต้องการจะเปลี่ยนทิศทางจากการเดินสายในแนวดิ่งให้ เป็นแนวระดับหรือกลับกัน โดยปกติ LabVIEW จะยอมให้มีการเลี้ยวมุมฉาก (หรือเปลี่ยน แนวการเดินสาย) ได้ 1 ครั้ง โดยไม่ต้องกดเมาส์ แต่ถ้าเราต้องการจะเลี้ยวมากกว่า 1 ครั้ง เราจะ ต้ อ ง ก ด เ ม า ส์ เ พื่ อ จ ะ เ ลี้ ย ว ใ น ค รั้ ง ต่ อ ไ ป  เมื่อเกิดการเลี้ยวสายโดย LabVIEW เราสามารถกำาหนดให้ LabVIEW เปลี่ยนเส้นทางไป

อยู่อีกแนวหนึ่งได้ เช่น LabVIEW เดินสายในแนวระดับก่อนแล้วจึงเดินสายในแนวดิ่ง แต่เรา ต้องการให้เดินสายในแนวดิงก่อนแล้วจึงเดินในแนวระดับ เราสามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยให้เรากด แป้น Space Bar บนแป้นพิมพ์ไว้ การเดินสายทั้งสองแนวจะเกิดการกระพริบสลับกัน เรา สามารถเลือกการเดินสายแบบใดแบบหนึ่งได้ โดยการปล่อยเมาส์ในจังหวะกระพริบที่เราต้องการ  การเชื่อมสายแยกสามารถทำาได้โดยให้ปลายของตัวชี้ ชีอ้ ยู่บนเส้นที่ต้องการจะแยกสาย เส้นที่ได้รับ

การชี้อยู่จะกระพริบ เราสามารถกดเมาส์หนึ่งครั้งเพื่อเชื่อมสายเข้าด้วยกัน จากนั้นเราสามารถลาก ส า ย ไ ป สู่ terminal ที่ ต้ อ ง ก า ร ต่ อ ไ ป ไ ด้

Basic

LabVIEW

Programming 3-17



การลบสายให้ใช้ Positioning Tool เลือกสายแล้วกดแป้น Delete จะเป็นการลบสายใน ส่ ว น นั้ น อ อ ก ไ ป



การเคลื่อนย้ายสายสามารถทำา ได้โดยใช้ Positioning Tool เลือกสายที่ต้องการแล้วจัด วางในตำา แหน่งใหม่หากเราต้องการ หากเราต้อการย้ายสายให้ดึงสายไปจากตำา แหน่ง เดิมแล้ววางลงไปในตำาแหน่งใหม่ เมือ่ ได้ตำาแหน่งที่ต้องการให้ปล่อยปุ่มเมาส์ สายที่ต่อ อยู่ในแนวเดิมจะหายไปแล้วปรากฏขึ้นในตำา แหน่งใหม่ ส่วนสายต่อส่วนอื่นๆจะยืด ต า ม ส่ ว น นั้ น โ ด ย อั ต โ น มั ติ

การต่ อ สายจะมี ค วามยุ่ ง ยากมากขึ้ น เมื่ อ node นั้ น มี terminal จำา นวนมาก การต่ อ สายเข้ า กั บ object ที่มี terminal จำานวนมากนี้จะเป็นการดีถ้าหากเราไม่รีบร้อนและดูตัวหนังสือ (Tip) และสายของ terminal นั้ น ว่ า ต้ อ งการข้ อมู ล ลั ก ษณะใด เพราะเมื่ อ เราใช้ ป ลายตั ว ชี้ อ ยู่ ใ นตำา แหน่ ง ของ terminal ใด terminal นั้นจะแสดง Tip และลักษณะของปลายลวดที่จะเชื่อมต่อ การสังเกตที่ปลายสาย โดยดูจากสี ขนาด และลักษณะของสายจะช่วยบอกเราได้ว่า terminal นั้นต้องการข้อมูลประเภทใด เพื่อช่วยในการต่อสายให้ถูก ต้อง นอกเหนือจากนั้นถ้าที่ปลายสายของ terminal มีจุดอยู่แสดงว่า terminal นั้นเป็น input ของ node นั้ น แ ล ะ ถ้ า ห า ก ที่ ป ล า ย ส า ย ข อ ง terminal ไ ม่ มี จุ ด แ ส ด ง ว่ า เ ป็ น output ข อ ง node นั้ น การใช้ Help Windows ในการเชื่อมสาย จะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะสามารถผู้เริ่มต้นใช้งานในการต่อ สายเข้ า กั บ object ที่ เ รายั ง ไม่ คุ้ น เคย เพราะใน Help Windows จะบอกลั ก ษณะของข้ อ มู ล ที่ แ ต่ ล ะ terminal ต้ อ งการ นอกจากนั้ น ยั ง จะบอกถึ ง ว่ า Input ใด เป็ น ค่ า ที่ จำา เป็ น (Required) หรื อ แ น ะ นำา (Recommended) ห รื อ เ ป็ น ตั ว เ ลื อ ก (Optional) 

ส า ย เ สี ย หากว่าเราต่อสายผิดพลาด เราจะพบว่าสายต่อจะปรากฏเป็นเส้นประสีดำา แทนที่จะเป็นเส้นสีเหมือนสาย ปกติอื่นๆ และเราจะพบว่าในขณะนั้น VI จะไม่สามารถทำางานได้ จนกว่าการต่อสายจะเป็นไปอย่างถูกต้อง เรา สามารถลบสายเสี ย (Bad Wire) ได้โดยการใช้ คำา สั่ ง Remove Bad Wires จาก Edit menu ห รื อ ก ด - B แ ล้ ว พ ย า ย า ม ต่ อ ส า ย ใ ห ม่ ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ถ้าหากไม่ทราบสาเหตุว่าทำาไม่สายต่อจึงกลายเป็นสายเสีย ให้กดเมาส์ที่ปุ่ม Run (ซึ่งขณะนี้เป็นรูปลูก ศรหักอยู่) หรือ Pop-up ที่สายเสียนั้นแล้วเลือก List Errors เราจะเห็น Dialog Box ที่แสดงความ ผิ ด พ ล า ด ที่ ทำา ใ ห้ ส า ย เ กิ น ขึ้ น

 NOTE ไม่ ว่ า ด้ ว ยกรณี ใ ดๆ ก็ ต าม LabVIEW จะไม่ ทำา งานหากว่ า มี ส ายเสี ย หลงเหลื อ อยู่ ใ น Block Diagram แม้ว่าเราทราบดีว่าเราไม่มคี วามต้องการจะใช้สายนั้น อย่าลืมว่า LabVIEW เป็นเพียงโปรแกรม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ น ะ ค รั บ มั น ไ ม่ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ อ่ า น ใ จ ผู้ ใ ช้ อ อ ก ทุ ก ก ร ณี !!!

Basic

LabVIEW

Programming 3-18













ลื่





ย้





Object

ปกติเมื่อเราต่อสายระหว่าง object คู่ ใ ดเข้าด้ วยกั นแล้ว เมื่อเราเลื่อน object หนึ่งที่อยู่บน Block Diagram สายที่ต่อไว้ก่อนหน้านี้จะยืดตามหรือหดเข้าไปด้วยโดยอัตโนมัติ เราจึงไม่จำา เป็น ต้ อ งต่ อ สายใหม่ ยกเว้ น ในกรณี ที่ เ ราย้า ย object เข้ า ไปใน Structure สายต่ อ จะไม่ ต ามเข้ า ไปใน Structure นั้นด้วย และสายที่เราต่อไว้เดิมก็จะกลายเป็นสายเสีย เราจะกล่าวถึง Structure ในภายหลัง ก า ร ส ร้ า ง Object โ ด ย อั ต โ น มั ติ นอกเหนือจากการสร้าง Object ไม่ว่าจะเป็นค่าคงที่ ค่า Control หรือ Indicator บน Front Panel แล้วต่อสายด้วยตนเองภายใน Block Diagram เราอาจจะสร้าง Object บน Front Panel จาก ภายใน Block Diagram ได้ โดยที่ terminal ของ node ที่ต้องการ Input/Output ให้ใช้ Pop-up menu ของ terminal นั้ น แล้ วเลือ ก Create Constant หรือ Create Control หรือ Create Indicator เพื่อ สร้ า ง Input/Output ให้ กั บ terminal นั้ น โดยอั ต โนมั ติ และ object ที่ สร้ า งขึ้ น จะเชื่ อ มสายเข้ า กั บ terminal นั้นโดยอัตโนมัติด้วย โดย LabVIEW จะเลือกลักษณะข้อมูลที่เหมาะสมที่สุดเชื่อมต่อเข้า กั บ terminal นั้ น การใช้วิธีการนี้จะมีประโยชน์มากโดยเฉพาะกรณีที่เราจะต้องต่อสายหลายๆสายเข้าสู่ node ห รื อ subVI ซึ่ ง อ า จ มี input เ ป็ น ค่ า ข้ อ มู ล ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ กั น ห ล า ย แ บ บ 

ACTIVITY 20

3.2 น



ที

กิจ กรรมนี้จ ะเป็นการฝึ กหัด ให้ เ ราได้ทดลองการเขี ย น VI เสมื อนกับว่ า เราได้มี ก ารอ่ า นข้ อมู ล จาก ภายนอกเข้ า สู่ ค อมพิ ว เตอร์ โ ดยเราจะใช้ VI สำา เร็ จ รู ป ตั ว หนึ่ ง แทนการวั ด ข้ อ มู ล จริ ง VI นี้ ชื่ อ Demo Voltage Read.VI ซึ่ งเป็ น VI ที่ส มมุติก ารอ่ า นค่ า Voltage จาก DAQ Board โดย Output ของฟังก์ชันนี้จะเป็นค่า Voltage ทีละ 1 ค่าที่ได้จากข้อมูลที่มีการบันทึกไว้ล่วงหน้า สำาหรับ Input ของ VI

Basic

LabVIEW

Programming 3-19

นี้ไม่มีผลต่อการประเมินค่าเป็นเพียงสร้างสภาวะให้ผู้ใช้ได้มีความรู้สึกเหมือนกับใช้ DAQ Board จริงๆ อยู่ เ ท่ า นั้ น เ ร า จึ ง ไ ม่ จำา เ ป็ น ต้ อ ง ต่ อ input ใ น ที่ นี้

เราสามารถหา VI นี้ จ ะอยู่ ภ ายใต้ Tutorial subpalette ของ Function Palette ขั้ น ตอนของ กิ จ ก ร ร ม นี้ มี ดั ง นี้ 1.



ร้





front

panel

ดั















รู



2. สำา หรั บขั้ นตอนการเปลี่ย นแปลงตั ว เลขที่ร ะดับ นำ้า ในถัง ซึ่ ง เดิม ค่ า เริ่ ม ต้ น เป็ น 0 ถึง 10 เราสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ โดยใช้ Operating Tool เลื่อนไปบริเวณตัวเลขที่ต้องการเปลี่ยน เช่นในกรณีนี้เลื่อน ไปที่เลข 10 แล้วกดเมาส์ปุ่มซ้าย การแสดงตัวเลขจะเปลี่ยนไปอยู่ในลักษณะที่พร้อมจะสามารถแก้ไขได้ ใส่ตัวเลขที่ตอ้ งการ เช่นในที่นี้เราใส่ 100 และเมื่อแก้ไขแล้วกด Enter ตัวเลขทั้งหมดจะเปลี่ยนและปรับ ค่ า ม า อ ยู่ ใ น ช่ ว ง 0-100 โ ด ย อั ต โ น มั ติ 3. ลองใช้ Pop-Up menu ของส่วนเฉพาะที่เป็นตัวเลข คือเลื่อนเมาส์ไปบริเวณตัวเลขแล้วกดเมาส์ปุ่ม ขวาเพื่อดู Pop-Up menu และเลือกรูปแบบการจัดวางมาตรแบบต่างๆ โดยใช้คำาสั่ง Style หรืออาจ ล อ ง ใ ช้ คำา สั่ ง อื่ น ๆ เ ช่ น Marker Spacing ห รื อ อื่ น ๆ ก็ ไ ด้

Basic

LabVIEW

Programming 3-20

4. ไปที่ Block Diagram วาง function ชือ่ Demo Voltage Read.VI และฟังก์ชันการคูณ ลงไปใน Block Diagram จากนั้นเลือก Wiring Tool แล้วกลับมาที่ input terminal ของ Demo Voltage Read.VI แล้วลองใช้คำา สั่ง Create Constant จาก Pop-up menu ข อ ง แ ต่ ล ะ terminal เ พื่ อ ส ร้ า ง input ใ ห้ กั บ terminal ทั้ ง ส อ ง 5. ส

ร้





Block

Diagram







รู



6. โดย node ชื่ อ Volt Read นั้ น หาได้ จ าก Function-Tutorial ซึ่ ง Node นี้ ในขณะนี้ เ รา สมมุติว่าเป็นค่าที่ได้ออกมาจากเครื่องมือวัด โดยจะมีค่าอยู่ระหว่ าง 0 ถึง 1 สำา หรับค่าตัวเลข 1 และ String 0 นั้น เป็นการสมมุติว่าให้อ่านข้อมูลจาก Analog input charnel 0 โดยใช้อุปกรณ์ 1

Basic

LabVIEW

Programming 3-21

เป็ นตั ว อ่ า น แม้ ว่ า ในความเป็ น จริง ในตั ว อย่ า งนี้ เ ราไม่ จำา เป็ น ต้ องต่อ เชื่ อม input ที่เ ป็น ค่ า คงที่แ ละ String ก็ได้ เพราะ node นี้เป็นเพียงการสมมุตกิ ารอ่านค่าจาก DAQ Card แต่เพื่อให้เราคุ้นเคยกับ ก า ร กำา ห น ด ก า ร อ่ า น ค่ า จ า ก DAQ Card จึ ง ไ ด้ กำา ห น ด input ไ ว้ อ ย่ า ง นี้ 7. ล อ ง Run VI นี้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง สั ง เ ก ต ดู ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง Indicator 8. ลองปรับแต่ง Front Panel ให้เป็นไปตามทีค่ ุณชอบ โดยใช้คำาสั่ง หรือ Control ต่างๆ ที่ได้กล่าวมา แ ล้ ว 9. เ ร า อ ย า ก ใ ห้ คุ ณ ล อ ง ใ ช้ Coloring Tool เ พื่ อ ป รั บ แ ต่ ง สี ต่ า ง ๆ บ น Front Panel 10. เ ลิ ก ก า ร ทำา ง า น

คุ ณ ไ ม่ จำา เ ป็ น ต้ อ ง

Save VI นี้ ก็ ไ ด้

จะเห็ น ว่ า กิ จ กรรมนี้ จ ะพยายามลดความละเอี ย ดของการ อธิบายการทำา ตัวอย่างต่างๆลง เพราะเราคงจะเริ่มคุ้ นเคยกับส่วน ต่างๆ มากขึ้น ซึ่ งกิจกรรมต่ อๆไปก็จ ะเป็ นไปในทำา นองเดี ยวกันนี้ 5. Debugging Bug หรื อ แมลง ในภาษาคอมพิ ว เตอร์ ห มายถึ ง การเกิ ด ข้ อ ผิ ด พลาดขึ้นในโปรแกรม คำา นี้ มาจากคอมพิ วเตอร์ใ นยุ ค แรกๆ ที่ ยัง มี ขนาดใหญ่และใช้วงจรไฟฟ้าจำา นวนมากอยู่ ในการเขียนโปรแกรม ครั้งหนึ่งปรากฏว่าเกิดความผิดพลาดในการทำา งานของโปรแกรม ขึ้ น หลั ง จากตรวจสอบรายละเอี ย ดทั้ ง ในส่ ว นของโปรแกรมและ เครื่ อ งคอมพิ วเตอร์ แ ล้ วพบว่า มี แ มลงเข้า ไปอยู่ ใ นเครื่ อ ง จึ ง ทำา ให้ เกิดไฟฟ้าลัดวงจร อันเป็นเหตุให้การทำางานของโปรแกรมผิดพลาด ไป เราจึงได้ใช้คำาว่า Bug แทนการเกิดความผิดพลาดขึ้นในโปรแกรม คอมพิวเตอร์ต่ อมาจนถึงปัจจุบัน แม้ว่าคำา นี้ในปัจจุบันจะหมายถึง ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นภายในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเท่านั้น และ คำา ว่า Debug จะหมายถึง การแก้ไขความผิด พลาดของโปรแกรมนั้ น เนื่องจากการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถเกิ ดข้ อผิด พลาดได้ทุกขั้นตอน ดังนั้นโปรแกรมต่างๆ มักจะมี Debugging Tool ต้อง

Basic

LabVIEW

Programming 3-22

ม า ด้ ว ย เ ส ม อ LabVIEW ก็ เ ช่ น กั น จ ะ มี Debugging Tool ห า พ ร้ อ ม กั น โปรแกรม ในหั ว ข้ อ นี้ เ ราจะอธิ บ ายการใช้ Debugging Tool เหล่ า นั้ น แ ก้ ไ ข Broken VI Broken VI เป็นคำาที่ใช้เรียก VI ที่ไม่สามารถทำางานได้ ซึง่ ขณะนั้นปุ่ม Run จะเป็นรูปลูกศร หัก ซึ่งหมายความว่าในขณะนี้ VI ของเรามีปัญหาหรือข้อผิดพลาดอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งเหตุการณ์นี้ ถือเป็นเรื่องปกติเพราะ VI จะอยู่ในสภาพที่เป็น Broken VI ถ้าหากว่าเราอยู่ในระหว่างขั้นตอนการ ต่อสายอยู่ และเมื่อเราต่อสายเสร็จและไม่มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นแล้ว VI ก็จะกลับเข้าสู่สภาพพร้อม ทำางานปกติได้ สำาหรับในกรณีที่เราได้ต่อสายผิดไว้และมีสายเสียเกิดขึ้น เราจะต้องแก้ไขหรือกำาจัด สายเสียออกไปจาก Block Diagrams เสียก่อน เพื่อกำาจัดสายที่ไม่ต้องการออกไป เพราะ LabVIEW จะไม่ยอมให้มีสายที่ต่อผิดหรือต่อสายไม่ครบ (คือไม่มีจุดเริ่มต้นหรือจุดสิ้นสุดที่แน่นอน) อยู่ภายใน Block Diagram แม้ว่าเราจะไม่ต้องการให้ข้อมูลไหลไปตามสายเหล่านั้นก็ตาม ขั้นตอนการลบสาย เสี ย ออกที่ ง่ า ยที่ สุ ด คื อ ใช้ คำา สั่ ง Remove Bad Wires จากภายใต้ Edit Menu หรื อ ใช้ -B นอกเหนือจากการลบสายต่อที่เสียออกจาก Block Diagram แล้ว ยังอาจเกิดความผิดพลาด ได้จากกรณีอื่นๆ ได้อีก ซึง่ เราสามารถจะมองหาจุดผิดพลาดเหล่านั้นได้ด้วยการใช้คำาสั่งให้แสดงข้อ ผิดพลาดทั้ งหมดที่เ กิ ดขึ้ น หน้า ต่างที่แสดงความผิดพลาดนี้เรีย ก Error List การที่จ ะให้หน้าต่าง Error List แสดงขึ้นมานั้นทำาได้โดยเลือกคำาสั่ง Show Error List จาก Windows Menu หรือใช้เมาส์ กดบริเวณปุ่มรูปลูกศรหักที่อยู่บน Tool Bar ก็ได้ จากนั้นหน้าต่าง Error List จะปรากฏขึ้นและแสดง ความผิ ด พลาดทั้ ง หมดที่ มี อ ยู่ ภ ายใน Block Diagram ตั ว อย่ า งของหน้ า ต่ า งนี้ แ สดงในรู ป 

Basic

LabVIEW

Programming 3-23

ถ้าหากเราต้องการจะทราบว่า การเกิดความผิดพลาดแต่ละหัวข้อมีสาเหตุมาจากเรื่องใด เรา สามารถเลือกหัวข้อนั้นภายใน Error List เพื่อให้หน้าต่างด้านล่างอธิบายความเป็นไปได้ที่ทำาให้เกิด ความผิดพลาดนั้นขึ้น สำาหรับการที่จะหาตำา แหน่งของความผิดพลาดบน Block Diagram สามารถ ทำาได้โดยใช้เมาส์กดที่รายการผิดพลาด 2 ครั้ง (double click) หรือใช้เมาส์กดปุ่ม Find บนหน้าต่าง Error List จะทำาให้ LabVIEW กลับไปแสดง Block Diagram และแสดงตำาแหน่งของความผิดพลาด ด้ ว ย ก า ร เ น้ น ตำา แ ห น่ ง นั้ น ด้ ว ย เ ส้ น เ ป็ น ก ร อ บ ร อ บ ส่ ว น นั้ น ไ ว้ ก า ร แ จ้ ง เ ตื อ น การแจ้งเตือนหรือ Warning เป็นเครื่องมืออีกชนิดหนึ่งที่ช่วยการแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิด ขึ้นใน VI เราสามารถให้ LabVIEW แสดงคำา เตือนได้ โดยการเลือก Show Warnings บนหน้าต่าง Error List การเตือนของ LabVIEW ไม่ได้หมายความว่าเกิดความผิดพลาดขึ้นใน VI เพียงแต่ได้เกิด มีสิ่งที่ไม่มีเหตุผลที่ LabVIEW เข้าใจเกิดขึ้นใน VI เท่านั้น ตัวอย่างเช่น อาจมี Control Terminal ที่ ไม่ได้ต่อเข้ากับส่วนใดเลย แม้ว่าจะไม่เป็นความผิดพลาด แต่ LabVIEW ก็สงสัยว่าจะมี object นั้น อ ยู่ เ พื่ อ เ ห ตุ ผ ล อ ะ ไ ร ถ้าหากเราเลือก Show Warnings แล้วเกิ ดสิ่งที่ทำา ให้ LabVIEW เตือน เราจะเห็นว่ามี ปุ่ม เตื อ น (Warning Button) เกิ ด ขึ้ น บน Toolbar หากเราต้ อ งการทราบว่ า LabVIEW เตื อ นอยู่ เราก็ ส า ม า ร ถ ก ด ที่ ปุ่ ม นั้ น เ พื่ อ ดู ร า ย ก า ร เ ตื อ น ไ ด้ นอกจากนั้ นเรายังสามารถเลือ กให้แสดงการเตื อนได้ โดยบน Menu Bar เลือก Edit  Preferences... และบน dialog box การเลือก Show Warning In Error Box By Default เพื่อให้มี ก า ร แ ส ด ง ก า ร เ ตื อ น ทุ ก ค รั้ ง ที่ มี ค ว า ม ไ ม่ ส ม บู ร ณ์ เ กิ ด ขึ้ น กั บ VI ข อ ง เ ร า 

 NOTE การที่ LabVIEW แสดงการเตือนนั้น ไม่ได้หมายความว่ามีสิ่งผิดพลาดเกิดขึ้นใน VI ของเรา เพียง แต่ VI ของเราอาจไม่สมบูรณ์ เช่นเราไม่ได้ต่อสายเข้ากับจุดที่แนะนำาให้ต่อ แต่ไม่ใช่จุดที่ต้องถูกต่อสาย เป็นต้น ซึ่ ง การที่มี คำา เตื อ นแสดงมานั้ น เราอาจเพิ กเฉยต่อ คำา เตือ นทั้งหมดเลยก็ ไ ด้ และให้ VI ของเราทำา งานต่ อ ไป 

ก า ร เ ข้ า สู่ VI ที ล ะ ขั้ น เนื่องจาก LabVIEW เป็นโปรแกรมที่ใช้การเดินทางของข้อมูลในการควบคุมการประมวลผลของ โปรแกรม ซึ่งต่างจากการทำางานทีละบรรทัดของโปรแกรมตัวหนังสือทั่วๆ ไป ดังนั้นการดูการทำางานทีละลำาดับ อ า จ จ ะ ไ ม่ เ ห มื อ น กั บ โ ป ร แ ก ร ม ที่ ทำา ง า น ที ล ะ บ ร ร ทั ด การที่เรากำาหนดให้ LabVIEW ทำางานที่ละขั้นเป็นการกำา หนดให้ LabVIEW ประมวลผลบน Block Diagram ที ล ะ node ได้ คำา ว่ า node ใ นที่ นี้ ร วม ถึ ง subVI, Structure, Code

Basic

LabVIEW

Programming 3-24

Interface Node (CIN), Formula Nodes และ Attribute nodes ซึ่ ง object เหล่ า นี้ เ รา จะกล่ า วถึ ง ต่ อ ไป สำา หรั บ การกำา หนดให้ VI ทำา งานที ล ะ node สามารถทำา ได้ ห ลายวิ ธี ดั ง ต่ อ ไปนี้ ⊇ ใช้ คำา สั่งใดคำา สั่ ง หนึ่ งของการทำา งานที ล ะขั้ นแทนที่จ ะใช้ คำา สั่ ง Run การทำา งานทีล ะขั้ น ประกอบด้ ว ย  Step Into จะทำา งานลำา ดั บ แรกของ node, subVI หรื อ ของ Structure แล้ ว หยุ ด รอ (pause) เ พื่ อ จ ะ ทำา ขั้ น ต่ อ ไ ป ข อ ง subVI ห รื อ Structure นั้ น  Step Over จะทำางานของ subVI หรือ Structure จากขั้นแรกจนกระทั่งเสร็จการทำางาน

ที่ node, subVI ห รื อ Structure นั้ น แ ล้ ว ห ยุ ด ร อ ก่ อ น ที่ จ ะ เ ข้ า สู่ node ต่ อ ไ ป  Step Out ให้โปรแกรมเสร็จสิ้นการประมวล Block Diagram, Structure หรือ VI

ใ น ข ณ ะ นั้ น ⊄

แ ล้ ว จ า ก นั้ น จึ ง ห ยุ ด ร อ

ก า ร ใ ส่ Breakpoints ในระหว่างการไหลของข้อมูล การใส่ Breakpoints ไม่ได้หมายความว่า ให้ยกเลิกการทำางานของ

VI แต่หมายถึ งได้ VI หยุ ดรอการประมวลผลที่ ตำา แหน่ งนั้ นเพื่อเราจะสามารถแก้ ไ ขการทำา งาน โปรแกรมได้ Breakpoint จะมีประโยชน์เมื่อเราต้องการจะตรวจดู input ที่เข้าสู่ VI, node หรือ สาย ต่อในระหว่างการประมวลผล เมื่อข้อมูลเดินทางมาถึง Breakpoint ปุ่ม Pause จะทำางาน เราอาจจะ ตรวจสอบข้อ มูล ด้ วย Probe, อาจจะใช้ Single-Step ในการประมวลผลต่อ ไป VI เพื่อสังเกตการ เปลี่ยนแปลงค่าบน Front Panel หรือถ้าทุกอย่างเป็นปกติเราอาจเปลี่ยนให้ LabVIEW ทำางานต่อไป โ ด ย ก ด ที่ ปุ่ ม Pause ห รื อ ปุ่ ม Run

วิธีการตั้งจุด brake ทำาได้โดยเลือก Breakpoint tool จาก Tools palette จากนั้นเลื่อนไป บน block diagram เมื่ อได้ ตำา แหน่งที่ต้องการจะวางแล้ว ให้ กดเมาส์ breakpoint จะปรากฏขึ้ น บน Block Diagram แต่ ถ้ า หากเรากดซำ้า ในจุ ด ที่ มี breakpoint อยู่ แ ล้ ว breakpoint นั้ น จะหายไป การทำางานของ Breakpoint จะแตกต่างไปตามชนิดของวัตถุตำาแหน่งที่วาง Breakpoint ลงไป ก ล่ า ว คื อ  ถ้ า วาง Breakpoint ลงบน Block Diagram จะมี ก รอบสี แ ดงขึ้ น รอบ Diagram

แ ล ะ ก า ร ห ยุ ด ร อ จ ะ เ กิ ด ขึ้ น เ มื่ อ ก า ร ทำา ง า น ข อ ง Diagram นั้ น สิ้ น สุ ด ล ง  ถ้าวาง Breakpoint ลงบน Node จะเกิดกรอบสีแดงรอบ Node นั้ น และการทำา งานจะ ห ยุ ด ร อ ก่ อ น ที่ ข้ อ มู ล จ ะ เ ข้ า ไ ป ป ร ะ ม ว ล ผ ล ใ น Node นั้ น  ถ้าวาง Breakpoint ลงบนสายต่อ จะเกิดวงกลมสีแดงขึ้นบนสายต่อที่ตำาแหน่งนั้น และถ้าหาก มี Probe ต่ออยู่กับสายนั้น จะเกิดการรอบแดงขึ้นรอบกรอบของ Probe นั้ น การประมวล ข้ อ มู ล จ ะ ห ยุ ด ร อ เ มื่ อ มี ข้ อ มู ล วิ่ ง ผ่ า น เ ข้ า ม า ที่ ส า ย ต่ อ นั้ น

Basic

LabVIEW

Programming 3-25

เมื่ อ VI ถู ก ระงั บ การทำา งานเนื่ อ งจาก breakpoint หน้ า ต่ า งของ Block Diagram จะ Active ขึ้นมาอยู่บนสุด ขณะที่ตำาแหน่งที่ข้อมูลกำาลังหยุดรออยู่นั้นจะมีการเน้นสีและเลื่อนกระพริบ เพื่อให้เรา เ ห็ น ไ ด้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น ว่ า ข ณ ะ นี้ VI ห ยุ ด ร อ ที่ ตำา แ ห น่ ง ใ ด 

ก า ร ใ ช้ Probe Probe เปรียบเหมือนกับเครื่องมือวัดข้อมูล ที่ใช้จุ่มลงไปบนสายต่อเพื่อแสดงค่าข้อมูลที่กำาลังไหลผ่าน โดยปกติเราจะใช้เพื่อตรวจสอบความถูกต้องในการประมวลผลใน VI ว่ามีค่าเป็นอย่างไร เมื่อเราวาง Probe ลงไปบนสายต่อจะทำาให้เกิดหน้าต่างของ Probe นั้นขึ้น และเมื่อ VI อยู่ในโหมดการทำางาน เมื่อข้อมูลเดินทาง ผ่านสายต่อที่วาง Probe ไว้ ค่าของข้อมูลจะแสดงบนหน้าต่างแสดงผลของ Probe นั้น จะเปลี่ยนไปตามค่า ข อ ง ข้ อ มู ล ที่ เ ดิ น ท า ง ผ่ า น ส า ย ต่ อ นั้ น ต า ม ตั ว อ ย่ า ง ที่ แ ส ด ง ใ น รู ป

วิธีการวาง Probe ลงบนสายต่อ ทำาได้โดย เลือก Probe Tool จาก Tools Palette จากนั้นเลือก กดเมาส์ลงบนสายต่อเส้นที่ต้องการภายใน Block Diagram จากนั้น LabVIEW จะแสดงเครื่องหมาย Probe เป็นรูปสี่เหลี่ยม และหมายเลขของ Probe อยู่ตรงกลาง พร้อมปรากฏหน้าต่างแสดงค่าของ Probe นั้ น เราสามารถวาง Probe ไว้ บ น Block Diagram ได้ เ ป็ น จำา นวนมากเท่ า ใดก็ ไ ด้ เ ท่ า ที่ เ รา ต้ อ ง ก า ร ข้ อมู ลที่ แ สดงบน Probe Windows ไม่สามารถจะเปลี่ ย นแปลงได้ แต่ เ ราสามารถเปลี่ ย น ลักษณะของการแสดงได้ เช่นจะให้แสดงเป็นตัวเลข กราฟ หรืออื่นวิธีการคือการใช้คำา สั่ง Custom Probe จ า ก Pop-up menu ข อ ง ส า ย ต่ อ ที่ probe ว า ง อ ยู่

Basic

LabVIEW

Programming 3-26

การลบ Probe ทำา ได้โดยปิดหน้าต่างแสดงผลของ Probe นั้น และเครื่องหมายของ Probe บ น Block Diagram ก็ จ ะ ห า ย ไ ป อ ย่ า ง อั ต โ น มั ติ การใช้ Probe ในการตรวจสอบการทำางานของ VI เป็นสิ่งที่มีประโยชน์มาก โดยเฉพาะการ ใช้ Probe ที่ออกมาจาก subVI เพราะจะทำา ให้เราทราบได้ว่าค่าที่ออกมาจาก subVI นั้นเหมาะสม หรือสมควรจะเป็นไปตามนั้นหรือไม่ เพราะการผิดพลาดของการเขียนโปรแกรมส่วนหนึ่งจะมาจาก ก า ร เ ขี ย น subVI ผิ ด พ ล า ด ด้ ว ย  ก า ร เ น้ น เ ส้ น ท า ง ข้ อ มู ล เราสามารถดู เ ส้ น ทางการเดิ น ทางของข้ อ มู ล บน Block Diagram เพื่ อ สั ง เกตดู ก าร เปลี่ยนแปลงค่าของข้อมูลในระหว่างที่ผ่านไปตาม node ต่างๆ และเส้นทางการเดินทางของข้อมูล ตามสายต่อต่างๆว่ามีลำาดับเป็นอย่างไร การใช้คำา สั่งให้การประมวลข้อมูลเป็นไปในลักษณะนี้ใน LabVIEW เราเรีย กว่ า Execution Highlighting และสามารถสั่งให้ LabVIEW ทำา การประเมืนผล เ ช่ น นี้ ไ ด้ โ ด ย ใ ช้ เ ม า ส์ ก ด ปุ่ ม ดั ง ก ล่ า ว บ น Toolbar เมื่อเราให้ LabVIEW ประมวลผลด้วยวิธีการนี้ การเดินทางของข้อมูล โดยจะแทนด้วย รูป ฟองอากาศเล็กๆ เคลื่อนที่ไปตามสายต่อต่างๆ เราจะพบว่าการประมวลผลด้วยวิธีนี้ จะลดความเร็ว ใ น ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล ไ ป อ ย่ า ง ม า ก ค่ า ต่า งๆ บน node จะมี ก ารแสดงผลโดยอั ตโนมั ติ ไ ด้ หากเราเลือ กตั วเลือ ก Auto Probe During Execution Highlighting ภายใต้ Preference… จาก Debugging Menu เมื่อเราเลือกตัวเลือก นี้ จ ะเ กิ ด Probe อั ต โ น มั ติ ขึ้ น ที่ Node และจ ะ แส ด ง ค่ า เ มื่ อ ข้ อมู ล ใ ห ม่ เ ดิ น ท า ง มา ถึ ง



6.

เราสามารถยกเลิกการทำางานในลักษณะเช่นนี้ได้โดยใช้เมาส์กดปุ่ม Execution Highlighting น Toolbar อี ก ค รั้ ง ห นึ่ ง

Creating

SubVI

ส่วนที่มีประโยชน์อย่างมากส่วนหนึ่งของ LabVIEW ก็คือโปรแกรมหรือ VI ใดๆ สามารถสร้าง ขึ้นแล้วเรียกใช้จาก VI อื่นๆ ได้ VI ที่ถูกเรียกใช้จะกลายเป็น subVI ไป และใน Block Diagram ของ VI หนึ่ง สามารถเรียกใช้ subVI ได้หลายชุด และสามารถจะเรียก subVI หนึ่งๆ มาใช้กี่ครั้งก็ได้บน VI ห ลั ก เ ดี ย ว กั น นั้ น

Basic

LabVIEW

Programming 3-27

เราสามารถทำาให้ VI ใดๆ ทำาหน้าที่เป็น subVI ใน Block Diagram ของ VI อื่นได้ เพียงแต่ เราต้องจัดการสร้าง Icon และ Connector ให้กับ subVI นั้นให้เหมาะสมเสียก่อน อย่างไรก็ตาม VI ไม่ ส า ม า ร ถ เ รี ย ก ตั ว มั น เ อ ง เ ป็ น subVI ไ ด้ เมื่ อ เราจะเลื อ กใช้ subVI ของเรา สามารถทำา โดยเลื อ ก Select a VI... จาก Functions palette จากการเลือกตัวเลือกนี้ เราจะได้ File dialog box ซึ่งเราสามารถเลือก VI ใดๆ ที่ได้รับการเก็บ อยู่ ภ ายในเครื่ อ งมาใช้ เมื่ อ เราเลื อ กแล้ ว Icon ของ subVI จะปรากฏใน Block Diagram 

ก า ร ส ร้ า ง subVI จ า ก VI การสร้ า ง subVI จาก VI ที่ มี อ ยู่ จ ะประกอบด้ ว ย 2 ส่ ว นคื อ การสร้ า ง Icon และการสร้ า ง Connector สำา หรับการที่เราจะสร้าง subVI จาก VI นั้นมีข้อควรคำา นึงอยู่อย่างหนึ่งคือเราควรจะสร้าง และทดสอบการทำา งานของ VI ให้ถูกต้องเรียบร้อยเสียก่อน แล้ว จึงสร้า งเป็น subVI ขึ้นมากเพราะจะลด ปั ญ ห า ใ น ก า ร Debug ใ น ส่ ว น ข อ ง VI ห ลั ก ที่ เ รี ย ก subVI นี้ ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก 

ก า ร ส ร้ า ง icon ทุก subVI จะต้องมี Icon เพื่อนำาไปใช้ใน block diagram ของ VI ที่จะเรียก subVI นี้ไป ใ ช้ ง า น โ ด ย Icon นี้ ห ม า ย ถึ ง รู ป ภ า พ เ ล็ ก ๆ ที่ มี สั ญ ลั ก ษ ณ์ ที่ ผู้ ส ร้ า ง อ อ ก แ บ บ ขึ้ น โดยปกติในการสร้าง VI ใหม่ทุกครั้ง LabVIEW ได้สร้าง icon ให้กับ VI นั้นๆ อยู่แล้ว ผู้ใช้ อาจนำาไปใช้ได้เลย อย่างไรก็ตามรูปของ icon ที่ LabVIEW สร้างให้จะมีลักษณะเป็นมาตรฐาน ถ้าหากเรา ไม่แก้ไขส่วนใดเลย อาจจะทำาให้เกิดรูปซำ้ากับ icon อื่นๆ ได้ และเมื่อเราใช้ subVI จำานวนมากใน VI หลัก ข อ ง เ ร า รูปของ Icon จะปรากฏที่มุมขวาบนของหน้าต่าง Front Panel ซึ่งลักษณะรูปของ Icon เริ่มต้น จะเป็ น สั ญลั ก ษณ์ ข อง LabVIEW และมี ตัว เลขประกอบ โดยตัว เลขจะเป็ น ลำา ดั บ การสร้ า ง VI ตามชื่ อ Untitled 1, Untitled 2 ต า ม ลำา ดั บ ดั ง มี ตั ว อ ย่ า ง ใ น รู ป

การแก้ไข Icon ที่เป็นรูปเริ่มต้น ขั้นแรกเราต้องอยู่ในโหมดการ แก้ไข (Edit Mode) จากนั้นใช้เมาส์ขวากดที่ Icon เพื่อเรีย ก Pop-up menu ขึ้น มาก แล้วเลือก Edit Icon... หรือเราอาจกดเมาส์ 2 ตัวบน Icon นั้นก็ได้ ซึ่ง ห ลั ง จ า ก คำา สั่ ง นี้ LabVIEW จ ะ นำา เ ร า เ ข้ า ไ ป สู่ Icon Editor

Basic

LabVIEW

Programming 3-28

หน้าต่าง Icon Editor จะมีลักษณะคล้ายกับโปรแกรมวาดรูปทั่วๆ ไปคือจะมีเครื่องมือ วาด รูปต่างๆ เขียน ลากเส้น ดูดสี แสงสีพื้น เขียนสี่เหลี่ยม ตัวอักษร และเลือกสี เป็นต้น สำาหรับเครื่องมือ ล บ เ ส้ น ไ ม่ มี ใ น ที่ นี้ เ พ ร า ะ ก า ร ล บ ก็ คื อ ก า ร เ ขี ย น ทั บ ด้ ว ย สี พื้ น นั่ น เ อ ง

นอกจากนั้นเรายังสามารถสร้าง Icon ต่างกันในโหมดสีต่างกันคือ สีขาวดำา (B&W), 16 สี หรือ 256 เพื่อใช้แสดงผลตามโหมดของจอ ในการแก้ไขครั้งแรก Icon จะสร้างขึ้นในโหมดสีขาวดำา เท่านั้น จะไม่มีการสร้างในโหมดสีอื่น อย่างไรก็ตามเราสามารถคัดลอก Icon แล้วนำามาเปลี่ยนสีให้ อยู่ในโหมดที่ต้องการได้ โดยใช้คำาสั่ง Copy From... บนหน้าต่างนี้ เช่นถ้าหากว่าเรามีรูปในโหมดสี ขาวดำาอยู่ก่อนแล้วต้องการจะสร้าง Icon สำาหรับโหมด 16 สี อันดับแรกให้เลือกเข้ามาอยู่ในโหมด 16 สีก่อนจากนั้นจึงใช้คำา สั่ง Copy From… Black & White เราจะได้รูปขาวดำา ในโหมด 16 สี จาก นั้ น เ ร า จึ ง แ ก้ ไ ข เ พิ่ ม เ ติ ม ใ ห้ มี สี ต่ อ ไ ป สำาหรับ Icon ที่ออกแบบในแต่ละโหมดสีจะได้รับการเลือกใช้ในแต่ละโหมดของการแสดง ผลของจอในขณะนั้น ไม่ว่าจะเป็น monochrome, 16-สี, หรือ 256-สี อย่างไรก็ตามเราจะต้องมี icon ในโหมดขาว-ดำา เพราะโหมดสีอื่นจะไม่แสดง Icon ในโหมดสีอื่นบน Palette Menu และถ้าหาก ไม่ มี Icon ในโหมดสี ข าวดำา LabVIEW จะแสดงเป็ น Icon ว่ า งใน Palette Menu ต่ า งๆ หลังจากสร้างและแก้ไข Icon ได้ตามต้องการ แล้วให้กดปุ่ม OK เพื่อเสร็จสิ้นการสร้าง Icon 

Basic







กำา

LabVIEW







Connector

Programming 3-29

ก่ อ นที่ เ ราจะใช้ VI ให้ เ ป็ น subVI เราจะต้ อ งมี ก ารกำา หนด Connector Terminal ของ subVI นั้นเสียก่อน หน้าที่ของ Connector นี้จะเป็นการกำาหนดให้ข้อมูลเข้าและออกจาก subVI โดย เริ่ ม ต้ น LabVIEW จะกำา หนดให้ ส่ ว นที่ เ ป็ น Control ใน VI จะได้ รั บ การกำา หนดให้ เ ป็ น Input Terminal ของ subVI และส่วนที่เป็น Indicator จะได้ถูกกำาหนด ให้เป็น Output Terminal ของ subVI ในการกำาหนด Connector ใช้ Pop-up menu บน icon แล้วเลือก Show Connector จากนั้นรูปของ Icon จะเปลี่ยนเป็น Connector





สำา หรั บ จำา นวนของ terminal เริ่ม ต้น ที่ปรากฏขึ้ น นั้ น LabVIEW จะคำา นวณจากจำา นวนของ Control และ Indicator ทั้งหมดบน Front Panel โดย Input Terminal จะวางอยู่ทางซ้ า ยมื อ และ Output Terminal จะวางอยู่ทางขวามือ อย่างไรก็ตามถ้าหากเราต้องการรูปแบบที่แตกต่างออกไป เรา จะสามารถเลือกได้โดยจาก Pop-up menu บน Connector แล้วเลือกใช้คำา สั่ง Patterns นอกเหนือ จากนั้นเราสามารถหมุนกลับตำา แหน่งของ Connector ได้ถ้าหากว่าค่าเริ่มต้นที่ LabVIEW เลือกให้ไม่ เ ป็ น ไ ป ต า ม ที่ เ ร า ต้ อ ง ก า ร หลังจากสร้าง Connector เสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการกำา หนด terminal ต่างๆ ว่าจะหมายถึง Control หรือ Indicator ตัวใดบน Front Panel ขั้นตอนการกำาหนด Connector มี ดั ง ต่ อ ไ ป นี้ 1.

ทำา

ใ ห้

Front Panel อ ยู่ ใ น ส ภ า พ พ ร้ อ ม ทำา

ง า น

2. กดเมาส์ บน terminal ใน Connector เราจะพบว่ า ตัวชี้ จ ะเปลี่ยนเป็นรูป Wiring Tool และ terminal จะเปลี่ ย นเป็ น สี เ ทาแดง (สี อ่ า นเปลี่ ย นไปตามรุ่ น ของเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ ใ ช้ อ ยู่ )

Basic

LabVIEW

Programming 3-30

3. กดเมาส์บน Control หรือ Indicator ทีเ่ ราต้องการให้ terminal นั้นจะเชื่อมต่อเข้าเมื่อเรากดเมาส์ แล้ว จะเกิดเส้นประเคลื่อนที่รอบกรอบของ Control หรือ Indicator นั้น

4. กดเมาส์ลงบนที่ว่างบน front panel เส้นประจะหายไป ส่วนสีเทาแดงบน connector จะกลายเป็น สี ส้ ม ซึ่ ง ห ม า ย ค ว า ม ว่ า เ ร า กำา ห น ด control ใ ห้ terminal เ รี ย บ ร้ อ ย แ ล้ ว

5. ถ้าหาก terminal ยังเป็นสีขาว แสดงว่าเรายังไม่ได้กำาหนด Connection ได้ถูกต้อง ส่วนการกำาหนด terminal อื่ น ก็ ใ ห้ ทำา ซำ้า ขั้ น ตอนที่ ผ่ า นมา แต่ ล ะ subVI จะมี terminal ได้ ถึ ง 28 ช่ อ ง

6. ถ้ า หากเราต่ อช่ อ งผิ ด พลาด เราสามารถแก้ ไ ขได้ โ ดยการใช้ คำา สั่ ง จาก Pop-up menu แล้ ว เลื อ ก Disconnect สำา ห รั บ terminal นั้ น ๆ ห รื อ Disconnect All เ พื่ อ ย ก เ ลื อ ก ทั้ ง ห ม ด

Basic

LabVIEW

Programming 3-31

เมื่อกำาหนด object ให้กับ Connector เสร็จเรียบร้อยแล้วเราสามารถให้ Connector กลับไปแสดงรูป Icon ไ ด้ อี ก โ ด ย ก า ร ใ ช้ คำา สั่ ง Show Icon จ า ก Pop-up menu ข อ ง Connector 

ก า ร ส ร้ า ง subVI จ า ก ก า ร เ ลื อ ก จ า ก บ า ง ส่ ว น ข อ ง VI บางครั้งเมื่อเราสร้าง VI ไปแล้วปรากฏว่า VI ของเรามีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ หรือมีส่วนที่มีลักษณะ ซำ้าๆ กันอยู่หลายจุด ทำาให้เราคิดค่าเราน่าจะใช้ subVI แทน ซึ่ง LabVIEW ยอมให้เราสามารถที่จะทำาเช่น นี้ ไ ด้ แ ม้ ว่ า ค่ อ น ข้ า ง จ ะ ยุ่ ง ย า ก บ้ า ง ก็ ต า ม ขั้ น ตอนการเปลี่ ย นบางส่ ว นใน Block Diagram เป็ น subVI ก็ คื อ ด้ ว ย Positioning Tool เลือกส่ วนของ VI ที่ต้องการจะสร้า งเป็น subVI วิธีเลือกใช้กดเมาส์ค้างไว้แล้ว ลากเมาส์ไปเรื่อยๆ ขนาดของกรอบสี่เหลี่ยมจะขยายไปเรื่อยๆ เมื่อเลือกส่วนของ VI ทีจ่ ะทำาเป็น subVI ได้ตามทีต่ ้องการแล้ว จาก Edit menu เลือก SubVI From Selection เราจะเห็นว่ า LabVIEW เปลี่ยนส่ ว นนั้ นให้เป็น Icon และต่อสายให้เ รียบร้อยเหมือ นเดิม หากเรากดเมาส์ 2 ครั้ง บน icon เป็น LabVIEW จะแสดง Front Panel ของ subVI ทำาให้เราสามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลง Icon และ Connector ต่างๆ ได้ นอก เ ห นื อ จ า ก นั้ น เ ร า ส า ม า ร ถ Save subVI นี้ ภ า ย ใ ต้ ชื่ อ อื่ น ไ ด้ อี ก ด้ ว ย อย่างไรก็ตามการใช้ subVI From Selection จะต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจจะเกิด ปัญหาที่ไม่ได้คาดคิดหลายประการ เราแนะนำา ว่า หากจะสร้าง subVI ขอให้สร้างจาก VI ปกติแล้วทำา การ ท ด ส อ บ ก า ร ทำา ง า น ใ ห้ เ รี ย บ ร้ อ ย ก่ อ น ที่ จ ะ นำา ม า ใ ช้ ง า น 

SubVI Help : Recommended, Required แ ล ะ Optional Inputs เมื่ อ เราเรี ย ก Help Windows ขึ้ น มาใช้ กั บ subVI หรื อ node ใน block diagram คำา อธิบายและการต่อสายจะปรากฏขึ้นโดยชื่อของ input จะอยู่ด้านซ้าย และ output จะอยู่ด้านขวา ในการต่อ เชือ่ มสายนั้นเราจะต้องนำาข้อมูลที่มลี ักษณะเดียวกันต่อเข้าด้วยกัน และเราควรจะกำาหนดว่า terminal แต่ละช่อง มี ค ว า ม จำา เ ป็ น ใ น ก า ร ต่ อ เ ชื่ อ ม ม า ก น้ อ ย เ พี ย ง ใ ด โ ด ย แ บ่ ง เ ป็ น 3 ร ะ ดั บ คื อ 1.

Required ผู้ ใ ช้ จำา เป็ น ต้ อ งต่ อ terminal นี้ ไม่ เ ช่ น นั้ น VI จะเป็ น broken VI

2. Recommended แนะนำา ให้ต่อ ถ้ า ไม่ ต่อ terminal นี้ VI จะสามารถ Run ได้ แต่จ ะ ปรากฏใน Warning ของ LabVIEW เพื่ อ เตื อ นว่ า เราไม่ ไ ด้ ต่ อ สายเข้ า กั บ ช่ อ งนี้

3. Optional ช่ อ ง นี้ จ ะ ต่ อ ก็ ไ ด้ ห รื อ ไ ม่ ต่ อ ก็ ไ ด้ การเลือกลำาดับความสำาคัญในการเชือ่ มสายนี้ สามารถทำาได้โดย Pop-up ที่ terminal นั้นๆ แล้วใช้คำา สั่ง This Connection is แล้วเลือก Required, เมื่อเราเลือกตัวเลือกใดจะปรากฏเครื่องหมายถูก อยู่ห น้ า ตั ว เลื อ กนั้ น สำา หรั บ Connection ที่ต่อ ออกจาก Indicator นั้ นเราไม่ ส ามารถกำา หนดให้ เ ป็ น Required ไ ด้ แ ต่ อ า จ เ ลื อ ก เ ป็ น Recommended ห รื อ Optional ไ ด้

Basic

LabVIEW

Programming 3-32

7.

Description เมื่อเราสร้าง VI ขึ้นมา เราอาจต้องส่งให้ผู้อื่นนำาไปใช้งานต่อ เรามีความจำาเป็นที่จะต้องบอก ให้ผู้ใช้ทราบว่าค่าต่างที่เราสร้างขึ้นมานั้นมีจุดประสงค์ใดหรือมีขอ้ จำากัดอะไรอยู่บ้าง นอกเหนือจาก นั้นเมื่อผู้อื่นนำา VI ของเราไปใช้เป็น subVI เขาคงมีความต้องการที่จะทราบว่า VI ของเรามีจุดต่อ ต่างๆ เป็นอย่างไร และในหลายๆกรณีหากเราต้องนำา VI ที่เราสร้างขึ้นเองมาใช้งาน ก็มีโอกาสเป็น ไปได้ว่าเราลืมไปแล้วว่า VI ของเรานั้นสร้างมาด้วยจุดมุ่งหมายหลักใดและมีข้อจำา กัดใด ดังนั้นจะ เป็นการดีถา้ หากว่าเราจะแสดงคำาอธิบายไว้กับ VI ที่เราสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วบ้าง เพราะผู้ใช้จะได้ มีความเข้าใจการทำางานของ VI ได้ง่ายขึ้น ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงวิธีการสร้างคำาอธิบายต่างๆ ให้กับ VI ที่ เ ร า ส ร้ า ง เ ส ร็ จ เ รี ย บ ร้ อ ย แ ล้ ว 

ก า ร ส ร้ า ง คำา อ ธิ บ า ย สำา ห รั บ VI ในการสร้าง VI ขึ้นมานั้น เราจะสามารถสร้างคำา อธิบายได้ 2 แบบคือสร้า งคำา อธิบายให้กับแต่ละ object ที่อยู่บน Front Panel และอีกกรณีหนึ่งคือสร้างคำาอธิบายให้กับ VI ทั้งหมด ขั้นตอนการสร้างคำา อ ธิ บ า ย ทั้ ง ส อ ง แ บ บ ส า ม า ร ถ ทำา ไ ด้ ดั ง นี้  ก า ร ส ร้ า ง คำา อ ธิ บ า ย สำา ห รั บ แ ต่ ล ะ Object

ถ้า หากเราต้ อ งการจะสร้ า ง คำา อธิ บ ายให้ กั บ แต่ ล ะ object ของ LabVIEW เช่ น Control, Indicator, หรื อ Function ให้ เ ลื อ ก Pop-up menu ของ object จากนั้ น เลื อ ก Data Operation  Description... จากนั้น LabVIEW จะแสดง Dialog Box ขึ้นเพื่อให้เราพิมพ์คำาอธิบายที่ต้องการลงไป เมื่อเราใส่ข้อความโดยสมบูรณ์ตามต้องการแล้ว กด OK เราสามารถแสดงและแก้ไขข้อความเหล่า นั้นได้เมื่อเรียกหน้าต่าง Description ขึ้นมา ข้อความอธิบายนี้จะแสดงบน Help Windows ทุกครั้งที่ เ ม า ส์ ล า ก ผ่ า น Control ห รื อ Indicator ที่ เ ร า ใ ส่ ข้ อ ค ว า ม ไ ว้ อย่างไรก็ ตามเมื่อเมาส์ลากผ่าน subVI หรือ Function จะไม่ มีคำา อธิบายที่เราใส่เ ข้าไปใน Description ปรากฏอยู่บน Help Windows เพราะว่าเราทำาการบันทึกข้อมูลไว้คนละระดับ ถ้าหากเรา ต้องการดูคำา อธิบายใน Help ของ subVI และ Function เราจำา เป็นต้องเปิดหน้าต่างของ Description ขึ้ น ม า เ พื่ อ ดู เ อ ง ก า ร ส ร้ า ง ค่ า อ ธิ บ า ย ใ ห้ VI เราสามารถทำาคำาอธิบายให้กับ VI ทั้งหมดได้ด้วยวิธีง่ายๆ เช่นกันคือ เลือก Show VI Info... จ า ก Windows Menu ซึ่ ง LabVIEW จ ะ แ ส ด ง ข้ อ มู ล ข อ ง VI นั้ น ดั ง ที่ แ ส ด ง ใ น รู ป 

Basic

LabVIEW

Programming 3-33

เ ร า ส า ม า ร ถ ใ ช้ ห น้ า ต่ า ง VI Information นี้ ทำา ห น้ า ที่ ไ ด้ ห ล า ย ๆ แ บ บ ต า ม นี้  ใส่คำา อธิบ ายการทำา งานของ VI นี้ เ พื่อ ให้ ผู้อื่ น เข้ า ใจและถ้ า หาก VI นี้ นำา ไปใช้เ ป็ น subVI เมื่ อเมาส์ ผ่ า น Icon ของ subVI ข้ อความที่เ ราใส่ เ ข้ า ไปนี้ จ ะปรากฏใน Help window  ดู ร า ย ก า ร ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง VI ที่ เ กิ ด ขึ้ น นั บ จ า ก ก า ร บั น ทึ ก ค รั้ ง สุ ด ท้ า ย  ดู Path ห รื อ ตำา แ ห น่ ง ที่ VI นี้ เ ก็ บ อ ยู่ บ น disk  ดู ก ารใช้ ห น่ ว ยความจำา ของ VI นี้ ทั้ ง ที่ ใ ช้ ใ น disk และ หน่ ว ยความจำา ของเครื่ อ ง

8.

Save

and

Load

VI

เมื่อเราสร้าง VI ขึ้นมาใช้แล้ว เป็นที่แน่นอนว่าเราจำาเป็นต้องบันทึกข้อมูล (save) และนำาข้อมูลหรือ VI นี้กลับมาใช้ใหม่ (Load) สำา หรับการ Save และ Load ของ VI ใน LabVIEW ก็จะเหมือนกับ โปรแกรมอื่ นๆใน Windows ซึ่งเราคงทราบถึงวิ ธีการกั นดีอยู่แ ล้ว อย่า งไรก็ตามมี ก รณี ก าร Save และ Load ที่เป็นกรณี การเลือกเฉพาะของ LabVIEW อยู่หลายกรณี ซึ่งอาจจะแตกต่างจากโปรแกรมอื่น ใน หั ว ข้ อ นี้ เ ร า จ ะ อ ธิ บ า ย ใ ห้ เ ข้ า ใ จ ถึ ง ตั ว เ ลื อ ก นั้ น ๆ ครั้งแรกที่เราเรียก VI ใหม่ ขึ้นมาสร้าง LabVIEW จะสร้างชื่อให้เป็น Untitled 1 ซึ่งชื่อนี้ก็จะ ปรากฏใน Title bar เราจะสังเกตว่ามีเครื่องหมายดอกจันทร์ (*) ขึ้นต่อท้ายชือ่ ในกรณีนี้หมายความว่า VI นี้ ยังไม่ Save หลังจากเกิดการแก้ไขใน VI ครั้งล่า สุด เพื่อเตือนให้เ รา Save VI ของเรา อย่าลืมว่าในการ

Basic

LabVIEW

Programming 3-34

ทำางานกับคอมพิวเตอร์นั้นควรจะ Save งานคุณอยู่บ่อยๆ เพราะเราไม่ทราบว่าจะเกิดเหตุขัดข้องของโปรแกรม หรือกระแสไฟฟ้า ขึ้นมาเมื่อใด และขอเตือนว่ า LabVIEW ไม่มีฟังก์ชันที่ Save ข้อมูลให้โดยอัตโนมัติ  Save Options ใ น ก า ร บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ล ง สู่ แ ผ่ น disk เ ร า มี ตั ว เ ลื อ ก ใ น ก า ร เ ก็ บ ข้ อ มู ล ห ล า ย ๆ แ บ บ ดั ง นี้ 1.

เลื อ ก Save เพื่ อ จะบั น ทึ ก VI ใหม่ เพื่ อ จะกำา หนดตำา แหน่ ง บน disk และตั้งชื่ อ VI หรื อ ต้ อ ง ก า ร บั น ทึ ก VI เ ก่ า ซำ้า ใ น ชื่ อ เ ดิ ม แ ล ะ ที่ ตำา แ ห น่ ง เ ดิ ม

2. เลือก Save As... เพื่อใช้บันทึก VI เดิมด้วยชื่อใหม่หรือในตำาแหน่งใหม่ โดยไม่เปลี่ยนแปลง VI เก่า ในขณะเดียวกัน ทุก VI ที่อยู่ในหน่วยความจำาของเครื่องในขณะนั้นที่เรียก VI ตัวเก่าจะ เ ป ลี่ ย น ม า เ รี ย ก VI ตั ว ใ ห ม่ นี้

3. เลือก Save A Copy As... ใช้ในการบันทึก VI เดิมด้วยชื่อใหม่หรือตำา แหน่งใหม่ โดยไม่ เปลี่ยนแปลง VI เก่า แต่ที่แตกต่างจาก Save As คือ VI ตัวอื่นที่อยู่ในหน่วยความจำา จะชี้ไปที่ VI ตั ว เ ดิ ม 4. เลือก Save With Option… เมือ่ เราต้องการจะบันทึก VI ในกรณีพเิ ศษ เช่น บันทึก VI โดย ไม่บนั ทึก block diagram เพือ่ ไม่ให้ผอู้ นื่ แก้ไขได้ ดูรายละเอียดของการบันทึกในลักษณะนีใ้ น Online Help เ พื่ อ เ ข้ า ใ จ ตั ว เ ลื อ ก ต่ า ง ๆ

5. ในกลุ่มนี้จะมีคำาสั่งอีกคำาสั่งหนึ่งคือ Revert… โดยเราจะเลือกใช้ตัวเลือกนี้ เมื่อต้องการนำา VI ที่ เ ป็ น Version ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร Save ค รั้ ง สุ ด ท้ า ย ก ลั บ ม า ใ ช้  VI Libraries VI Libraries ก็คือการบริหารการจัดเก็บ VI ในกรณีที่เราสร้าง VI หลายๆ VI แล้วจัดเก็บ รวมไว้ ใ น Library เดี ย วกั น เพื่ อ ความสะดวกในการเลื อ กใช้ นอกเหนื อ จากนั้ น ระบบปฏิ บั ติ ก ารของ Windows จะมองเห็น VI ทั้งหมดภายใน VI Libraries เป็น file เพียง file เดียวไม่ได้เป็นกลุ่มของ file ที่บรรจุ VI หลายๆ ชุด แต่เฉพาะ LabVIEW เท่านั้นจะมองออกว่าเป็นกลุ่มของไฟล์ ประโยชน์คือจะ สะดวกและง่ า ยในการเคลื่ อ นย้ า ยทั้ง หมด file เพราะ file ที่จั ด เก็บ อยู่ ใ น Library จะได้รับ การอั ด เก็ บ (compress) เ มื่ อ ไ ด้ รั บ ก า ร บั น ทึ ก อย่างไรก็ตาม ถ้าหากเราไม่มคี วามจำาเป็นในกรณีดงั กล่าวการเก็บ VI เป็น file ย่อยก็จะมีความสะดวก ในการเคลื่อนย้าย VI ทีละส่วน และการ Load และ Save file ที่จัดเก็บแต่ละ VI จะรวดเร็วกว่า file ที่ อ ยู่ ร ว ม กั น

การสร้าง Library ทำาได้โดยใน dialog box ของ Save…, Save As… , หรือ Save A Copy… จะมีปุ่ม New VI Library ให้เลือก เมือ่ กดปุ่มนี้แล้ว เราจะได้ dialog ของ New Vi Library ขึ้นมาพิมพ์ ชื่อที่ต้องการ แล้วกด VI Library สำาหรับรายละเอียดในการจัดเก็บ file ในลักษณะนี้ศึกษาได้จาก คู่มือของ LabVIEW ACTIVITY 10

Basic

3.2 น

LabVIEW



ที

Programming 3-35

ในกิจกรรมนี้เราจะทดสอบความเข้าใจของคุณในการเขียน VI เบื้องต้น โดยขั้นตอนมีดังนี้ 1. จงเขียน VI ให้มีลักษณะของ Front Panel ตามรูป โดยถ้าหากว่าเลขสองจำา นวนที่กำา หนดขึ้น ด้ วย Control ทั้ ง สองมี ค่ า เท่ า กั น ไฟที่ แ สดงผลจะติ ด แสด งว่ า ค่ า ทั้ ง สองเท่ า กั น 2. Function ที่จะใช้ ใ น Block Diagram คือฟังก์ชัน Equal To? ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบเลขสอง จำา นวนว่ า เท่ า กั น หรื อ ไม่ หาได้ จ าก Comparison Subpalette ภายใต้ Functions Palette 3. ลองใช้ Continuous Run เพื่อทดสอบการทำางานของ VI โดยลองเปลี่ยนเลขทั้งสองจำา นวนไป เ รื่ อ ย ๆ

ACTIVITY

3.3

15 น า ที กิจกรรมนี้จะเป็นการฝึกหัดการใช้ฟังก์ชันพื้นฐานใน LabVIEW และเป็นการทดสอบความเข้าใจใน ก า ร ส ร้ า ง Icon แ ล ะ Connector ข อ ง คุ ณ ด้ ว ย ขั้ น ต อ น ข อ ง กิ จ ก ร ร ม นี้ มี ดั ง นี้ 1.

จงสร้าง VI ทีม่ ีลักษณะของ Front Panel ดังรูป เพื่อใช้หาค่าเฉลี่ยของเลขสามจำานวน โดยเลขทั้งสาม กำา ห น ด ด้ ว ย Control ทั้ ง ส า ม ที่ ป ร า ก ฏ บ น Front Panel

Basic

LabVIEW

Programming 3-36

2. เ ขี ย น Block Diagram เ พื่ อ ใ ห้ VI นี้ ทำา ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง 3. ส ร้ า ง VI นี้ ใ ห้ เ ป็ น subVI ด้ ว ย ก า ร กำา ห น ด Icon แ ล ะ Connector

สำาหรับ Block Diagram ของกิจกรรมนี้ไม่ควรจะมีฟังก์ชันที่เราไม่เคยพบมาก่อน และสำาหรับ ในข้อ 3 นั้นเป็นการทดสอบความเข้าในในการเขียน subVI ของคุณ เราอยากให้คุณให้เวลากับการ ออกแบบ Icon ของคุณสักเล็กน้อย คุณคงจะยังไม่เห็นความสำา คัญของรูป Icon ของคุณจนกระทั่ง คุ ณ ต้ อ ง นำา มั น ไ ป ใ ช้ เ ป็ น subVI ACTIVITY

3.4

15 น า ที จงเขียน VI เพื่อหาผลหารของเลขสองจำานวน ซึ่งทั้งสองจำานวนนี้ มีจำานวนหนึ่งได้มาจากการสุม่ ซึ่งจะ สามารถใช้ ฟั ง ก์ ชั น Random

ภายใต้ Numeric Subpalette ของ Functions Palette

Basic

LabVIEW

Programming 3-37

ฟังก์ชัน Random Number (0-1) เราจะนำาไปใช้ในกิจกรรมในบทต่อไป เพื่อยกตัวอย่างและ แ ท น ก า ร วั ด ข อ ง เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด จ ริ ง สำาหรับบทนี้เป็นบทที่ยาวและมีรายละเอียดค่อนข้างมาก เมื่อจบบทนี้แล้วเราอยากจะให้คุณ ลองทบทวนและฝึกฝนการใช้เครื่องมือบน Tools Palette และฟังก์ชันการทำางานต่างๆ โดยคร่าวอีก สักครั้ ง อย่างไรก็ ตามเราหวังว่าในขณะนี้ คุ ณคงมีค วามเข้า ใจในหลั ก การทำา งานของ Data Flow Programming ม า ก ขึ้ น ร ว ม ถึ ง ไ ด้ เ รี ย น รู้ ก า ร ทำา ง า น ข อ ง LabVIEW ม า ก ขึ้ น ในบทต่อไปเราจะเรียนรู้ถึงวิธีการควบคุมการเดินทางของข้อมูลให้และการทำางานของ VI เ ป็ น ไ ป ต า ม ที่ เ ร า กำา ห น ด เ พื่ อ ทำา ใ ห้ เ ร า ส ร้ า ง VI ที่ มี ค ว า ม อ่ อ น ตั ว ม า ก ขึ้ น ก ว่ า นี้

Basic

LabVIEW

Programming 3-38

Related Documents

Ch-3
April 2020 32
Ch 3
November 2019 40
Ch 3
October 2019 44
Ch-3
May 2020 22