Breeding And Raising House Cricket

  • July 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Breeding And Raising House Cricket as PDF for free.

More details

  • Words: 436
  • Pages: 30
การเลี้ยงจิ้งหรีด โดย งานโภชนาการ ฝายบํารุงสัตว สวนสัตวนครราชสีมา

ความเปนของการเลี้ยงจิ้งหรีดในสวนสัตวนครราชสีมา เนื่องจากจิ้งหรีดเปนแมลงที่มีโปรีตีนสูง เปนอาหารแก สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก สัตวปก และสัตวเลี้ยงลูกดวย น้ํานม ซึ่งถาหาจิ้งหรีดเหลามาจากธรรมชาติคงไม เพียงพอ ดังนั้นจึงมีการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีดขึ้นมาภายในสวนสัตว นครราชสีมาอยางนอยก็ชวยลดตนทุนในการสั่งซื้อ จิ้งหรีด

จิ้งหรีด อันดับ

ORTHOPTERA วงศ Gryllidae ชื่อสามัญ Cricket

ลักษณะทั่วไป จิ้งหรีดเปนแมลงอันดับเดียวกันกับตั๊กแตน หัวโต หนวดยาว สามารถกระโดดเกงเชนเดียวกัน กับตั๊กแตน ออกหากิน ในตอนกลางคืนและซอนตัวนอนใน ตอนกลางวัน ตัวเมียจะมีอวัยวะชวยในการ วางไขเปนหนามคลายเข็ม จิ้งหรีดที่พบอยูทั่วๆไปมีอยูดวยกัน 2 ชนิดคือจิ้งหรีดทองดําและจิ้งหรีด ทองแดง ซึ่งสังเกตความแตกตางของจิ้งหรีดทั้ง 2ชนิดไดโดย การดูจากสีของลําตัวที่จะเขมตางกัน

จิ้งหรีด (Cricket) จัดเปนแมลงชนิดหนึ่ง พบไดในทุกภูมิภาคของ โลก โดยเฉพาะในเขตรอนชื้น ชอบกัดกิน ตนกลาพืช ใบพืชสวนที่ ออน ๆ เปนอาหาร จิ้งหรีดมีหลายชนิดและมีขนาดแตกตางกันไป ตามชนิดของจิ้งหรีด พฤติกรรม ลักษณะพิเศษของจิ้งหรีดที่แตกตาง จากแมลงชนิดอื่นอยางโดดเดน และสังเกตไดงาย คือ การสงเสียง รองและการผสมพันธุ ที่เพศเมียจะครอมบนเพศผูเสมอ

ลักษณะโดยทั่วไปของจิ้งหรีด รูปรางลักษณะ

จิ้งหรีดเปนแมลงที่มีลักษณะปากเปนแบบปากกัด มีตารวม หนวดยาว ขาคูหลังมีขนาดใหญและแข็งแรง กระโดด เกง เพศเมียปกเรียบและมีอวัยวะวางไขยาวแหลมคลายเข็มยื่น ออกมาจากสวนทอง เพศผูมีปกคูหนายน สามารถทําเสียงได

ชนิดจิ้งหรีด จิ้งหรีดที่พบในประเทศไทย ซึ่งเปนที่รูจักกันอยางแพรหลาย มี 4 ชนิดดังนี้ 1. จิ้งหรีดทองดํา ลําตัวกวางประมาณ 0.7 ซม. ยาว ประมาณ 3 ซม. มี 3 สี ที่พบตามธรรมชาติคือ สีดํา สีทอง และสีอําพัน โดยลักษณะที่เดนชัด คือ จะมีจุดเหลืองที่โคนปก 2 จุด

2. จิ้งหรีดทองแดง มีลําตัวสีน้ําตาล เพศผูมีสีเขมกวาเพศเมีย สวนหัวเหนือขอบตารวมดานบน แตละดานมีแถบสีเหลือง มองดูคลายหมวกแกป มีความวองไวมากภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเรียกจิ้งหรีด ชนิดนี้เปนภาษาทองถิ่นวา จิ นาย อิเจ็ก จิ้งหรีดมา เปนตน

3. จิ้งหรีดเล็ก มีขนาดเล็กที่สุด มีสีน้ําตาล บางทองที่เรียกวา จิลอ จิ้งหรีดผี หรือบางที่เรียกวาแอด ลักษณะคลาย จิ้งหรีด พันธุทองแดง เพียงแตมีขนาดเล็กกวาเทานั้น

4. จิ้งโกรง เปนจิ้งหรีดขนาดใหญ สีน้ําตาล ลําตัวกวางประมาณ 1 ซม. ยาวประมาณ 3.5 ซม. ชอบอยูในรูลึก โดยจะขุดดิน สรางรังอาศัยไดเอง และมีพฤติกรรมชอบอพยพยายที่อยูเสมอ มีชื่อเรียกแตกตางกันไป เชน จิโปม จิลอ เปนตน

วงจรชีวิตจิ้งหรีด จิ้งหรีดมีระยะการเจริญเติบโต แบงออกไดเปน 3 ระยะ คือ 1) ระยะไข ไขจิ้งหรีดจะมีสีเหลืองรวมกันเปนกลุมใน ดิน ลักษณะยาวเรียวคลายเมล็ดขาวสาร ความยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร ระยะไขใชเวลาประมาณ 7 วัน จึงฟกออกมาเปน ตัวออน

2) ระยะตัวออน ไขจิ้งหรีดเมื่อฟกออกเปนตัวออน จิ้งหรีดวัยออนที่

ฟกออกจากไขใหม ๆ จะมีลักษณะคลายมด และมีการเจริญเติบโต โดยการลอกคราบ จะลอกคราบประมาณ 8 ครั้ง จึงจะเปนตัวเต็มวัย ตัวออนเมื่อโตขึ้นเริ่มมีปก เรียกวา ระยะใสเสื้อกั๊ก มีระยะกั๊กเล็ก มี ติ่งปก และกั๊กใหญ มีติ่งปกยาว ระยะตัวออนพันธุจิ้งหรีดทองดําใช เวลาประมาณ 36 - 40 วัน แตถาพันธุทองแดงใชเวลาประมาณ 46 50 วัน จึงจะลอกคราบเปนตัวเต็มวัย

• 3) ระยะตัวเต็มวัย เปนระยะที่สามารถแยกเพศไดชัดเจน โดยการ สังเกตความแตกตางของเพศผู เพศเมีย เพศผูจะมีปกคูหนายน สามารถทําใหเกิดเสียงขึ้นได โดยใชปกคูหนาถูกันจะทําใหเกิดเสียง เสียงที่จิ้งหรีดทําขึ้นเปนการ สื่อสารที่มีความหมายของจิ้งหรีด สําหรับเพศเมียจะมีปกคูหนาเรียบ และมีอวัยวะวางไขยาวแหลมคลาย เข็มยื่นออกมา จากสวนทอง โดยทั่วไปจิ้งหรีดตัวเต็มวันจะมีอายุเฉลี่ย ประมาณ 45-60 วัน เพศเมีย

เพศผู

การผสมพันธุของจิ้งหรีด • จิ้งหรีดจะผสมพันธุเมื่อเปนตัวเต็มวัย การผสมพันธุและวางไข แตละรุนจะใชเวลาประมาณ 15 วัน/ครั้ง/รุน เมื่อหมดการวางไข รุนสุดทายแลวตัวเมียก็จะตาย

วิธีผสมพันธุ • ตัวผูจะทําเสียงโดยยกปกคูหนาถูกันใหเกิดเสียง เพื่อเรียกตัวเมีย จังหวะเสียงจะดังเมื่อตัวเมียเขามาหา บริเวณที่ตัวผูอยู ตัวผูจะ เดินไปรอบ ๆ ตัวเมียประมาณ 2-3 รอบ ชวงนี้จังหวะเสียงจะเบา ลง แลวตัวเมียจะขึ้นครอมตัวผู จากนั้นตัวผูจะยื่นอวัยวะเพศ แทงไปที่อวัยวะเพศเมีย หลังจากนั้นประมาณ 14 นาที ถุงน้ําเชื้อ ก็จะฝอลง แลวตัวเมียจะใช ขาเขี่ยถุงน้ําเชื้อทิ้งไป

ระบบสืบพันธุเพศผู เพศผูมีอัณฑะ 1 คู สีขาวขุน แตละขางมีทอน้ําอสุจิมาเก็บ ไวที่พักน้ําเชื้ออสุจิ และมีตอมสรางน้ําเลี้ยงอสุจิสีขาวขุน เมื่อมี การผสมพันธุเชื้ออสุจิจะออกไปทางทอน้ําเชื้ออสุจิ ระบบสืบพันธุเพศเมีย เพศเมียมีรังไข 1 คู สีเหลืองเปนชอ รังไขแตละขางมี ทอนําไขและนําออกมารวมกันที่ทอกลาง นอกจากนี้จะพบถุง เก็บอสุจิเปนกอนกลมสีขาวขุนสําหรับเก็บอสุจิของเพศผูเมื่อ ไดรับการผสมพันธุ ขณะที่จะวางไข โดยไขแกเคลื่อนตัวลงมา จากทอนําไขก็จะมีการฉีดเชื้ออสุจิเขาไปในไขกอนที่จิ้งหรีดจะ วางไขออกมา

การวางไข เพศเมียใชอวัยวะวางไขที่ยาวแหลมคลายเข็มแทงลง ในดินที่มีลักษณะเรียวยาวคลายเมล็ดขาวสาร ใชเวลาประมาณ 7 วัน ก็จะฟกออกเปนตัวออน ตลอดอายุไขจิ้งหรีดตัวเมีย สามารถวางไขไดตั้งแต 600 - 1,000 ฟอง ซึ่งจะวางไขเปนรุน ๆ ไดประมาณ 4 รุน

ขั้นตอนการวางไข จิ้งหรีดตัวเมียจะเริ่มวางไขภายใน 7 วัน หลังผสมพันธุ มีขั้นตอน ดังนี้ - จิ้งหรีดจะวางไขในดินที่มีความชื้นพอเหมาะสําหรับวางไข - ใชเข็มแทงลงดินเพื่อวางไข - การวางไขจะวางเปนกลุม ๆ ละ 3 - 4 ฟอง ประมาณ 2 - 3 กลุม - แทงเข็ม 1 ครั้ง จะวางไขประมาณ 2 - 3 กลุม - ยกเข็มขึ้นมาเพื่อหาที่เหมาะสมเพื่อแทงเข็งวางไขใหม - จะมีการวางไขตลอดอายุ 4 ครั้ง ๆ ละ ประมาณ 200 - 300 ฟอง - การวางไขแตละรุนจะใชเวลาหางกันประมาณ 15 วัน

วัสดุ อุปกรณการเลี้ยงจิ้งหรีด 1. ฟวเจอรบอรดแผนใหญ 2. เทปกาวใชติดดานในดานบนของกลองเลี้ยงจิ้งหรีด 3. อุปกรณสําหรับใหน้ํา 4. กระดาษรังไข 5. ถาดใสดินแกลบดํา 6. หัวอาหารอาหารปลาหรือไก 7. หญาขนสด

ขั้นตอนการเลี้ยง • เตรียมโรงเรือน • เตรียมกลองเลี้ยงที่ทําจากฟวเจอรบอรดที่มีเทปกาวติดอยู ภายในกลองเลี้ยงดานบน • จัดวางอุปกรณในการใหน้ํา อุปกรณใชในการวางไข และ อุปกรณสําหรับหลบภัย ไวภายในกลอง • ปลอยพอแมพันธุจิ้งหรีดลงไป 1,000 ตัว/ 1 กลองเลี้ยง • จิ้งหรีดจะเริ่มผสมพันธุและวางไขในวันแรกที่เริ่มปลอย • 8-10 นําถาดไขออกจากกลองเลี้ยงพอแมพันธุ นําไปใสกลอง เลี้ยงกลองใหม

• ที่เตรียมอุปกรณในการเลี้ยงไวแลวเพื่อปลอยใหฝกเปนตัวเอง ภายในกลองเลี้ยงกลองใหม • ทําการเลี้ยงจิ้งหรีดตอไปประมาณ 45-60 วัน(ตัวเต็มวัย)

การใหน้ําและอาหาร • การใหอาหาร • ใหหัวอาหารไกโดยการเทลงไปที่พื้นภายในกลองเลี้ยง ประมาณ 300 กรัม/ การใหอาหาร 1 ครั้ง ควรดูอาหารทุก วันถาหมดก็ใหใหม • การใหน้ํา ใชอุปกรณในการใหน้ําไกโดยใสกอนหินลงไปในวง รางน้ําเพื่อไมใหจิ้งหรีดจมน้ํา หมั่นตรวจดูที่ใหน้ําวาน้ําหมด หรือไมและถาพบวาน้ําหรือทีใหน้ําสกปรกก็ตองลางทําความ สะอาดรวมถึงกอนหินดวย • ใสหญาขนสดลงไป อาทิตยละ 1 ครั้ง

• ใสหญาขนสดลงไป อาทิตยละ 1 ครั้ง • หมัน่ ตรวจดูทุกวันจนอายุครบ 60-65 วัน

กลองเลี้ยงจิ้งหรีดและชั้นวาง

ภาชนะสําหรับวางไข

จิ้งหรีดกําลังวางไข

กระดาษรังไขสําหรับหลบภัย

เศษหญาสําหรับหลบภัย

จิ้งหรีดกําลังกินอาหาร

Related Documents

House Raising
May 2020 12
Cricket
December 2019 37
Plant And Animal Breeding
November 2019 16
Cricket
November 2019 37
Cricket
October 2019 45