Bleeding

  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Bleeding as PDF for free.

More details

  • Words: 1,457
  • Pages: 13
1/22/2009

การพยาบาลทารกที่มีภาวะเลือดออกผิดปกติ

อ สุ ชีว า

วิชัย กุล

ภาวะเลือดออกผิดปกติในทารก ภาวะเลือดออกในทารก พบไดหลายสาเหตุ ที่ พบไดบอยเกิดจาก การลดลงของ Factors II , VII , IX และX ซึ่งจะพบได 48-72 ชั่วโมง หลังคลอด หรืออาจ พบไดในเด็กอาย 77-10 พบไดในเดกอายุ 10 วน วัน ในบางรายอาจมีสาเหตุมาจากการขาด วิตามิน K ในทารกที่คลอดกอนกําหนด ทําใหทารกมี ภาวะการแข็งตัวของเลือดชากวาปกติได

โลหิ ตวิทยาในทารก เซลลของเลือดจะปรากฏในครรภเมื่ออายุ 14 วัน ตับจะเปนตัวสําคัญในการสรางเม็ดเลือด จนหลัง คลอด 1 สัปดาห ตอมามามและตอมธัยมัส และตอม น้ําเหลืองจะชวยสรางระหวางเดือน 2-4 ในครรภ ไข กระดกจะเริ กระดู กจะเรมสรางเมดเลอดเมอทารกในครรภอายุ ่มสรางเม็ดเลือดเมื่อทารกในครรภอายได ได 5 เดือน และเปนหลักสําคัญในการสรางเม็ดเลือดแทน ตับเมื่ออายุทารกได 6 เดือน

Hb ของทารกแรกคลอดโดยเฉลี่ย 17 กรัม/ดล. Hct โดยเฉลี่ย 55 % Reticulocyte มีคาเฉลี่ยรอยละ 4-5 เม็ดเลือดแดงของทารกจะใหญกวาของผูใหญ แต อายุสั้นกวา WBC โดยเฉลยมคาประมาณ โดยเฉลี่ยมีคาประมาณ 20,000 20 000 ลบ.มม. ลบ มม และเปนนิวโตรฟวประมาณ รอยละ70 PLT count จะใกลเคียงกับผูใหญคือ 200,000/ ลบ.มม.

Hematolytic Disease ( HDN) เปนภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงอายุสั้นกวาปกติใน ทารกแรกเกิด • ABO Incompatibilities •Rh Incompatibilities

1

1/22/2009

ABO Incompatibilities พบมากในกรณีแม กรุป O ลูกอาจจะ A,B หรือ AB เลือดแม O มีแตแอนติบอดี้ A หรือ B สวนลูก กรุป A จะสรางแอนติเจน A แอนติบอดี้ B เมื่อเลือดมารดาผานสูทารก แอนติเจน A ของลูก กับ Antibody B ของมารดา ทําใหเม็ดเลือดแดง แตกได

Rh Incompatibilities Rh เป็ นสารจําพวกโปรตีนที่เรี ยกว่า Antigen แอนติเจนที่ สําคัญคือ แอนติเจน D หรื อ Rh + (ไม่มี Antibody d )ถ้ าไม่พบ Antigen D คือ Rh - ( ไม่มี Antibody D ) พบมากในคนผิวขาวที่มีแม่เป็ น Rh – แตลูกกับพอเปน Rh +

อาการ เกิดภาวะ Hydrop Fetalis คลอดออกมา จะซีด และบวมทั่วตัว ตับมามโต มีชีวิตไม เกิน 2-3 ชั่วโมง เนื่องจากหัวใจวาย ถาไมรุนรงมาก พวกนี้จะมีอาการเหลือง อยางรุนแรงและเร็วภายใน 2-3 ชั่วโมง

ภาวะแทรกซอน Kernicterus ซึม ไม่ดดู นน ไม่มี sucking reflex และ Moro reflex ชัก ตังเหลือง

2

1/22/2009

การวินิฉัย/ รักษา -จากประวัติของมารดา -การตรวจ Amniocentesis -Coomb’s test บวก -Hct ตําํ่ -Indirect Bilirubin สูงขึ ้น -Anti-Rh titer ของเลือดแม่สงู ขึ ้น

การพยาบาล

• การพยาบาลเด็กทีส่ ่ องไฟ • เปลีย่ นถ่ ายเลือด

(Glucose-6-Phosphate dehydrogenase deficiency) เปนความผิดปกติทางพันธุกรรม แบบ X-linked พบในผูชายรอยละ 10 เอนซัยม G6PD เปนเอนซัยม ที่อยูในเซล มีสวนชวยในการสราง พลังงานและสาร ตางๆใหกับเซล สารทไดจากการสรางของ ตางๆใหกบเซล สารที่ไดจากการสรางของ G6PD ตัวหนึ่งคือ NADPH ซึ่งจะนํามาใชในขบวนการ ขจัดสารพิษตอเซล หรือสิ่งแปลกปลอมออกไป (Oxidizing agents)

การรักษา •Phototherapy เปลี่ยน Indirect เป็ น Direct Bilirubin ส่องระยะ 45-60 เซนติเมตร • Chemotherapy ใหยา ให้ ยา Phenobarb • Blood Exchange ถ้ าเกิดจาก Rh ใช้ เลือดหมู่ O Rh- ถ้ าเกิดจาก ABO ใช้ เลือดหมู่ O ไม่มี Anti A และ B 80-85 ml / 1 kg

ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกง่ายในทารก สาเหตุ ความพรองแตกําเนิดของเม็ดเลือดแดง (Congenital spherocytosis) 1.1เป็ นภาวะผิดปกติของเม็ดเลือดแดง 1 2 ภาวะพรองเอนซยม 1.2 ภาวะพรองเอนซัยม G6PD

อาการ ตัวเหลืองเร็วภายใน 24 ชั่วโมง หลังคลอด ปสสาวะดํา ซึม ดูดนม ไ   เลอดเกดภาวะไตวายได ไดนอย ื ิ ไ ไ 

3

1/22/2009

การดูแลรักษา/ป้องกัน เปลี่ยนถายเลือด สองไฟ รักษาตามอาการแบบ ประคับประคอง เนื่องจากโรคนี้ไมมีการรักษาใหหาขาด ไดในขณะนี้ การดููแลปองกัน สังเกตอาการอยางใกลชิด ดููแล ปองกันการติดเชื้อแทรกซอน แนะนํามารดาใหหลีกเลี่ยง ยาที่มีผลตอการเพิ่ม Oxidizing agents เมื่อคิดจะมีบุตร ควรปรึกษาแพทยอยางใกลชิดการดูแลปองกัน สังเกต อาการอยางใกลชิด

1.3 ความผิดปกติของการสังเคราะหฮีโมโกลบิน ในประเทศไทยความผิดปกติของฮีโมโกลบินที่สูงมาก พบไดในโรค ธาลัสซีเมีย ตรวจเสมียรเลือดจะพบ Hemoglobin Bart มาก ซึ่งจะมีผลทําใหทารกตับโต มา มโต โ ตััวบวม ซีีดมาก สว นใหญ ใ พ  บวา ทารกจะตาย คลอดมากเกิดภาวะ Hydrop fetalis

( Cooley’s anemia) เป็ นความผิดปกติของเม็ดเลือดแดง ทังรู้ ปร่ างและขนาด

สาเหตุ •การถ่ายทอดทางพันธุกรรม •Thalassemia Major มี Genes ผิดปกติทงคู ั ้ ่ ทําให้ เกิด อาการโลหิตจางอย่างรุนแรง •Thalassemia Minor มี gene ผิดปกติเพียงอันเดียว มี อาการซีดเล็กน้ อย ม้ ามโตไม่มาก อ่อนเพลียง่าย

อาการ -Thalassemia Minor ซีด ม้ ามโตเล็กน้ อย มีภาวะโลหิต จางเรื อ้ รังเนื่องจากเม็ดเลือดมีอายุสนกว่ ั ้ าปกติ -Thalassemia Facies มีรูปร่ างหน้ าตาผิดปกติ สันจมูก แบะ โหนกแก้ มสูงู กระดูกู แก้ ม ขากรรไกร กว้ างใหญ่ -การเติบโตช้ า ตัวเตี ้ยเล็ก พัฒนาการช้ า -กระดูกผุง่าย อาการแทรกซ้ อน เหล็กจับที่ตบั ตับอ่อน ต่อมไร้ ทอ่ ต่าง

4

1/22/2009

การวินิจฉัย

-ตรวจรังสี พบช่องว่างระหว่างไขกระดูกกว้ าง -เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กและติดสีน้อย ขนาดของเม็ดเลือดแดงไม่เท่ากัน ( Anisocytosis) รูปร่างต่างกัน( Poikilocytosis

การรักษา ไม่มีการรักษาเฉพาะ ถ้ าซีดก็ให้ เลือด ให้ อาหารที่มีโปรตีน วิตามินและโฟเลตสูง ถ้ าจะผ่าตัด

พ่อ พาหะ

แม่ พาหะ

• ป้องกันเนื้อเยือ ่ ขาดออกซิเจนจากการ ขาดออกศิเจนเรื้ อรัง • หลีกเลีย ่ งการทานอาหารทีม ่ เี หล็กสูง เนืื่องจากมีเหล็ก็ เกินอยูแ่ ล้ว้ •ให้อาหารที่มีโฟเลตสูง เช่นผักใบเขียว (ขาดโฟเลต ขาดโฟเลต)) • ดูแลความสุขสบาย ผู้ป่วยมีมามโตอาจมี ้ แน่นอึดอัด

พาหะ

•เครี ยด วิตกกังวล

ภาวะเลือดออกง่ายในเด็ก พบในทารกแรกเกิดอายุ2-3 วันบาง รายอาจพบภายใน 1 วัน

เป็ นโรค

ปกติ

สาเหตุ

•การขาดปจจัยในการแข็งตัวของเลือด เชน วิตามินเค (Factor II,VII,IXและ X) •ภาวะ DIC ขาดปจจัยในการแข็งตัวของเลือด แตกําเนิดเชนพวก Hemophilia A ขาด แฟก เตอร VIII และHemophilia B ขาดแฟกเตอร ฟ  IX พบไดบอยที่สุด พบชนด A มากกวาชนิด B 6 เทา เปนความผิดปกติทางพันธุกรรม แบบ sexlinked recessive

5

1/22/2009

•ความผิดปกติของหลอดเลือด เชน giant hemangioma ซึ่งเกิดจาการที่มีการทําลายเกร็ด เลือดในเนื้องอกจึงดึงปจจัยที่ใชในการแข็งตัว ของเลือดไปใชมาก ทําใหเหลือปจจัยที่ชวยใน การแข็ ร งตัวของเลืลอดนนอย ภาวะติ ภ ว ดเชื้อในน ครรภ ภาวะ Osteopetrosis เปนภาวะไมมีชอง ไขกระดูก พบเม็ดเลือดแดงผิดปกติคือ ลักษณะคลายหยดน้ําตา(tear drop) •ความผิดปกติของเกร็ดเลือด

อาการ ซีด ซึม ไมกินนม มือเทาเย็น มีอาการของ Thrombosis อาการเลือดออกงาย และความลมเหลว ของอวัยวะตางๆ สิ่งตรวจพบ Plt ต่ํา factor ตางๆลดลง เม็ดเลือดแดงมี ลักษณะเฉพาะคือ fracmented burred,microspherocyte และ helmet-shaped rbc และ Hct ต่ํา FSP สูงขึ้น

DIC(Disseminated intravascular cloting) เปนภาวะที่มีการแข็งตัวเปนลิ่มเลือดกระจายอยู ทั่วไปในหลอดเลือด ทําใหเกิด embolism ในอวัยวะ ตางๆได เกิดจากภาวะที่ไมสมดุลยของการสรางและ ทําลายของสารที่มีหนาที่ชวยในการแข็งตัวของเลือด จากปจจัยตางๆเชน ติดเชื้อ asphysia เด็กที่มีภาวะชอค นานๆ ทารกที่เกิดจากมารดาเปนเบาหวาน หรือครรภ เปนพิษ ,รกลอดตัวกอนกําหนด ,ทารกคูแฝดตาย ,NEC ,Giant hemangioma เปนตน

การรักษา รักษาตามสาเหตุ รักษาแบบประคับประคอง เชนแกภาวะกรดเกิน ภาวะขาดออกซิเจน รักษาเฉพาะทาง เชน เปลี่ยนถายเลือด แตควร ใช ื ี่ สี  ส ใชเลอดทมสวนผสมของ ACD หรอื CPD แทน Heparin H i การพยาบาล ดูแลตามอาการที่พบ เนนที่ปองกันไมใหเลือดออกมากขึ้น

สาเหตุ

เลือดออกเนื่องจากตับไม่สามารถสังเคราะห์ โปรธอมบิน และ แฟกเตอร์ VII, IX และ X หรื อ ขาด Vit K

•มารดามีการใช้ โปรธอมบินคอมเพล็กส์มากไป เช่น คลอดลําบาก มีภาวะครรภ์เป็ นพิษ •ทารกคลอดก่อนกําหนด •เดกกนนมแม เด็กกินนมแม่ มไวตามน มีไวตามิน K นอย น้ อย ( ไวตามิน K สร้ างจากแบคมีเรี ยในลําไส้ )

6

1/22/2009

อาการ

การวินิจฉัย

เลือดออก ในวันที่ 2-7 หลังคลอด พบใน ลําไส้ ได้ มาก เด็กอาจมีอาเจียนเป็ นเลือด ุ ุ อดออกตามตัว Petechiae อจจาระมี สีดํา มีจดเลื มีเลือดเป็ นจํ ้า echymosis ปรากฏที่แขน ขาและ ส่วนต่างๆของร่างกาย

Prothombin time ยาว Coagulation Time ยาว Clotting Time อาจปกติ การรักษา •ให้ Vit K •ให้ พลาสม่าที่มีแฟคเตอร์ II, VI, IX และ X

การพยาบาล - สังเกตอาการ สีผิว อุจาระ เป็ นต้ น -ระมัดระวังป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุ ใหความรู ความร้ กบบมารดา ั มารดา -ให้

เกิดจากมี gene Hemoglobin S 2 ยีน

อาการ พบแผลเรื อ้ รังบริ เวณตาตุม่ ได้ บ่อย โลหิตจาง กระโหลกหนา อาจพบม้ ามโตในตอนแรก ขาด Folic acid การรกษา การรั กษา -ให้ โฟลิคแอซิด -ให้ เลือด - เพิ่มออกซิเจนเพื่อป้องกันเม็ดเลือดแดงเปลี่ยนเป็ น รูปเคียว

มะเร็งเม็ดโลหิตขาว คือ โรคที่มีการเพิ่มจํานวนของ เม็ด็ เลืือดขาวชนิิดใใดชนิิดหนึึง่ อยางควบคุมไมได พบมาก ในชวงอายุ 2-6 ป

7

1/22/2009

สาเหตุ

อาการ

รังสี , ยาหรือสารเคมีที่มผี ลต่ อการกดไขกระดูก,ผล ทางยีน,การติดเชื้อ ซึ่งพบน้ อย การจําแนกชนิด

Acute Leukemia อาจเรยก อาจเรี ยก Myeloblastic, Myeloblastic Lymphoblastic , Moniblastic Leukemia พบได้ ทกุ วัยโดยเฉพาะเด็กและหนุม่ สาว Chronic Leukemia อาจเรี ยก Myelocytic, Lymphocytic Leukemia

การวินิจฉัย พบเซลล์อ่อน Blast cell มาก ตับม้ าม และต่อมนํ ้าเหลืองโต ตรวจร่ างกาย ตรวจเลือด พบเกร็ ดเลือดตํ่าไปด้ วย เจาะไขกระดูก เจาะไขกระดก การรักษา แบบประคับประคอง ตามอาการ ให้ เลือด ให้ ยา Chemotherapy ให้ ยา Prednisolone

-ซีด อ่อนเพลีย มีไข้ มีโลหิตออก( hemolysis) มี ก้ อน -ปวดข้ อ กดเจ็บ -ตับั ม้้ ามโต โ -พบความผิดปกติในระบบต่างๆ ขึ ้นอยูว่ า่ มะเร็งจะลุกลามไปที่ใด

ปัญหา • เสี่ ยงต่ อการติดเชื้อง่ าย เม็ดเลือดขาวที่ดตี าํ่ • เลือดออกง่ าย • เสยงตอการไดรบออกซเจนไมพอ เสี่ ยงต่ อการได้ รับออกซิเจนไม่ พอ •ปัญหาจากผลข้ างเคียงของยา เช่ นยูริคสู ง เยือ่ บุ ต่ างๆเป็ นแผล กดการทํางานของไขกระดูก ผมร่ วง เนื่องจากยามีผลต่ อ Epithelial cell

การพยาบาล

-เฝ้าระวังการติดเชื ้อ -Support ข้ อ กระดูก -ดูอาการแทรกซอนจาก ซ้ chemo h -ดูแลด้ านจิตใจ

เป็ นกลุ่ มของโรคเลือดออกง่ ายแล้ วหยุดยาก

8

1/22/2009

พ่อ ปกติ

ชายเป็ นโรค

สาเหตุ

แม่ พาหะ

หญิงพาหะ

ชายปกติ

หญิงปกติ

อาการ

-เลือดออกง่าย หยุดยาก เป็ นจํ ้าเลือดใหญ่ๆไม่เป็ นจุด บางทีออกในข้ อ( Hemophilic hemarthrosis) หากไม่ได้ การรักษาอาจทําให้ ข้อติดแข็ง พิการ เลือดออกใน กล้ ามเนื ้อ ถาออกใน กลามเนอ ถ้ าออกใน Lliopsoas ทาใหเกดอาการ ทําให้ เกิดอาการ คล้ ายปวดท้ องไส้ ตงิ่ อาการที่รุนแรงเกิดจากโลหิต ออกในสมอง

เกิดจาการถ่ายทอดทางพันธุกรรม X Linked recessive ผู้ชายเท่านันที ้ ่จะแสดงอาการ ผู้หญิงจะเป็ น carrier -Hemophilia A หรื อ Anti-hemolytic Globulin ขาด Factor VIII 8 พบร้ อยละ 80 -Hemophilia Hemophilia B ( Chrismas Disease หรอ หรื อ PTC ) มมี การขาด Factor IX •Hemophilia C หรื อ PTA deficiency ( Plasma Thromboplastin Antecedent) เกิดจากขาด Factor XI เกิจากการถ่ายทอดพันธุกรรมแบบ Autosomal dominant

การวินิจฉัย -จากประวัติ -Clotting Time นาน -PTT ยาว -Thrombolastin Generation Test ( TGT) ผิดปกติ -Factor Factor VIII, IX,XI ตา ตํ่า การรักษา ให้ factor ที่ขาด ห้ ามเลือด ให้ เลือด สด พลาสม่าสด

การพยาบาล • หลีกเลีย่ งสิ่ งที่มผี ลต่ อเลือดออก,พักข้ อ • ให้ ความรู้ แก่ ครอบครัว •เสีี่ ยงต่่ อการถ่่ ายทอดทางพันั ธุกรรม •ด้ านจิตใจ

APCD โรคเลือดออกทีเ่ กิดจากมีโปรธรอมบินคอมพล็กซ์ ตาํ่ โรคเลอดออกทเกดจากมโปรธรอมบนคอมพลกซตา ( Factor II, VII, XI และ X )

9

1/22/2009

สาเหตุ สํ าคัญ เกิดจากขาดวิตามิน เค พบ ได้ ในทารกที่ดมื่ นมมารดา เนื่องจากนม มารดามีไวตามินเค น้ อยกว่ านมผสม

การรักษา ให้ วติ ามิน เค แรกคลอด เด็กที่มปี ัญหาเกีย่ วกับลําไส้ เดกทมปญหาเกยวกบลาไส

อาการแสดง ซีด เลือดออกง่ าย ตับโตเล็กน้ อย

ภาวะเลือดข้นในทารก Neonatal Polycythemia หมายถึงภาวะที่ทารกแรกเกิดมีความเขมขนของ เลือดที่เจาะจากหลอดเลือดดํา Venous Hct มากกวาหรือ เกิน 65% หรือ Venous hemoglobin g มากกวาหรือเทากับ 22 กรัม/ดล อุบัติการณพบไดรอยละ 5 ของทารกแรกเกิด ทั้งหมด พบในทารกเพศชายมากกวาเพศหญิงและเด็ก ประเภท SGA เกิดครบกําหนดแตมีน้ําหนักตัวนอยกวา อายุครรภ

อาการ อาจพบ 2-6 ชม.หลังคลอด และพบก่อนอายุ 48 ชม. อาการที่พบคือตัวแดงจนบางครัง้ ดูคล้ ายตัวเขียว ส่วนใหญ่ ปลายมือปลายเท้ าเขียว(acrocyanosis)และมีอาการของ hyperviscosity ที่พบบ่อยได้ แก่หายใจเร็ ว หายใจลําบาก สัน่ หรื อชักกระตกก หยุ หรอชกกระตุ หยดหายใจ ดหายใจ นอกจากนอาจมอาการซม นอกจากนี ้อาจมีอาการซึม อาเจียน ตัวเหลือง ร้ องกวน อาการที่อาจพบร่ วมกับภาวะ เลือดข้ น จะมีผผลกระทบต่ ลกระทบต่อระบบต่างงๆของร่ างกายเกือบทุก ระบบเช่นระบบหายใจ ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร ไต เป็ นต้ น

สาเหตุ Placenta Transfusion เชนผูกสายสะดือชา ,Transfusion ระหวางทารกคูแฝด,Transfusion เลือดจากมารดาสูทารก ภาวะขาดออกซิเจนเพราะรกทํางานไดไมดี ทารกตัว เล็กกวาอายุ,ครรภเกินกําหนด,ยาบางอยางเชน Propanplol ภาวะผิดปกติของตอมไรทอ เชนมารดาเปนเบาหวาน ตอมหมวกไตทํางานผิดปกติ (adrenal hyperplasia,ไธรอยด เปนพิษ อื่นๆเชน Trisomy 21,13 หรือ 18 ,Neonatal thyrotoxicosis

การรักษา รักษาตามอาการ ถาขนมากตองทําการเปลี่ยนถาย เลือดโดยใช อัลบูมินที่มีเกลือนอย หรือ พลาสมาสดแชแข็ง ปริมาณ 15-30 มล. ปริมาตรที่ใช = น้ําหนักตัว(กก.)x90(Hct เริ่มตน-Hct ที่ ตองการ) Hct เริ่มตน

10

1/22/2009

การป้ องกัน ถาสาเหตุเกิดจากทางสูติศาสตรก็สามารถ ปองกันไดเชน การตัดสายสะดือ หรือในกรณีทารก แฝดก็ ฝ ช็ วยคลอดโดยการผ โ าทองคลอดเปปนตน

•มารดาเปนโรค Autoimmune hemolytic anemia (AIHA) ระหวางมีครรภจะมี IgG antibody ซึ่งจะไปทํา ใหเม็ดเลือดแดงของลูกแตกได •ABO Incompatibility เปนสาเหตุที่พบมากที่สุดของ ภาวะตัวั เหลืืองทีีเ่ กิดิ จากเม็ด็ เลือื ดแดงแตก Coomb’s test negative

• ความบกพรองชนิด acquired ของเม็ดเลือดแดง เปน ภาวะซีดที่พบไดโดยไมมีความผิดปกติของรูปรางของ เม็ดเลือดแดงเลย •เปนภาวะเม็ดเลือดแดงแตกรวมกับการ ติดเชื้อ ตั้งแตในครรภหรือขณะคลอด เชนติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เปนตน

•มารดาเปนโรค lupus erythematosus และขออักเสบ จากรูมาตอยด แอนติบอดี้จากมารดาก็พบวาทําให เม็ด เลือดแดงแตกงายไดเชนกัน •Drug-induced ug duced immune u e hemolysis e o ys s ยาที่พบววาเปน สาเหตุไดบอยคือ ยากุลมเพนนิซิลลิน

•Microangiopathic hemolytic anemia หรือภาวะ DIC มีการแตกของเม็ดเลือดแดงรวมกับความผิดปกติ ดานอื่น เชน ภาวะกรดเกิน asphysia ทําใหทารกมี เม็ดเลือดแดง รปร เมดเลอดแดง รูปรางแปลกๆมากมาย างแปลกๆมากมาย ทํทาใหเมดเลอด าใหเม็ดเลือด แดงแตก ทําใหการเกร็ดเลือดต่ํา มีการแข็งตัวของ เลือดนานมากกวาปกติ • ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกรวมกับการใหยา

11

1/22/2009

สาเหตุ • ยาที่มฤี ทธิ์กดไขกระดูก •สารเคมี เช่ นเบนซิน ยาฆ่ าแมลง

โโรคโลหิ โ ิตจางเนื่ืองจากไขกระดู ไ กฝ่ อ พบเม็ด็ เลือดตํ่าทุกชนิด

•รังสี •การติดเชื้อ

อาการแสดง •เลือดออกง่ าย เนื่องจากเกร็ดเลือดตํ่า •ตดเชองายเนองจากเมดเลอดขาวตา ติดเชื้อง่ ายเนื่องจากเม็ดเลือดขาวตํ่า •ซีด เนื่องจากเม็ดเลือดแดงตํ่า

สาเหตุ

ภาวะที่มเี กร็ดเลือดตํ่ากว่ า 100,000 เซลล์ / สบ.มม. มีอายุส้ั นกว่ าปกติ

อาการแสดง

การติดเชื้อในร่ างกาย Acute Chronic

มีเลือดออกในร่ างกาย พบจํา้ เลือดที่ผวิ หนัง

การรักษา ให้ เกร็ดเลือด

12

1/22/2009

สาเหตุ

( SLE) เปนโรคทม ป็ นโรคที่มี auto auto--antibody ib d หลายชนิ หลายชนดด เกิดขึ ้นในร่ างกาย ทําให้ มีพยาธิสภาพได้ ในอวัยวะ แทบทุกชนิด

อาการ -มีไข้ ถ้ าเกิดที่ไต หัวใจ อาการตามที่ -ปวดข้ อ ข้ อบวมแดงร้ อน -มีผิวหนังเป็ นรอยแดง (erythema) และนูนหนา โดยเฉพาะที่จมกสองข้ โดยเฉพาะทจมู กสองขาง าง Butter Fly Rash -มีรอยแดงที่ปลายอุ้งนิ ้วมือ เมื่อกดจะจางหายไป -มีโลหิตจาง เลือดออกร่วมด้ วย

มักพบในเด็กอายุ 8 ปี ขึ ้นไป พบมากใน เด็กหญิงมากกว่าเด็กชาย อาการที่พบบ่อยคือ ทางผิวหนังและไต ทางผวหนงและไต

การดูแลรักษา ประคับประคองตามอาการ

13

Related Documents

Bleeding
December 2019 41
Bleeding
May 2020 20
Bleeding Disorders
April 2020 19
Stop Bleeding
November 2019 24
Bleeding Time.docx
December 2019 42
Gingival Bleeding
April 2020 17