Bio Medical Engineering Swu

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Bio Medical Engineering Swu as PDF for free.

More details

  • Words: 8,606
  • Pages: 69
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย (หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๑)

คณะวิศวกรรมศาสตร รวมกับ คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะเภสัชศาสตร และคณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (หลักสูตรใหม พ.ศ.2551) 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อเต็มภาษาไทย ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย Bachelor of Engineering Program in Biomedical Engineering

2. ชื่อปริญญา ชื่อเต็มภาษาไทย ชื่อยอภาษาไทย ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ ชื่อยอภาษาอังกฤษ

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมชีวการแพทย) วศ.บ. (วิศวกรรมชีวการแพทย) Bachelor of Engineering (Biomedical Engineering) B.Eng. (Biomedical Engineering)

3. หนวยงานรับผิดชอบ คณะวิศวกรรมศาสตร ดําเนินการรวมกับ คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะเภสัชศาสตร และคณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4. หลักการและเหตุผล วิศ วกรรมชี ว การแพทย เ ป น ศาสตรแ ขนงใหม เ ชิ ง สหวิช าการที่เ กิด จากการผสมผสานระหว า ง วิศวกรรมศาสตร การแพทยสาธารณสุขและวิทยาศาสตรดานตางๆ เชน ชีววิทยา ฟสิกส และเคมี เขาดวยกัน และประยุกตเชิงบูรณาการเพื่อกอใหเกิดประโยชนในการแกไขปญหาหรือชวยในการออกแบบสรางอุปกรณ พิเศษที่จําเปนตอการบําบัดรักษา การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย รวมถึงการใชประโยชนจากอุปกรณ เครื่องมือที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูงไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตัวอยางที่รูจักกันแพรหลาย ไดแก การ สรางอวัยวะเทียม การสรางอุปกรณตรวจวัดทางชีววิทยาเปนตน จะเห็นไดวาวิศวกรรมชีวการแพทยเปน ศาสตรที่มีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งที่จะตองพัฒนาควบคูไปกับการพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและ วิทยาศาสตร สุขภาพ เพื่อ ประโยชน ตอประเทศชาติ ทั้ง ในปจ จุบัน และอนาคต เนื่อ งจากวิ ศวกรรมชี ว การแพทยเปนสาขาที่มีความสัมพันธแบบสหวิชาการดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน ดังนั้นผูที่สําเร็จการศึกษา ทางดานวิศวกรรมชีวการแพทย จะตองมีพื้นความรูและประสบการณที่กวางและมองปญหาในประเด็นตางๆ เชิงบูรณาการไดดี ในหนวยงานทางการแพทยและสาธารณสุข เชน โรงพยาบาล วิศวกรชีวการแพทย จะ เปนผูรับผิดชอบในการฝกอบรมการใชงาน ดูแลรักษาซอมบํารุงเครื่องมือทางการแพทย การจัดการบริหาร 1

เทคโนโลยีและระบบตางๆ ในโรงพยาบาล สวนในภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการแพทย และบริษัทดาน เครื่องมือทางการแพทย วิศวกรสาขานี้ จะทําหนาที่เปนที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญพิเศษในการผลิตอุปกรณ ทางการแพทย หรืออาจเปนผูประกอบการเชิงพาณิชยจากผลงานของตนเอง หรือเปนนักวิจัยหรือทํางานใน สายวิชาการ เมื่อประเทศมีวิศวกรชีวการแพทย ที่เปนนักวิจัยและมีความสามารถในการสรางสรรคนวัตกรรม ใหมได จะทําใหสามารถลดการนําเขาอุปกรณและผลิตภัณฑทางการแพทยได และสามารถพึ่งพาตัวเองได ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จากขอมูลของกรมสงเสริมการสงออกในตลาดตางประเทศ พบวา ประเทศไทยมีผูผลิตเครื่องมือ และอุปกรณทางการแพทยประมาณ 250 ราย รวมจํานวนคนงานทั้งสิ้นประมาณ 200,000 คน โดยมีการ สงออกเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยในป 2544 มูลคารวมประมาณ 12,000 ลานบาท อัตราการเติบโต เฉลี่ยของการสงออกในชวง 10 ปที่ผานมาเทากับ 24 % ตอป (พิกัดศุลกากร HS9018-HS9022) ในขณะที่ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ สวทช. ไดกําหนดใหคลัสเตอรอุตสาหกรรมการแพทย และสาธารณสุข เปนหนึ่งในหกกลุมอุตสาหกรรมที่อยูในแผนกลยุทธของ สวทช. (NSTDA strategic planning alliance) ในปงบประมาณ 2549-2553 ซึ่งเปนชวงของแผนกลยุทธแผนที่ 4 ดังนั้น คณะวิศวกรรมศาสตร โดยความรวมมือกับ คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะเภสัช ศาสตรและคณะทันตแพทยศาสตร ไดเห็นถึงความสําคัญและประโยชนเหลานี้ จึงไดทําการพัฒนาหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมชีวการแพทยขึ้น เพื่อตอบสนองนโยบายและความตองการบุคลากร ที่มีความสามารถในการบูรณาการความรูทางดานวิศวกรรมและการแพทย เพื่อการวิจัยและพัฒนางานดานนี้ ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศ และผลิตวิศวกรชีวการแพทยที่มีคุณสมบัติเปนนักวิจัย และมีความสามารถ ในการออกแบบและสรางนวัตกรรมใหมๆ ทางดานนี้ ตลอดจนสามารถดูแลบํารุงรักษา บริหารจัดการ เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยในโรงพยาบาลไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร 5.1 ปรัชญาของหลักสูตร “บูรณาการความรูสูการวิจัยและสรางสรรคนวัตกรรมทางวิศวกรรมการแพทย เพื่อการพึ่งพาตนเอง ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง” 5.2. วัตถุประสงคของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตบัณฑิตวิศวกรรมชีวการแพทยที่มีความรู ความคิดสรางสรรค มีจรรยาบรรณใน วิชาชีพ และมีทักษะในการวิจัยและพัฒนาทางวิศวกรรมไดอยางมีคุณภาพ 2. เพื่อผลิตบัณฑิตวิศวกรรมชีวการแพทยที่มีความรูความสามารถในการบูรณาการความรูด า น วิศวกรรมศาสตร และวิทยาศาสตรการแพทยไดอยางเพียงพอ ตอการวิจัยและพัฒนางาน นวัตกรรมใหม ใหเหมาะสมกับสภาพอุตสาหกรรมและการบริการของประเทศ และเปนผูมี ความพรอมที่จะศึกษาตอในระดับสูงขึ้นตอไปได 2

6. คุณสมบัตขิ องผูเขาศึกษา สํา เร็ จการศึ ก ษามั ธยมศึกษาตอนปลาย หรือเที ยบเทา สาขาวิทยาศาสตร และมีคุณ สมบั ติตาม ขอบังคับวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา คัดเลือกโดยวิธีการสอบขอเขียน และ/หรือ สอบสัมภาษณ โดยผานสํานักงานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา หรื อ มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ เพื่ อ เข า ศึ ก ษาในคณะวิ ศ วกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 8. ระบบการศึกษา ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วาดวยการศึกษาภาคปกติขั้นปริญญาตรีของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒและประกาศทบวงมหาวิทยาลัยเรื่องเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญา ตรี พ.ศ.2538 มีรายละเอียดดังนี้ 8.1 ใชระบบทวิภาคและสหกิจศึกษาโดยหนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษา คือ ภาคตน และภาคปลาย มีเวลาเรียนแตละภาคการศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห และอาจจะมีภาคฤดู รอนได โดยมีระยะเวลาเรียนและจํานวนหนวยกิต ที่มีสัดสวนเทียบเคียงกันไดกับภาคการศึกษา ปกติ 8.2. หนวยกิตการศึกษากําหนดดังนี้ 8.2.1. รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปราย 1 ชั่วโมงตอสัปดาห หรือไมนอยกวา 15 ชั่วโมง ตลอดหนึ่งภาคการศึกษาปกติใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต 8.2.2. รายวิชาปฎิบัติที่ใชเวลาปฎิบัติหรือทดลอง 2 ถึง 3 ชั่วโมงตอสัปดาห หรือตั้งแต 30 ถึง 45 ชั่วโมง ตลอดหนึ่งภาคการศึกษาปกติใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต 8.2.3. การฝกงานหรือฝกภาคสนามใชเวลาไมนอยกวา 200 ชั่วโมง 9. ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร 4 ปการศึกษา โดยใหใชเวลาศึกษาอยางมากไมเกิน 8 ปการศึกษา 10. อาจารยประจํารวมสอน 1. อาจารยประจําคณะวิศวกรรมศาสตร มศว 2. อาจารยประจําคณะแพทยศาสตร มศว 3. อาจารยประจําคณะเภสัชศาสตร มศว 4. อาจารยประจําคณะสหเวชศาสตร มศว 5. อาจารยประจําคณะทันตแพทยศาสตร 6. อาจารยประจําคณะวิทยาศาสตร มศว 7. อาจารยประจําคณะสังคมศาสตร มศว 8. อาจารยประจําคณะมนุษยศาสตร มศว 9. อาจารยประจําคณะพลศึกษาศาสตร มศว 3

11. อาจารยผสู อน 11.1 อาจารยประจําหลักสูตร ลําดับ รายชื่ออาจารย 1 อาจารย ดร.วงศวิทย เสนะวงศ

2

ผูชวยศาสตราจารยวัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ

3

ผูชวยศาสตราจารยเกียรติชัย รักษาชาติ

คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา B.Eng (Biomedical Engineering) M.Sc (Biomedical Engineering) Ph.D. (Biomedical Engineering) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) วศ.ม (วิศวกรรมไฟฟา) วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) วศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล)

4

ผูชวยศาสตราจารย นพ.ภาวิน พัวพรพงษ

5

อาจารย นพ.ชลวิช จันทรลลิต

แพทยศาสตรบัณฑิต ป. ชั้นสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม สูติศาสตรนรีเวชวิทยา อนุมัติบัตรเวชศาสตรครอบครัว แพทยศาสตรบัณฑิต ป. ชั้นสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก วุฒิบัตรศัลยศาสตรออรโธปดิกส

สถาบันที่สําเร็จการศึกษา University of Kent, UK Imperial College London, UK Imperial College London, UK มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลรามาธิบดี แพทยสภา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยขอนแกน

11.2 อาจารยรับผิดชอบหลักสูตร ลําดับ 1

รายชื่ออาจารย อาจารย ดร.วงศวิทย เสนะวงศ

2

ผูชวยศาสตราจารยวัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ

3

ผูชวยศาสตราจารยเกียรติชัย รักษาชาติ

คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา B.Eng (Biomedical Engineering) M.Sc (Biomedical Engineering) Ph.D. (Biomedical Engineering) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) วศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล)

4

สถาบันที่สําเร็จการศึกษา University of Kent, UK Imperial College London, UK Imperial College London, UK มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

11.2 อาจารยรับผิดชอบหลักสูตร (ตอ) ลําดับ 4

รายชื่ออาจารย ผูชวยศาสตราจารย นพ.ภาวิน พัวพรพงษ

5

อาจารย นพ.ชลวิช จันทรลลิต

คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา แพทยศาสตรบัณฑิต ป. ชั้นสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม สูติศาสตรนรีเวชวิทยา อนุมัติบัตรเวชศาสตรครอบครัว แพทยศาสตรบัณฑิต ป. ชั้นสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรมศัลยศาสตร ออรโธปดิกส

สถาบันที่สําเร็จการศึกษา โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลรามาธิบดี แพทยสภา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยขอนแกน

11.3 อาจารยประจํารวมสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ลําดับ 1

รายชื่ออาจารย ศาสตราจารย นพ. สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล

2

ผูชวยศาสตราจารย นพ.สรวุฒิ พงศโรจนเผา

คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา วท.บ.วิทยาศาสตรการแพทย พ.บ. (เกียรตินิยม) วท.ม.การแพทยคลินิก

สถาบันที่สําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาล วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรมศัลยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ทั่วไป Harvard University, USA เกียรติบัตรผูเชี่ยวชาญสาขา ศัลยศาสตรบําบัดวิกฤต แพทยศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาลรามาธิบดี (เกียรตินิยม) ป. ชั้นสูงทางวิทยาศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี การแพทยคลินิก วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรมกุมารเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี ศาสตร เกียรติบัตรผูเชี่ยวชาญสาขากุมาร โรงพยาบาลรามาธิบดี เวชศาสตรระบบทางเดินหายใจ อนุมัติบัตรเวชศาสตร ครอบครัว แพทยสภา

5

11.3 อาจารยประจํารวมสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ตอ) ลําดับ 3

รายชื่ออาจารย อาจารย นพ.สมพร รี้พลมหา

4

ผูชวยศาสตราจารย ดร. รัมภา บุญสินสุข

5

อาจารย นพ. สุเมธ พัฒนาสุทธินนท

6

7

คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา แพทยศาสตรบัณฑิต ป. ชั้นสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม จักษุวิทยา วท.บ. (กายภาพบําบัด) Postgraduate diploma in physical therapy (Neuroscience) Ph.D. (Rehabilitation Science) แพทยศาสตรบัณฑิต ป. ชั้นสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม สูติศาสตรนรีเวชวิทยา เกียรติบัตรผูเชี่ยวชาญสาขาเวช ศาสตรการเจริญพันธุ

รองศาสตราจารย นพ.สงวนศักดิ์ ฤกษศุภผล

แพทยศาสตรบัณฑิต ประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตรการแพทยคลินิก วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรมกุมารเวช ศาสตร เกียรติบัตรผูเชี่ยวชาญ สาขา โภชนาการเด็ก เกียรติบัตรผูเชี่ยวชาญ สาขาทางเดิน อาหาร และโภชนาการคลินิก ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปฐมทัศน จิระเดชะ วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) MS. (Electrical Engineering) Ph.D. (Electrical Engineering)

8

ผูชวยศาสตราจารย ดร.นําคุณ ศรีสนิท

วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟา MS. (Electrical Engineering) Ph.D. (Electrical Engineering)

6

สถาบันที่สําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยมหิดล Curtin university, Australia McGill University, Canada มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเชียงใหม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเชียงใหม โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลรามาธิบดี Royal Children's Hospital, Melbourne, Australia มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร Oklahoma State University, USA Oklahoma State University, USA มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ University of Miami, USA University of Miami, USA

11.3 อาจารยประจํารวมสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ตอ) ลําดับ 9

10 11

12

13

14 15 16 17 18

รายชื่ออาจารย ผูชวยศาสตราจารย ดร.จุฑารัตน คุรุเจริญ

คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) M.Eng (Mechanical Engineering)

สถาบันที่สําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน University of Hertfordshire, UK Ph.D. (Mechanical Engineering) University of Hertfordshire, UK ผูชวยศาสตราจารย มิตรมาณี ตรีวัฒนาวงศ วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม วศ.ม. (วิศวกรรมอุตสาหการ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีผูชวยศาสตราจารย ดร.กัณฑวริชญ วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ) ราชมงคล พลูปราชญ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมวศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล) เกลาพระนครเหนือ Ph.D. (Mechanical Engineering) Czech Technical University, Czech อาจารยสมภพ รอดอัมพร อส.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ลาศึกษาตอระดับปริญญาเอก (BioElectronics) ณ University of Southampton, UK วท.บ. (กายภาพบําบัด) อาจารย ดร. สายธิดา ตัณศิริ มหาวิทยาลัยมหิดล วท.ม. (กายภาพบําบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล ปร.ด. (กายวิภาคศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล อาจารยวิภาพร ตัณฑสุระ วท.บ. (กายภาพบําบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล วท.ม (สรีรวิทยาการออกกําลังกาย) มหาวิทยาลัยมหิดล อาจารยวาสนา เตโชวาณิชย วท.บ. (กายภาพบําบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล วท.ม.(กายภาพบําบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย ดร. โกสุม จันทรศิริ Ph.D. (Biochemistry and University of New South Molecular Genetics) Wales, Australia สพ.ญ. ดร. นลินา ประไพรักษสิทธิ์ Ph.D. (Neuroscience) Iowa State University, USA มหาวิทยาลัยเชียงใหม อาจารย นพ. สุทัศน รุงเรืองหิรัญญา พ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) Straight Internship & Residency in George Washington University Internal Medicine Medical Center University of Miami Fellowship in Pulmonary and Critical Care Medicine

7

11.3 อาจารยประจํารวมสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ตอ) ลําดับ 19

รายชื่ออาจารย อาจารย ดร.อมรทัศน สดใส

คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา

20

ภบ. ภม. (เภสัชวิทยา) ปร.ด. (พิษวิทยา) รองศาสตราจารย ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล Ph.D. (Microbiology)

21

นายแพทยชัชดนัย มุสิกไชย

22

23

24

แพทยศาสตรบัณฑิต วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรมศัลยกรรม หัวใจ) อาจารย ทันตแพทยขนิษฐ ธเนศวร ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ทางวิทยาศาสตรการแพทยคลินิก (ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิล โลเฟเชียล) ประกาศนียบัตรทันตแพทยประจํา บานสาขาศัลยศาสตรชองปาก และแม็กซิลโลเฟเชียล อนุมัติบัตรแสดงความรูความ ชํานาญในการประกอบวิชาชีพทัน ตกรรม สาขาศัลยศาสตรชองปากและแม็ก ซิลโลเฟเชียล ผูชวยศาสตราจารย ทันตแพทยกิติ ศิริวัฒน ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต วุฒิบัตรศัลยศาสตรชองปาก และแม็กซิลโลเฟเชียล อนุมัติบัตรแสดงความรูความ ชํานาญในการประกอบวิชาชีพทัน ตกรรม สาขาศัลยศาสตรชองปากและแม็ก ซิลโลเฟเชียล อาจารย ดร.ปณิธาน วนากุล B.Sc.(Physics) Ph.D.(Material Science & Engineering)

8

สถาบันที่สําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล Virginia Institute of Technology, USA มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยปารีส 6 และ 7 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล

ทันตแพทยสภา

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทันตแพทยสภา

Cornell University, USA Massachusette Institute of Technology, USA

11.3 อาจารยประจํารวมสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ตอ) ลําดับ 25

รายชื่ออาจารย อาจารย ดร.อารียา เอี่ยมบู

26

อาจารยธีรศักดิ์ จันทรวิเมเลือง

27

อาจารยสุชาดา ตันติสถิระพงษ

คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา วท.บ.(วัสดุศาสตร) วท.ม.(ฟสิกสประยุกต) วท.ด.(วัสดุศาสตร)

สถาบันที่สําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเชียงใหม

วศ.ม. (อิเล็กทรอนิกสชีวการแพทย) สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง M.Eng (Biomedical Engineering) University of New South Wales, Australia

11.4 อาจารยพิเศษ ลําดับ 1

2

3

4

รายชื่ออาจารย รองศาสตราจารย ดร. มนัส สังวรศิลป

คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา)

รองศาสตราจารย ดร. ชูชาติ ปณฑวิรุจน

M.Eng. (Electronics) D.Eng. (Electronics) วท.บ. (รังสีเทคนิค) วท.ม. (อุปกรณชีวการแพทย) MS. (Biomedical Engineering)

ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุพันธุ ตั้งจิตกุศลมั่น

ดร. ศิริเดช บุญแสง

Ph.D. (Biomedical Engineering) BS.(Electrical Engineering) MS. (Electrical Engineering) Ph.D. (Electrical Engineering) วศ.บ.วิศวกรรมไฟฟา M.Sc. (Electrical Engineering)

Ph.D. (Instrumentation)

9

สถาบันที่สําเร็จการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง Tokai University, Japan Tokai University, Japan มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล Worcester Polytech Institute, USA Drexel University, USA University of Pennsylvania, USA University of Wisconsin, USA University of Wisconsin, USA สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง University of Manchester Institute of Science and Technology, UK University of Manchester Institute of Science and Technology, UK

11.4 อาจารยพิเศษ (ตอ) ลําดับ 5

รายชื่ออาจารย คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา รองศาสตราจารย พล.ต.ดร. ชัยณรงค เชิดชู Ph.D.

6

อาจารยสุภาภรณ เกียรติสิน

วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา)

7

Assoc.Prof. Dr.Kazuhiko Hamamoto

B.Eng. M.Eng. D.Eng.

8 9 10 11 12 13

ผูชวยศาสตราจารย ดร. พรชัย พฤกษภัทรานนต ผูชวยศาสตราจารยสุรนันท นอยมณี รองศาสตราจารย ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล ผูชวยศาสตราจารยนันทชัย ทองแปน ดร. อดิศร ลีลาสันติธรรม ดร. วีรพล จิรจริต

14

ศาสตราจารย ดร. เกตุ กรุดพันธ

15

อาจารยปยะมาศ เสือเพ็ง

16 17

ศาสตราจารย พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห พล.อ.ต.ดร. เพียร โตทาโรง

18

นายวลิตะ นาคบัวแกว

Ph.D. (Electrical Engineering)

สถาบันที่สําเร็จการศึกษา University of Nebraska Medical Center, Omaha, Nebraska, U.S.A. มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี Tokai University of Agriculture and Technology, Japan Tokai University of Agriculture and Technology, Japan Tokai University of Agriculture and Technology, Japan

University of Minnesota , U.S.A วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม Ph.D. (Electrical Engineering) INSAT , France วท.ม. ฟสิกส จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี Ph.D.(Analytical Chemistry) Liverpool John Moores University, UK วท.บ. ฟสิกส มหาวิทยาลัยนเรศวร วท.ม. อุปกรณการแพทย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ MD. มหาวิทยาลัยเชียงใหม Certification of Medical education Thai borad of Rehab Med มหาวิทยาลัยมหิดล วท.บ ฟสิกส (เกียรตินิยม) M.Sc. (Electrical Engineering) Ohio University, USA Ph.D. (Electrical Engineering) University of Pittsburgh, USA วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วศ.ม. (วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

10

12. จํานวนนิสิต จํานวนนิสิตที่จะรับเขาเรียนในชวง 4 ป (2551-2554) ดังนี้

ปที่ / ชั้นป 1. ชั้นปที่ 1 2. ชั้นปที่ 2 3. ชั้นปที่ 3 4. ชั้นปที่ 4 รวม ผูสําเร็จการศึกษา

2551 40 40 -

ปการศึกษา/พ.ศ. 2552 2553 40 40 40 40 40 80 120 -

2554 40 40 40 40 160 40

13. การลงทะเบียนเรียน ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 (หมวด 4 วาดวยการลงทะเบียน) ยกเวนการลงทะเบียนในรายวิชาที่หลักสูตรกําหนดวาตองเรียน รายวิชาอื่นกอนหรือมีบุรพวิชา นิสิตตองเรียนและสอบไดรายวิชาหรือบุรพวิชาที่กําหนดไวกอน จึงจะมีสิทธิ์ ลงทะเบียนรายวิชานั้นได 14. การวัดผลและสําเร็จการศึกษา นิสิตที่สําเร็จการศึกษาจะตองเปนผูที่สอบไดจํานวนหนวยกิตครบตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร บัณฑิต สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย และไดระดับเฉลี่ยสะสมของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขา วิศวกรรมชีวการแพทยไมต่ํากวา 2.00 และเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วาดวย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 (หมวด 5 วาดวยการวัดและประเมินผลการศึกษา และหมวด 8 วาดวย การขอรับและการใหปริญญา) 15. สถานที่และอุปกรณ 1) สถานที่ หองบรรยาย และหองปฏิบัติการของภาควิชาตางๆ คณะวิศวกรรมศาสตร 2) อุปกรณและเครื่องอํานวยความสะดวกของภาควิชาตางๆ คณะวิศวกรรมศาสตร 3) หองปฏิบัติการของคณะแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะสหเวชศาสตร และคณะทันตแพทยศาสตร 16. หองสมุด นิสิตศึกษาคนควาจากหอสมุดกลาง และหอสมุดองครักษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

11

17. งบประมาณ การเปดสอนตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย ปการศึกษา 2551 งบประมาณเปนไปตามระบบทั้งงบประมาณแผนดิน งบประมาณรายไดคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 18. การบริหารจัดการหลักสูตร จัดใหมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย โดยมีองคประกอบของคณะกรรมการจากคณะวิศวกรรมศาสตร คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะ เภสัชศาสตร และคณะทันตแพทยศาสตร เพื่อทําหนาที่บริหารจัดการการเรียนการสอน หลักสูตร และ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 19. การประกันคุณภาพหลักสูตร 19.1. ประเด็นการบริหารหลักสูตร แตงตั้งอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร เพื่อทําหนาที่บริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน การ พัฒนาหลักสูตร และการติดตามประเมินผลหลักสูตร 19.2. ประเด็นทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 19.2.1 มีอุปกรณ เครื่องมือการทดลอง และสื่อการสอนที่ทันสมัย สอดคลองกับหลักสูตร 19.2.2 มีหนังสือ ตํารา และเอกสารอางอิงที่ทันสมัยและเพียงพอของหอสมุดกลางของ มหาวิทยาลัย 19.3. ประเด็นการสนับสนุนและการใหคําแนะนํานิสิต 19.3.1 มีอาจารยที่ปรึกษาเพือ่ ใหคําแนะนําแกนิสิตในดานการลงทะเบียน การศึกษา การ พัฒนาความรู และพัฒนาศักยภาพนิสิต 19.3.2 มีระบบชวยสอน (Tutor) เพื่อใหคําแนะนําและชวยเหลือนิสิตทางดานการเรียน 19.4. ประเด็นความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต มีการสํารวจและวิเคราะหความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต เพื่อใหบณ ั ฑิตที่จบการศึกษาเปนที่ตองการของตลาดแรงงาน สังคม และผูใชบัณฑิตมีความพึงพอใจตอ คุณภาพของบัณฑิต 20. การพัฒนาหลักสูตร 20.1. มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 20.1.1 บัณฑิตที่ไดงานทําใน 1 ป รวมทั้งการประกอบอาชีพอิสระและการเรียนตอในระดับ บัณฑิตศึกษา ไมนอยกวารอยละ 80 ของบัณฑิตที่จบการศึกษาและใหขอ มูล ั ฑิตที่มีความพึงพอใจตอบัณฑิตใน 20.1.2 นายจาง และ/หรือผูประกอบการ และ/หรือผูใชบณ ระดับมากขึ้นไป ไมนอยกวารอยละ 70 ของบัณฑิตที่จบการศึกษาและใหขอมูล 12

20.2. มาตรฐานดานกระบวนการเรียนรู 20.2.1 หลักสูตรมีการปรับปรุงเมื่อครบรอบหลักสูตร 20.2.2 จํานวนอาจารยที่ไดรบั ผลการประเมินคุณภาพการสอนตั้งแตระดับคอนขางมากขึ้นไป จากการประเมินของนิสิต ไมนอยกวารอยละ 80 ของจํานวนอาจารยที่ไดรับการประเมิน 20.2.3 จํานวนงานวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู ไมนอยกวา 1 เรือ่ งตอป 20.3. มาตรฐานดานการสนับสนุนการเรียนรู 20.3.1 อาจารยประจําทุกระดับตอจํานวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเทา เปนไปตามมาตรฐานของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการ 20.3.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา ไมนอยกวารอยละ 40 ของจํานวน อาจารยประจําทั้งหมด 20.3.3 จํานวนคอมพิวเตอรทใี่ ชในการเรียนการสอนตอจํานวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเทา ไมเกินกวา 1:15 20.4 มาตรฐานดานการพัฒนานิสิต 20.4.1 จํานวนกิจกรรม/โครงการพัฒนานิสติ ตอจํานวนนิสิตทั้งหมด ไมเกินกวา 1:50 20.4.2 จํานวนกิจกรรม/โครงการที่สงเสริมและพัฒนานิสิตดานคุณธรรมและจริยธรรมตอ จํานวนกิจกรรม/โครงการพัฒนานิสิตทั้งหมด ไมนอยกวารอยละ 20 21. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย โครงสรางหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย เปนหลักสูตร 4 ป มีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 146 หนวยกิต

13

22. จํานวนหนวยกิต และรายละเอียดของหลักสูตร จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 146 หนวยกิต จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ก. หมวดการศึกษาทั่วไป - กลุมภาษา - กลุมวิชาสารสนเทศ - กลุมมนุษยศาสตร - กลุมสังคมศาสตร - กลุมพลศึกษา - กลุมวิชาบูรณาการ ข. หมวดวิชาเฉพาะ - กลุมวิชาวิทยาศาสตร/คณิตศาสตร - กลุมวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม - กลุมวิชาพื้นทางวิศวกรรมชีวการแพทย - กลุมวิชาเอกบังคับ - กลุมวิชาเอกเลือก ค. หมวดวิชาเลือกเสรี - กลุมวิชาเลือกเสรี ง. หมวดวิชาการฝกงาน รวมหนวยกิตตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา

14

หลักสูตร 4 ป 30 หนวยกิต 11 หนวยกิต 2 หนวยกิต 2 หนวยกิต 6 หนวยกิต 1 หนวยกิต 8 หนวยกิต 110 หนวยกิต 12 หนวยกิต 32 หนวยกิต 35 หนวยกิต 22 หนวยกิต 9 หนวยกิต 6 หนวยกิต 6 หนวยกิต 146 หนวยกิต

โครงสรางของหลักสูตรและรายวิชา กําหนดใหเรียนไมนอยกวา 146 หนวยกิต ก. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป จํานวน 30 โดยแบงเปนกลุมวิชาตางๆ ดังนี้

หนวยกิต

จํานวน

1. กลุมวิชาภาษา 1.1 ภาษาไทย ทย TH

101 ทักษะทางภาษา 1 101 Language Skills I

11

หนวยกิต

2

หนวยกิต 2(2-0)

1.2 ภาษาอังกฤษ กําหนดใหเลือกเรียน 9 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปนี้ อก EN อก EN อก EN อก EN อก EN อก EN อก EN อก EN

101 101 102 102 103 103 104 104 105 105 106 106 107 107 108 108

อังกฤษระดับพื้นฐาน 1 English for Beginners I อังกฤษระดับพื้นฐาน 2 English for Beginners II อังกฤษระดับตน 1 Pre-Intermediate English I อังกฤษระดับตน 2 Pre-Intermediate English II อังกฤษระดับกลาง 1 Intermediate English I อังกฤษระดับกลาง 2 Intermediate English II อังกฤษระดับสูง 1 Upper-Intermediate English I อังกฤษระดับสูง 2 Upper-Intermediate English II

15

3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

2. กลุมวิชามนุษยศาสตร

2

มน 102 มนุษยกับการใชเหตุผลและจริยธรรม HM 102 Man, Reasoning and Ethics 3. กลุมวิชาสารสนเทศ

2(2-0) 2

บส 101 ทักษะการรูสารสนเทศ LIS 101 Information Literacy skills

หนวยกิต

หนวยกิต 2(2-0)

4. กลุมวิชาสังคมศาสตร กําหนดใหเลือกเรียน 6 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปนี้ ธร BU ศฐ EC ศฐ EC ภม GE รฐ PO ปศ HI ภม GE ภม GE สค SO

100 100 100 100 101 101 102 102 102 102 103 103 103 103 104 104 111 111

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจ General Business ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย Economic History of Thailand เศรษฐกิจไทยปจจุบัน Contemporary Thai Economy การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ Conservation of Natural Resources มนุษยกับการเมือง Man and Politics มนุษยกับอารยธรรม Man and Civilization ภูมิศาสตรประเทศไทย Geography of Thailand มนุษยกับสิ่งแวดลอม Man and Environment สังคมและวัฒนธรรมไทย Thai Society and Culture

16

2(2-0) 2(2-0) 2(2-0) 2(2-0) 2(2-0) 2(2-0) 2(2-0) 2(2-0) 2(2-0)

5. กลุมวิชาบูรณาการ มศว SWU มศว SWU มศว SWU

201 201 202 202 301 301

บูรณาการ 1 Integration I บูรณาการ 2 Integration II บูรณาการ 3 Integration III

6. กลุมวิชาพลศึกษา พล PE พล PE พล PE พล PE พล PE พล PE พล PE พล PE พล PE

100 100 161 161 163 163 171 171 172 172 173 173 182 182 481 481 484 484

8 หนวยกิต 3(3-0) 3(3-0) 2(2-0)

กําหนดใหเลือกเรียน 1 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปนี้

พลศึกษาเพื่อชีวิต Physical Education for Life บาสเกตบอล 1 Basketball I ฟุตบอล 1 Football I เทนนิส 1 Tennis I เทเบิลเทนนิส Table Tennis แบดมินตัน 1 Badminton I วายน้ําเบื้องตน Fundamental Swimming ลีลาศ Ballroom Dance กอลฟ Golf

17

1(1-1) 1(1-1) 1(1-1) 1(1-1) 1(1-1) 1(1-1) 1(1-1) 1(1-1) 1(1-1)

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

จํานวน 110 หนวยกิต

1. กลุมวิชาวิทยาศาสตร/คณิตศาสตร ฟส PY คม CH คณ MA ฟส PY คม CH

101 101 103 103 114 114 181 181 193 193

12

ฟสิกสเบื้องตน 1 Introductory Physics I เคมีทั่วไป General Chemistry คณิตศาสตรทั่วไป General Mathematics ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1 Introductory Physics Laboratory I ปฏิบัติการเคมีทั่วไป General Chemistry Laboratory

หนวยกิต 3(3-0) 3(3-0) 4(4-0) 1(0-3) 1(0-3)

2. กลุมวิชาพืน้ ฐานทางวิศวกรรม จํานวน 32 หนวยกิต วศ EG วศช BME วศ EG วศ EG วศ EG วศ EG วศ EG วศ EG

121 121 131 131 111 111 151 151 141 141 201 201 202 202 231 231

ปฏิบัติการทางวิศวกรรม Engineering Workshop วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส Electrical and Electronics Engineering คณิตศาสตรวศิ วกรรม 1 Mathematics for Engineering I วัสดุวิศวกรรม Engineering Materials เขียนแบบวิศวกรรม Engineering Drawing ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 1 English for Specific Purposes I ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 2 English for Specific Purposes II มาตรวิทยาและเครื่องมือวัดทางไฟฟา Metrology and Electrical Instrumentations 18

2(1-3) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(2-3) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

วศฟ EE วศ EG วศ EG

280 280 241 241 211 211

พื้นฐานวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก Introduction to Digital Circuit and Logic กลศาสตรวิศวกรรม Engineering Mechanics คณิตศาสตรวศิ วกรรม 2 Mathematics for Engineering II

3. กลุมวิชาพืน้ ฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช

วศช BME วศช BME วศช BME

332 332 370 370

อุปกรณชีวการแพทย Biomedical Instrumentations สถิติสําหรับวิศวกรชีวการแพทย Statistics for Biomedical Engineer 19

3(3-0) 3(3-0)

จํานวน 35 หนวยกิต

เทอรโมฟลูอิดส Thermofluids ระบบรางกายมนุษยสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย 1 Human Body System for biomedical engineering I ระบบรางกายมนุษยสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย 2 Human Body System for biomedical engineering II ชีววิทยาของเซลลและโมเลกุล Cell and Molecular Biology ไมโครโปรเซสเซอรและการอินเตอรเฟส Microprocessor and Interfacing การออกแบบและพัฒนาซอตฟแวร Software Design and Development ฟสิกสชีวภาพ Biophysics สัญญาณและระบบควบคุมทางวิศวกรรมชีว การแพทย 330 Signal and Control Systems in Biomedical Engineering 331 อิเล็กทรอนิกสชีวภาพ 331 Bioelectronics

BME

210 210 200 200 202 202 203 203 230 230 240 240 280 280 330

3(2-3)

3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(2-3) 3(2-3) 3(3-0) 3(3-0)

3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

วศช BME

371 วิธีวิทยาการวิจัยทางวิศวกรรม 371 Research Methodology in Engineering

4. กลุมวิชาเอกบังคับ วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME

201 201 281 281 300 300 301 301 310 310 311 311 341 341 460 460 490 490 491 491

5. กลุมวิชาเอกเลือก

2(2-0)

จํานวน 22 หนวยกิต ปฏิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทยพื้นฐาน Basic Biomedical Engineering Laboratory หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย Principle of Biomedical Engineering ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 Biomedical Engineering Research Laboratory I ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 Biomedical Engineering Research Laboratory II วัสดุชีวภาพ Biomaterials กลศาสตรชีวภาพ Biomechanics การออกแบบระบบผูเชี่ยวชาญทางการแพทย Medical Expert Systems Design วิศวกรรมโรงพยาบาล Hospital Engineering โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 Biomedical Engineering Research Project I โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 Biomedical Engineering Research Project II จํานวน

9

5.1 แขนงวิชาวิศวกรรมชีวภาพ (Bioengineering) วศช 410 ฟสิกสของการสรางภาพทางการแพทย BME 410 Physics of Medical Imaging วศช 411 การเขากันไดทางชีววิทยา BME 411 Biocompatibility วศช 412 วิศวกรรมฟนฟูสภาพ BME 412 Rehabilitation Engineering 20

1(0-3) 3(3-0) 1(0-3) 1(0-3) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 1(0-3) 3(0-9)

หนวยกิต 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME

413 413 414 414 415 415 416 416 450 450 451 451 452 452 480 480 492 492

กลศาสตรของระบบไหลเวียนโลหิต Cardiovascular Mechanics กลศาสตรของระบบหายใจ Respiratory Mechanics กลศาสตรของกลามเนื้อและกระดูก Musculoskeletal Mechanics อวัยวะเทียม Artificial Organ พื้นฐานทางวิศวกรรมเนื้อเยือ่ Fundamental of Tissue Engineering แบบจําลองระบบทางชีววิทยา Biological System Modeling การวิเคราะหโดยใชวิธีไฟไนตเอลิเมนต Finite Element Analysis เภสัชวิทยาเบือ้ งตนสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย Basic Pharmacology for Biomedical Engineering หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมชีวภาพ Special Topics in Bioengineering

5.2 แขนงวิชาเวชสารสนเทศศาสตร (Medical Informatics) วศช 420 การประมวลสัญญาณและภาพทางการแพทย BME 420 Medical Signal and Image Processing วศช 421 การวิเคราะหสัญญาณชีวการแพทย BME 421 Biomedical Signal Analysis วศช 422 การสรางแบบจําลองอยางรวดเร็ว BME 422 Rapid Prototyping วศช 441 การวางแผนผาตัดโดยความชวยเหลือจากคอมพิวเตอร BME 441 Computer-aided Surgery Planning วศช 442 ปญญาประดิษฐ BME 442 Artificial Intelligence วศช 443 ทฤษฎีระบบพัซซี BME 443 Fuzzy Systems Theory 21

3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME วศช BME

444 444 445 445 446 446 447 447 448 448 493 493

ระบบประสาทเทียม Aritificial Neural Systems ความฉลาดทางชีววิทยา Biological Intelligence ชีวสารสนเทศศาสตร Bioinformatics ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล Hospital Information System ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางการแพทย Medical Decision Support Systems หัวขอพิเศษทางเวชสารสนเทศศาสตร Special Topics in Medical Informatics

5.3 แขนงวิชาอุปกรณทางการแพทย (Medical Instrumentations) วศช 430 การออกแบบอุปกรณชีวการแพทย BME 430 Biomedical Instruments Design วศช 431 อุปกรณทางการแพทยและการตรวจวัดสภาพทางสรีระวิทยา BME 431 Medical Instruments and Physiological Monitoring วศช 432 อิเล็กทรอนิกสทางแสงและอุปกรณเลเซอร BME 432 Optical Electronics and Laser Device วศช 433 หุนยนตทางการแพทย BME 433 Medical Robotics วศช 434 การออกแบบระบบฝงตัว BME 434 Embedded System Design วศช 435 อุปกรณรับรูทางชีวการแพทย BME 435 Biomedical Sensors วศช 494 หัวขอพิเศษทางอุปกรณทางการแพทย BME 494 Special Topics in Medical Instrumentations

22

3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี ใหนิสิตเลือกศึกษารายวิชาทีม่ ีการเปดสอนในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ง. หมวดวิชาการฝกงาน วศช BME

302 302

ฝกงานทางวิศวกรรมชีวการแพทย Pratical Training in Biomedical Engineering

ไมนอยกวา 200 ชั่วโมง

ความหมายตัวเลขรหัสวิชา วศช หรือ BME หมายถึง สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย ตัวเลขหลักรอย หมายถึง ชั้นป ตัวเลขหลักสิบ หมายถึง แขนงวิชา ตัวเลขหลักหนวย หมายถึง ลําดับวิชาในแขนงวิชานั้นๆ ความหมายตัวเลขรหัสวิชา 0 หมายถึง 1 ” 2 ” 3 ” 4 ” 5 ” ” 6 7 ” 8 ” 9 ”

กระบวนวิชาในกลุมวิชาพืน้ ฐานทั่วไปทางวิศวกรรมชีวการแพทย กระบวนวิชาในกลุมวิชาวัสดุและกลศาสตรชีวภาพ กระบวนวิชาในกลุมวิชาสัญญาณและระบบ กระบวนวิชาในกลุมวิชาอิเล็กทรอนิกสและอุปกรณชวี การแพทย กระบวนวิชาในกลุมวิชาเวชสารสนเทศศาสตร กระบวนวิชาในกลุมวิชาวิศวกรรมชีวภาพ กระบวนวิชาในกลุมวิชาวิศวกรรมคลินิก กระบวนวิชาในกลุมวิชาวิจยั และสัมมนา กระบวนวิชาในกลุมวิชาบูรณาการความรูจ ากหลายกลุมวิชา กระบวนวิชาในกลุมวิชาโครงงาน และหัวขอพิเศษ

แผนการเรียน วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย 23

(สําหรับผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย)

1. แผนการเรียน ปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 รหัส ฟส ทย อก คณ ฟส วศ คม คม

ชื่อวิชา 101 101 101 114 181 121 103 193

ประเภทวิชา

ฟสิกสเบื้องตน 1 ทักษะทางภาษา 1 อังกฤษระดับพื้นฐาน 1 คณิตศาสตรทั่วไป ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1 ปฏิบัติการทางวิศวกรรม เคมีทั่วไป ปฏิบัติการเคมีทั่วไป รวม

วิทยาศาสตร/คณิตศาสตร ศึกษาทั่วไป ศึกษาทั่วไป วิทยาศาสตร/คณิตศาสตร วิทยาศาสตร/คณิตศาสตร พื้นฐานทางวิศวกรรม วิทยาศาสตร/คณิตศาสตร วิทยาศาสตร/คณิตศาสตร

นก.(ท-ป) 3(3-0) 2(2-0) 3(3-0) 4(4-0) 1(0-3) 2(1-3) 3(3-0) 1(0-3) 19(16-9)

ปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รหัส บส อก วศ วศช วศก วศช วศ

ชื่อวิชา 101 102 111 131 141 240 241

ประเภทวิชา

ทักษะการรูสารสนเทศ อังกฤษระดับพื้นฐาน 2 คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เขียนแบบวิศวกรรม การออกแบบและพัฒนาซอตฟแวร กลศาสตรวิศวกรรม รวม

ศึกษาทั่วไป ศึกษาทั่วไป พื้นฐานทางวิศวกรรม พื้นฐานทางวิศวกรรม พื้นฐานทางวิศวกรรม พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย พื้นฐานทางวิศวกรรม

นก.(ท-ป) 2(2-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(2-3) 3(2-3) 3(3-0) 20(18-6)

ปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 รหัส

ชื่อวิชา

ประเภทวิชา 24

นก.(ท-ป)

วศ วศ วศ วศ วศช

151 201 211 231 200

วศฟ พล

280 ....

วัสดุวิศวกรรม ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 1 คณิตศาสตรวิศวกรรม 2 มาตรวิทยาและเครื่องมือวัดทางไฟฟา ระบบรางกายมนุษยสําหรับวิศวกรรมชีว การแพทย 1 พื้นฐานวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก กลุมพลศึกษา

พื้นฐานทางวิศวกรรม พื้นฐานทางวิศวกรรม พื้นฐานทางวิศวกรรม พื้นฐานทางวิศวกรรม พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย

3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

พื้นฐานทางวิศวกรรม ศึกษาทั่วไป

3(2-3) 1(1-1)

รวม

19(18-4)

ปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 รหัส วศช วศ วศช

201 202 202

วศช วศช วศช วศช

203 210 230 281

ชื่อวิชา

ประเภทวิชา

นก.(ท-ป)

ปฏิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทยพื้นฐาน ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 2 ระบบรางกายมนุษยสําหรับวิศวกรรมชีว การแพทย 2 ชีววิทยาของเซลลและโมเลกุล เทอรโมฟลูอิดส ไมโครโปรเซสเซอรและการอินเตอรเฟส หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย รวม

เอกบังคับ พื้นฐานทางวิศวกรรม พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย

1(0-3) 3(3-0) 3(3-0)

พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย เอกบังคับ

3(3-0) 3(3-0) 3(2-3) 3(3-0) 19(17-6)

ปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 รหัส วศช วศช

ชื่อวิชา 280 300

ประเภทวิชา

ฟสิกสชีวภาพ พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 เอกบังคับ

25

นก.(ท-ป) 3(3-0) 1(0-3)

วศช วศช

370 330

วศช มศว ....

331 201 .....

สถิติสําหรับวิศวกรชีวการแพทย สัญญาณและระบบควบคุมทางวิศวกรรม ชีวการแพทย อิเล็กทรอนิกสชีวภาพ วิชาบูรณาการ 1 กลุมสังคมศาสตร รวม

พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย

3(3-0) 3(3-0)

พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย ศึกษาทั่วไป ศึกษาทั่วไป

3(3-0) 3(3-0) 2(2-0) 18(17-3)

ปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 รหัส วศช วศช วศช วศช วศช วศช

301 371 311 310 332 341

มศว อก

202 103

ชื่อวิชา

ประเภทวิชา

นก.(ท-ป)

ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 วิธีวิทยาการวิจัยสําหรับงานวิศวกรรม กลศาสตรชีวภาพ วัสดุชีวภาพ อุปกรณชีวการแพทย การออกแบบระบบผูเชี่ยวชาญทาง การแพทย วิชาบูรณาการ 2 อังกฤษระดับตน 1 รวม

เอกบังคับ พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย เอกบังคับ เอกบังคับ พื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย เอกบังคับ

1(0-3) 2(2-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

ศึกษาทั่วไป ศึกษาทั่วไป

3(3-0) 3(3-0) 21(20-3)

ปที่ 3 ภาคเรียนที่ 3 รหัส วศช

ชื่อวิชา 302

จํานวนชั่วโมง

ฝกงานทางวิศวกรรมชีวการแพทย

ไมนอยกวา 200 ชั่วโมง

26

ปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 รหัส มน วศช วศช มศว วศช วศช ……

ชื่อวิชา 102 460 490 301 .... .... ....

ประเภทวิชา

มนุษยกับการใชเหตุผลและจริยธรรม วิศวกรรมโรงพยาบาล โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 วิชาบูรณาการ 3 วิชาเอกเลือก วิชาเอกเลือก วิชาเลือกเสรี รวม

ศึกษาทั่วไป เอกบังคับ เอกบังคับ ศึกษาทั่วไป เอกเลือก เอกเลือก เลือกเสรี

นก.(ท-ป) 2(2-0) 3(3-0) 1(0-3) 2(2-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 17(16--3)

ปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 รหัส วศช วศช .... .... ……

ชื่อวิชา 491 .... ..... ..... ....

ประเภทวิชา

โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 วิชาเอกเลือก กลุมสังคมศาสตร กลุมสังคมศาสตร วิชาเลือกเสรี รวม

เอกบังคับ เอกเลือก ศึกษาทั่วไป ศึกษาทั่วไป เลือกเสรี

คําอธิบายรายวิชา ตามหลักสูตรสาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย 27

นก.(ท-ป) 3(0-9) 3(3-0) 2(2-0) 2(2-0) 3(3-0) 13(10-9)

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1. กลุมวิชาภาษา - กลุมภาษาไทย ทย 101 ทักษะทางภาษา 1 2(2-0) TH 101 Language Skills 1 ฝกทักษะการใชภาษาทั้งดานการฟง อาน พูดและเขียนใหสามารถสื่อสาร ไดอยางมีประสิทธิผล และ สามารถนําความรู ความคิดที่ไดรับมาพัฒนาตน - กลุมภาษาอังกฤษ อก 101 ภาษาอังกฤษ 1 3 (3-0) EN 101 English I ฝกการใชภาษาอังกฤษ เพื่อใหสามารถฟง–พูด ในชีวิตประจําวัน เชน การแนะนําตัว การทักทาย การบอกทิศทางและสามารถอานและเขียนขอความสั้น ๆ ที่ใชในชีวิตประจําวันได 3(3-0) อก 102 ภาษาอังกฤษ 2 EN 102 English II ฝกการใชภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะ ในระดับที่สูงขึ้น สามารถเขียนและบรรยายอธิบายความได ในระดับที่สูงขึ้น อก 103 อังกฤษระดับตน 1 3(3-0) EN 103 Pre-Intermediate English I พัฒนาความสามารถของนิสิตในการใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารทั่วไป เพื่อแสดงความรูสึกความ คิดเห็นไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถอานบทความทั่วไปทั้งเพื่อความบันเทิง เพื่อการรับรูขอมูลขาวสาร และเพื่อเก็บใจความสําคัญ อก 104 อังกฤษระดับตน 2 3(3-0) EN 104 Pre-Intermediate English II เพิ่มพูนความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนิสิตทั้งทักษะการฟง พูด อาน เขียน เพื่อใชเปนสื่อ ในการคนควาแลกเปลี่ยนขอมูล และนําไปใชในการสงเสริมการเรียนรูของนิสิตไดอยางมีประสิทธิภาพ

อก 105 อังกฤษระดับกลาง 1

3(3-0) 28

EN 105 Intermediate English I พัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนิสิตทั้งทักษะการฟง พูด อานเขียน เพื่อแสดงความ คิดเห็น ความรูสึก และแลกเปลี่ยนขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการอานบทความเชิงวิชาการ 3(3-0) อก 106 อังกฤษระดับกลาง 2 EN 106 Intermediate English II เพิ่มพูนทักษะในการใชภาษาอังกฤษของนิสิตเพื่อคนควาหาขอมูลเพิ่มเติมไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งอานบทความเชิงวิชาการ และแสดงความคิดเห็นในเชิงวิเคราะห และแสดงเหตุผล 3(3-0) อก 107 อังกฤษระดับสูง 1 EN 107 Upper-Intermediate English I พัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนิสิตทั้งทักษะการฟง พูด อาน เขียน เพื่อใชใน ปริบททางสังคมและบริบททางวิชาการ เพื่อใหสามารถใชภาษาอังกฤษไดอยางเหมาะสมในสถานการณ ตาง ๆ รวมทั้งสามารถใชภาษาอังกฤษเพื่อแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะหและวิจารณไดอยางถูกตอง 3(3-0) อก 108 อังกฤษระดับสูง 2 EN 108 Upper-Intermediate English II เพิ่มพูนความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนิสิตทั้งทักษะการฟง พูด อาน เขียน เพื่อใชใน บริบททางสังคมและบริบททางวิชาการ เพื่อใหสามารถใชภาษาอังกฤษไดอยางเหมาะสมในสถานการณ ตาง ๆ รวมทั้งสามารถใชภาษาอังกฤษเพื่อแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะหและวิจารณไดอยางถูกตอง 2. กลุมวิชาสารสนเทศ บส 101 ทักษะการรูสารสนเทศ 2(2-0) LIS 101 Information Services and Study Fundamentals ศึก ษาความหมาย ความสําคัญของแหลงสารสนเทศ การเขาถึงแหลงสารสนเทศ และ การใช เทคโนโลยีทางสารสนเทศ การเลือก การสังเคราะห และการนําเสนอสารสนเทศ ตลอดจนเสริมสราง ให ผูเขียนมีเจตคติที่ดีและมีนิสัยในการใฝหาความรู

3. กลุมวิชามนุษยศาสตร 29

มน 102 มนุษยกับการใชเหตุผลและจริยธรรม 2(2-0) HM 102 Man, Reasoning and Eltics ศึกษาการใชเหตุผล และจริยธรรมสรางเสริมใหเปนผูใฝรูความจริง และคิดอยางมีเหตุผลและ เปนผูมีคุณธรรมและจริยธรรม 4. กลุมวิชาสังคมศาสตร ธร 100 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจ 2(2-0) BU 100 General Business ศึกษารูปแบบการดําเนินธุรกิจและการจัดการในองคกรธุรกิจ รวมทั้งบทบาทและความสัมพันธของ ธุรกิจที่มีตอสังคมและสิ่งแวดลอม 2(2-0) ปศ 103 มนุษยกับอารยธรรม HI 103 Man and Civilization ศึกษาและเปรียบเทียบวิวัฒนาการ และลักษณะของอารยธรรมตะวันตกและตะวันออก ตั้งแตใน ยุคโบราณจนถึงปจจุบัน ตลอดจนการแพรขยายและการถายทอด แลกเปลี่ยนอารยธรรมในดินแดนตาง ๆ อันมีผลตอสภาพการเมืองเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของโลกปจจุบันรวมทั้งศึกษาในสวนที่เกี่ยวของ กับอารยธรรมไทย 2(2-0) ภม 102 การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ GE 102 Conservation of Natural Resources ศึกษาการใชทรัพยากรในประเทศไทย โดยเนนถึงผลเสียอันเกิดจากการใชทรัพยากร หลักเกณฑ และมาตราการตาง ๆ ของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะที่จําเปนสําหรับประเทศไทย 2(2-0) ภม 103 ภูมิศาสตรประเทศไทย GE 103 Geography of Thailand ศึกษาภูมิศาสตรประเทศไทยโดยทั่วไปอยางมีระบบหลักเกณฑ โดยพิจารณาวิเคราะหลักษณะ สัมพันธ ระหวางดานกายภาพ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของดินแดนที่มีผลตอการพัฒนาประเทศ

2(2-0)

ภม 104 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 30

GE 104 Man and Environment ศึก ษาสภาวะแวดล อมที่ เ กี่ ย วกั บมนุษ ย อิ ทธิพ ลและความพยายามปรั บตัว หรือ ดัด แปลงภาวะ แวดลอมใหเกิดประโยชน เนนถึงสิ่งแวดลอมที่เปนพิษเปนภัยตอประชากรในประเทศ และวิธีแกปญหา ที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอม 2(2-0) รฐ 102 มนุษยกับการเมือง PO 102 Man and Politics ศึกษาถึงความสัมพันธระหวางมนุษยกับการรวมกลุมการเมือง การเมืองภายในรัฐ การเมืองระหวาง รัฐ การเมืองเปรียบเทียบ รัฐประศาสนศาสตร และกฎหมายมหาชน 2(2-0) ศฐ 100 ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย EC 100 Economic History of Thailand ศึกษาและวิเคราะหลักษณะโครงสรางพื้นฐานของระบบเศรษฐกิจไทย ตั้งแตมีสนธิสัญญาเบาวริ่ง จนถึงปจจุบัน โดยเนนปจจัยที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงปญหา วิธีการแกปญหาในระบบเศรษฐกิจรูปแบบ ตาง ๆ ศฐ 101 เศรษฐกิจไทยปจจุบัน 2(2-0) EC 101 Contemporary Thai Economy ศึกษาสภาพปญหา สาเหตุ และแนวทางแกไขปญหาเศรษฐกิจไทยที่สําคัญ โดยเนนการวิเคราะห ขอมูลเศรษฐกิจที่เปนปจจุบัน 2(2-0) สค 111 สังคมและวัฒนธรรมไทย SO 111 Thai Society and Culture ศึ ก ษาสภาพพื้ น ฐานทั่ ว ไปของสั ง คมและวั ฒ นธรรมไทย ในด า นครอบครั ว และประชากร เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง การศึกษา ศีลธรรม-ศาสนา และคานิยม การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรมรวมทั้งสภาพปญหาตางๆ ของสังคมและวัฒนธรรมไทย ตลอดจนวิธีการแกไข

5. กลุมวิชาบูรณาการ 31

มศว 201 บูรณาการ 1 3(3-0) SWU 201 Integration I ประวั ติ ค วามเป น มาของมหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ การเปลี่ ย นแปลงของมหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒที่ เ กิ ด ขึ้ น จากผลกระทบในด า นต า ง ๆ สภาพการเปลี่ ย นแปลงของสั ง คมโลกกั บ การกําหนดวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การดํารงตนเปนผูมีคุณธรรมเพื่อการพัฒนาตนเอง การใช ชี วิ ต ในมหาวิ ท ยาลั ย และสั ง คม การสํ า รวจ วิ เ คราะห ภู มิ ป ญ ญาตนเอง ผู อื่ น และชุ ม ชนรอบ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อรูจัก เขาใจ และเห็นคุณคาแหงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย การวิเคราะห วิ จ ารณ และแสดงให เ ห็ น ถึ ง ความสั ม พั น ธ ข องปรากฏการณ ที่ เ ป น ป ญ หาต า ง ๆ ในมหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทร วิโรฒ แนวคิดเชิงบูรณาการ และการระบุบทบาทของตนเองในการมีสวนรวมเพื่อการแกไข ปญหาที่เกิดขึ้น มศว 202 บูรณาการ 2 3(3-0) SWU 202 Integration II การแสวงหาความรูความจริงดวยแนวคิดกระแสหลักและกระแสทางเลือก การกําหนด ทบทวน และปรับเปลี่ยนวิสัยทัศนกับการแกปญหาทางสังคม กลยุทธทางการคิด การมีวุฒิภาวะทางความคิดในการ มองปญหาทางสังคม คุณธรรม หลักการ วิธีการ เพื่อการสรางวัฒนธรรมแหงการวิจารณและการนําไปปรับ ใช ผลกระทบของเทคโนโลยี ตอการพัฒนาในดานตาง ๆ การกอกําเนิด เปลี่ยนแปลง และปรับตัวของภูมิ ปญญาทองถิ่น และการประยุกตใชความรูเพื่อการดํารงชีวิตอยูในสังคมดวยแนวคิดเชิงนิเวศน 2(2-0) มศว 301 บูรณาการ 3 SWU 301 Integration III การเปดพื้นที่ใหกับความรูทางเลือกดวยวิธีการศึกษาอัตชีวประวัติ (Autobiography) คุณลักษณะ ของการเปนผูรูจักชี้นําตนเอง (Self-directed) มีการเรียนรูตลอดชีวิต (Life-long learning) และมีการวางแผน เพื่อการพัฒนาตนเอง การจัดทําโครงการรวมกันเพื่อสรางความมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอสวนรวมและสังคม

6. กลุมวิชาพลศึกษา 32

พล 152 วายน้าํ 1 PE 152 Swimming I ศึกษาเกีย่ วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบื้องตนของการวายน้ํา

1(1-1)

พล 161 บาสเกตบอล 1 PE 161 Basketball I ศึกษาเกีย่ วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบื้องตนของบาสเกตบอล

1(1-1)

พล 163 ฟุตบอล 1 PE 163 Football I ศึกษาเกีย่ วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบื้องตนของฟุตบอล

1(1-1)

พล 171 เทนนิส 1 PE 171 Tennis I ศึกษาเกีย่ วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบื้องตนของเทนนิส

1(1-1)

พล 172 เทเบิลเทนนิส 1 PE 172 Table Tennis I ศึกษาเกีย่ วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบื้องตนของเทเบิลเทนนิส

1(1-1)

พล 173 แบดมินตัน 1 PE 173 Badminton I ศึกษาเกีย่ วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบื้องตนของแบดมินตัน

1(1-1)

พล 481 ลีลาศ 1(1-1) PE 481 Ballroom Dance การปลูกฝงใหมีทัศนคติที่ดีตอการลีลาศ การฝกทักษะเบื้องตนในการลีลาศใหมีความรู ความเขาใจ ในการเตนรําแบบตาง ๆ เสริมสรางความสามารถและประสบการณในการลีลาศ พล 484 กอลฟ PE 484 Golf ศึกษาเกีย่ วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคของกอลฟ

33

1(1-1)

ข. หมวดวิชาเฉพาะ 1. กลุมวิชาวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร ฟส 101 ฟสิกสเบื้องตน 1 3(3-0) PY 101 Introductory Physics I เวกเตอร แรงและการเคลื่อนที่ สนามโนมถวง โมเมนตัมและพลังงาน การเคลื่อนที่แบบหมุน กลศาสตรของระบบอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง การเคลื่อนที่แบบสั่น สมบัติของสสารกลศาสตรของไหล การเคลื่อนที่แบบคลื่นเสียงความรอน และอุณหพลศาสตร 1(0-2)

ฟส 181 ปฎิบตั ิการฟสิกสเบือ้ งตน 1 PY 181 Introductory Physics Laboratory I ปฏิบัติการในเรื่องที่สอดคลองกับ ฟส 101

คม 103 เคมีทั่วไป 3(3-0) CH 103 General Chemistry ศึกษาพื้นฐานของทฤษฎีอะตอมและโครงสรางอะตอมปริมาณสัมพันธ สมบัติของแก็ส ของเหลว และสารละลายของแข็ง สมดุลของไอออน จลนพลศาสตรเคมี พันธะเคมีตารางธาตุ และแนวโนมของ สมบัติธาตุเรตพรีเซนเตติฟอโลหะและธาตุทรานซิซัน คม 193 ปฎิบัติการเคมีทวั่ ไป CH 193 General Chemistry Laboratory ปฏิบัติการในเรื่องที่สอดคลองกับ คม 103

1(0-3)

คณ 114 คณิตศาสตรทั่วไป 4(4-0) MA 114 General Mathematics คุณสมบัติของระบบจํานวนและอุปนัยเชิงคณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหในระบบพิกัดฉากและ พิกัดเชิงขั้ว ลิมิตและความตอเนื่อง การหาอนุพันธ และการประยุกต การหาปริพันธและการประยุกต การหา ปริพันธเชิงตัวเลข ปริพันธแบบไมตรงแบบ รูปแบบยังไมกําหนด ลําดับและอนุกรม การกระจายอนุกรมเทย เลอรของฟงกชันมูลฐาน

34

2. กลุมวิชาพืน้ ฐานทางวิศวกรรม วศ 111 คณิตศาสตรวิศวกรรรม 1 3(3-0) EG 111 Engineering Mathematics I เสน ระนาบ และผิวในปริภูมิสามมิติ พีชคณิต เวกเตอรในระบบสามมิติ การวิเคราะหเวกเตอร การหาอนุพันธและปริพนธของฟงกชันคาเวกเตอร แคลคูลัสของฟงกชันคาจริงสองตัวแปร แคลคูลัสของ ฟงกชันคาจริงหลายตัวแปรและการประยุกต ปริพนธตามเสน ปริพนธตามผิว ทฤษฎีบทของกรีน ทฤษฎีบท ของสโตค สมการเชิงอนุพันธอันดับหนึ่งและอันดับสูงกวาหนึ่ง และการหาผลเฉลยดวยวิธีตาง ๆ ระบบ สมการเชิงอนุพันธเชิงเสน และการแกดวยวิธีตางๆ ผลการแปลงลาปลาซ ผลการแปลงลาปลาซผกผัน วศ 211 คณิตศาสตรวิศวกรรม 2 3(3-0) EG 211 Engineering Mathematics II บุรพวิชา : วศ 111 คณิตศาสตรวิศวกรรรม 1 สมการเชิงผลตางอันดับหนึ่ง สมการเชิงผลตางอันดับสองเอกพันธุและไมเอกพันธุ สมการเชิง ผลตางโคชี-ออยเลอร อนุกรมฟูเรียร ฟูเรียรอินทิกรัล ผลการแปลงฟูเรียร สมการเชิงอนุพันธยอยและปญหา คาขอบเขต ระนาบเชิงซอน ฟงกชันเชิงซอน ฟงกชันวิเคราะห สมการโคชี-รีมันน การสงคงแบบ การหา อนุพั นธแ ละปริพนธเชิงซอน ทฤษฎีบทปริพนธ ของโคชี อนุกรมเทยเลอร อนุกรมแมคลอริน อนุ กรม โลรองต ภาวะเอกฐาน การหาปริพนธเรซิดู ทฤษฎีบทของคาเรซิดู วศ 201 ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 1 3(3-0) EG 201 English for Specific Purpose I ทั ก ษะการใช ภ าษาอั ง กฤษในการสื่ อ สารในระดั บ ที่ สู ง ทั้ ง การฟ ง พู ด และเขี ย นในระดั บ สู ง ขึ้ น เพื่อประโยชนในการประกอบอาชีพในสาขาวิชาเฉพาะทางของผูเรียน

3(3-0) วศ 202 ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 2 EG 202 English for Specific Purpose II บุรพวิชา : วศ 201 ฝกทักษะการใชภาษาอังกฤษทางดานการเขียน และในการสื่อสารในระดับที่สูงขึ้น เพื่อประโยชน ในการประกอบอาชีพในสาขาวิชาเฉพาะทางของผูเรียน 3(3-0)

วศ 151 วัสดุวิศวกรรม 35

EG 151 Engineering Materials โครงสรางพื้นฐานของวัสดุวิศวกรรม ชนิด คุณสมบัติ และการทดสอบวัสดุที่มีความสําคัญตองาน อุตสาหกรรมเฟสไดอะแกรม กรรมวิธีทางความรอน การกัดกรอนวัสดุโลหะประเภทตางๆ วัสดุอโลหะ เชนโพลิเมอร เซรามิกส วัสดุสังเคราะห จุดกําเนิดความเสียหายการตรวจสอบ และการปองกัน การเลือกใชวัสดุ วศ 141 เขียนแบบวิศวกรรม 3(3-2) EG 141 Engineering Drawing เทคนิคการเขียนแบบ การเขียนตัวอักษร รูปทรงเรขาคณิตประยุกต ทฤษฎีการเขียนภาพฉายแบบ ออโธกราฟฟค การเขียนภาพฉาย การเขียนภาพพิคทอเรียล การกําหนดขนาดและภาพตัด การรางแบบเสน และระนาบขั้นพื้นฐาน สัญลักษณในแบบวิศวกรรมโยธา ไฟฟา เครื่องกล เบื้องตน วศช 131 วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(3-0) BME 131 Electronics and Electrical Engineering ศึกษาทฤษฎีพื้นฐานของวงจรไฟฟา กฎของโอหม กฎของเคอรชอฟฟ การวิเคราะหโหนด การ วิเคราะหเมซ ทฤษฎีของเทวินินและนอรตัน อุปกรณที่เก็บพลังงานได วงจรไฟฟากระแสสลับ เครื่องจักรกล กระแสตรงและกระแสสลับเบื้องตน หมอแปลงไฟฟาเบื้องตน ไดโอดในอุดมคติ ไดโอดแบบหลอด แบบ สารกึ่งตัวนํา แบบซีเนอร แบบทันเนล แบบกําลัง แบบแวริแคป และระบบโฟโต พรอมทั้งการใชงานของ เทอรมิสเตอร แวริสเตอร แรคติไฟเออร และฟลเตอร ทรานซิสเตอร การไบแอสวงจรดวยไฟตรงแบบตาง ๆ การวิเคราะหวงจรแบบสัญญาณขนาดเล็ก คุณสมบัติของเฟต และการใชงานวงจรขยายสัญญาณระบบตาง ๆ ผลตอบสนองความถี่ ระบบแบบหลายสเตจ

วศ 231 มาตรวิทยาและเครื่องมือวัดทางไฟฟา EG 231 Metrology and Electrical Instrumentations

36

3(3-0)

มาตรวิทยา นิยามและระบบของการวัด หนวยของการวัด มาตรฐานของการวัด ความเที่ยงตรง และความแมนยําในการวัดความคลาดเคลื่อนและการวิเคราะหคาความคลาดเคลื่อนในการวัด การสอบเทียบ เครื่องมือวัด การทดสอบความนาเชื่อถือในเชิงการวัดของเครื่องวัด คุณสมบัติทางสถิตยและทางพลศาสตร ของเครื่องมือวัด การวัดปริมาณทางไฟฟา เครื่องมือวัดปริมาณทางไฟฟา วงจรบริดจแบบตาง ๆ การชดเชย คาการวัดปริมาณทางไฟฟา อันเนื่องมาจากสภาวะแวดลอมตาง ๆ เชน อุณหภูมิออสซิลโลสโคป วิธีการ วัดทางดิจิตอล การแปลง และวงจรแปลงสัญญาณอนาล็อก การวัดความถี่ เวลา การวัดฮาโมนิคสของ สัญญาณไฟฟา และการทดลอง วศ 241 กลศาสตรวิศวกรรม 3(3-0) EG 241 Engineering Mechanics บุรพวิชา : ฟส 101 ฟสิกสเบื้องตน 1 บทนําเกี่ยวกับสถิตศาสตร ระบบแรงในสองมิติและสามมิติ การหาแรงลัพธ การสมดุลในสองมิติ และสามมิติของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง สถิตศาสตรของไหล โครงสราง โครงและเครื่องจักร ศูนยกลาง มวล เซนทรอยดของเสน พื้นที่ปริมาตร และวัสดุผสม ทฤษฎีแพพพัส ผลของแรงภายนอกและภายในตอ คาน สายเคเบิล ความเสียดทาน กฎเคลื่อนที่ขอที่สองของนิวตัน งานเสมือน โมเมนตความเฉื่อยของพื้นที่ วศฟ 280 พื้นฐานวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก 3(2-3) EE 280 Introduction to Digital Circuit and Logic ระบบตัวเลข รหัส พีชคณิตบูลีนและการออกแบบวงจรลอจิก แผนผังคารโน วงจรเขารหัส ถอดรหัส วงจรมัลติเพล็กซ ดีมัลติเพล็กซ ฟลิปฟลอป วงจรนับ ชิฟรีจิสเตอร การออกแบบ วงจรลอจิกโดย ใชควินแมคคัสกี้ การออกแบบวงจรลอจิกโดยใชการมัลติเพิลเอาทพุต การออกแบบ วงจรซีเควนเชี่ยล การวิเคราะหและสังเคราะหวงจรลําดับ วศ 121 ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน 2(1-3) EG 121 Basic Engineering Practice ฝกการใชเครื่องมือและเทคนิคที่ใชปฏิบัติงานปรับแตงขึ้นรูปโลหะ งานประกอบชิ้นสวน งานเชื่อม ไฟฟาและแกส งานแปรรูปดวยเครื่องจักร และงานเครื่องมือตาง ๆ ในขบวนการผลิตทางวิศวกรรม ขั้นพื้นฐาน ความปลอดภัยในการทํางาน

3. กลุมวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 210 เทอรโมฟลูอิดส

3(3-0) 37

BME 210 Thermofluids คุณสมบัติของของไหล สมการการไหลแบบตอเนื่อง รูปแบบการไหล การกระจายความดันในของ ไหล ไฮโดรสแตติกเพรสเซอร การกระจายแรงดันบนวัตถุแข็งเกร็งซึ่งเคลื่อนที่ในของไหล กลศาสตรของ ไหล การไหลของของไหลในระบบทอ การไหลแบบยูนิฟอรม ความหนืดของของไหล การถายเทความ รอน การไหลที่มีกี่ถายเทความรอน การไหลทั่วไปในหนึ่ง สอง และสามมิติ 3(3-0) วศช 280 ฟสกิ สชีวภาพ BME 280 Biophysics บุรพวิชา : ฟส 101 ฟสิกสเบื้องตน 1 สมบั ติ ก ารยื ด หดตั ว ของกล า มเนื้ อ กลศาสตร ก ารไหลของโลหิ ต และระบบหมุ น เวี ย นโลหิ ต ปรากฏการณของคลื่นในการไดยินปฏิสัมพันธของแสงกับชีวโมเลกุล การภาพและมองเห็น การแกไข ชดเชยการมองเห็น การเกิดและระบายความรอนของรางกาย หลักกลศาสตรสถิติของการซอนทับของ โปรตีน การเคลื่อนที่ของแสงในเนื้อเยื่อทางชีวภาพ การนําของกระแสประสาทตลอดจนการเคลื่อนผาน เนื้อเยื่อ วศช 230 ไมโครโปรเซสเซอรและการอินเตอรเฟส 3(2-3) BME 230 Microprocessors and Interfacing โครงสร า งทั่ ว ไปของไมโครโปรเซสเซอร ภาษาแอสเซมบลี ภาษาเครื่ อ งชุ ด คํ า สั่ ง ฮาร ด แวร ของระบบไมโครโปรเซสเซอร ซี พี ยู หน ว ยความจํ า หน ว ยรั บ ข อ มู ล เข า และส ง ข อ มู ล ออก อิ น เตอร รั พ ต การเชื่ อ มต อ ผ า นโครงสร า งฮาร ด แวร ข องไมโครคอมพิ ว เตอร ไมโครโปรเซสเซอร ไมโครคอนโทรลเลอร หรื อ ในลั ก ษณะขนานทุ ก ส ว นประกอบกั น และอนุ ก รมประกอบกั บ เทคนิ ค การเชื่อมตอผานโปรแกรมระดับสูง และการทดลองไมโครคอนโทรลเลอร วศช 240 การออกแบบและพัฒนาซอตฟแวร 3(2-3) BME 240 Software Design and Development การใชคอมพิวเตอรในการแกปญหาทางวิศวกรรม ภาษาสําหรับการพัฒนาโปรแกรม วงจรการ ออกแบบและพัฒนาโปรแกรม การออกแบบโปรแกรม การเขียนผังงานของโปรแกรม การเขียนอัลกอริธึม การเขียนรหัสเทียม การนําคอมพิวเตอรไปประยุกตใชทางดานวิศวกรรม

วศช 330 สัญญาณและระบบควบคุมทางวิศวกรรมชีวการแพทย BME 330 Signal and Control Systems in Biomedical Engineering 38

3(3-0)

บุรพวิชา : วศ 131 วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สัญญาณและระบบทางดานวิศวกรรมชีวการแพทย การประมวลผลสัญญาณ ระบบควบคุม เบื้องตน แบบจําลองของระบบทางกายภาพ บล็อกไดะแกรม กราฟการไหลของสัญญาณ และฟงกชันถาย โอน แบบจําลองตัวแปรสเตต ผลตอบสนองของระบบ คุณลักษณะของระบบควบคุม การวิเคราะห เสถียรภาพ การออกแบบและวิเคราะหโลกัสของราก การออกแบบและวิเคราะหผลตอบสนองในโดเมน ความถี่ ระบบควบคุมคอมพิวเตอรสําหรับงานทางวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 331 อิเล็กทรอนิกสชีวภาพ 3(3-0) BME 331 Bioelectronics แหลงกําเนิดและระบบการนําสัญญาณชีวไฟฟา การวัดระบบไฟฟาของรางกายสิ่งมีชีวิต หลักการ เบื้ อ งต น ของอิ เ ล็ ก โทรดและทรานสดิ ว เซอร อิ เ ล็ ก โตรดสํ า หรั บ สั ญ ญาณชี ว ภาพ วงจรสั ญ ญาณ อิเล็กทรอนิกสแบบตางๆ ที่นํามาใชทางชีวการแพทย ความปลอดภัยทางไฟฟาและการทดสอบ 3(3-0) วศช 370 สถิติสําหรับวิศวกรชีวการแพทย BME 370 Statistics for Biomedical Engineer วิธีการทางสถิติในการเก็บรวบรวมขอมูล การนําเสนอและการวิเคราะหขอมูลทางดานการแพทย และสาธารณสุข การคํานวณอัตราสถิติชีพ การประมาณประชากร ตารางชีพ และการประยุกตใชในงานดาน การแพทยและสาธารณสุข การแจกแจงความนาจะเปน เทคนิคการชักตัวอยาง การแจกแจงของการชัก ตัวอยาง การประมาณคาและการทดสอบสมมุติฐาน การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห สหสัมพันธและการถดถอยเชิงเสนเชิงเดียว สถิติศาสตรไมอิงพารามิเตอร

วศช 371 วิธีวิทยาการวิจัยทางวิศวกรรม 2(2-0) BME 371 Research Methodology in Engineering บุรพวิชา : วศช 370 สถิติสําหรับวิศวกรชีวการแพทย ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการวิจัย ขั้นตอนการวิจัย การออกแบบการวิจัย การวางแผนการทดลอง เทคนิคการรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล รูปแบบการวิจัย การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ ดวยคอมพิวเตอร การเขียนโครงการวิจัย และการเขียนรายงานการวิจัยทางวิศวกรรม รวมถึงจริยธรรมของ การทําวิจัย

39

วศช 200 ระบบรางกายมนุษยสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย 1 3(3-0) BME 200 Human body system for biomedical engineering 1 โครงสราง ความสัมพันธและการทํางานของระบบกลามเนื้อและกระดูกของมนุษยระบบประสาท สมองและไขสันหลัง ระบบประสาทอัตโนมัติ และความผิดปกติที่พบบอยของระบบดังกลาว โดยการ ผสมผสานความรูพื้นฐานทางมหกายวิภาคศาสตร จุลกายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา พยาธิสรีรวิทยา 3(3-0) วศช 202 ระบบรางกายมนุษยสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย 2 BME 202 Human body system for biomedical engineering 2 โครงสราง ความสัมพันธและหนาที่ของระบบหัวใจ หลอดเลือดและปอด ระบบผิวหนัง ระบบยอย อาหาร ระบบขับถาย ระบบตอมไรทอ และระบบสืบพันธ และความผิดปกติที่พบบอยของระบบดังกลาว โดยการผสมผสานความรูพื้นฐานทางมหกายวิภาคศาสตร จุลกายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา พยาธิสรีรวิทยา วศช 203 ชีววิทยาของเซลลและโมเลกุล 3(3-0) BME 203 Cell and Molecular Biology พื้ น ฐานโครงสร า งและหน า ที่ ข องเซลล รวมถึ ง ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งเซลล การเจริ ญ เติ บ โต การเปลี่ยนแปลงและการตายของเซลล การศึกษาระดับโมเลกุล ไดแก สารชีวโมเลกุล กระบวนการเมทาบอลิซึมของชีวโมเลกุล การสังเคราะหดีเอ็นเอ อารเอ็นเอ โปรตีน และการศึกษาเบื้องตนของการควบคุมการ แสดงออกของยีนส

4. กลุมวิชาเอกบังคับ วศช 281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) BME 281 Principle of Biomedical Engineering แนะนําเกี่ยวกับสหวิทยาการของวิศวกรรมชีวการแพทย การประยุกตใชงานหลักการทางวิศวกรรม พื้นฐานเพื่อใชในระบบทางสรีระวิทยา รวมถึงการแนะนําเกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอร และเครื่องมือที่จาํ เปน สําหรับแกไขปญหาทางวิศวกรรม หัวขอของวิชานี้แนะนําแขนงตางๆ ของวิศวกรรมชีวการแพทยซึ่งไดแก กลศาสตร ชีวการแพทย วิศวกรรมเซลและเนื้อเยื้อ อุ ปกรณชี วการแพทย การสรางภาพทางการแพทย วิศวกรรมคลินิก เทคโนโลยีชีวภาพ วิศวกรรมการฟนฟู เซ็นเซอรชีวภาพ วัสดุวิศวกรรม อวัยวะเทียม เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับงานทางการแพทย และเภสัชวิทยาสําหรับงานวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 201 ปฏิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทยพื้นฐาน

1(0-3) 40

BME 201 Basic Biomedical Engineering Laboratory การฝกปฏิบัติทางวงจรไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร วัสดุ และการวัด และเรียนรูการทํางาน ของเครื่องมือวิทยาศาสตรการแพทยตาง ๆ 1(0-3) วศช 300 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 BME 300 Biomedical Engineering Research Laboratory I การฝกปฏิบัติการวิจัยทางดานวิศวกรรมชีวการแพทย โดยนิสิตทํางานเปนกลุมภายใตการควบคุม ของอาจารย ที่ ป รึ ก ษาประจํ า วิ ช า นิ สิ ต แต ล ะกลุ ม ทํ า การสํ า รวจ และค น คว า งานวิ จั ย ทางวิ ศ วกรรมชี ว การแพทย ที่ผานมา ศึก ษาเทคนิ ค ขั้นตอนวิธีการออกแบบและพัฒ นา วิธีทดสอบ และผลการวิจัยของ งานวิจัยนั้น วิเคราะหและทําความเขาใจถึงขอดีขอเสียของเทคโนโลยีที่งานวิจัยนั้นนํามาใช เพื่อนํามาเปน ขอมูลในการฝกปฏิบัติการสรางหรือพัฒนางานวิจัยทางดานนี้ใหแลวเสร็จ โดยนิสิตตองสงผลงาน รายงาน และผานการสอบปากเปลา 1(0-3) วศช 301 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 BME 301 Biomedical Engineering Research Laboratory II การฝกปฏิบัติการวิจัยทางดานวิศวกรรมชีวการแพทย โดยนิสิตทํางานเปนกลุมภายใตการควบคุม ของอาจารย ที่ ป รึ ก ษาประจํ า วิ ช า นิ สิ ต แต ล ะกลุ ม ทํ า การสํ า รวจ และค น คว า งานวิ จั ย ทางวิ ศ วกรรมชี ว การแพทย ที่ผานมา ศึก ษาเทคนิ ค ขั้นตอนวิธีการออกแบบและพัฒ นา วิธีทดสอบ และผลการวิจัยของ งานวิจัยนั้น วิเคราะหและทําความเขาใจถึงขอดีขอเสียของเทคโนโลยีที่งานวิจัยนั้นนํามาใช เพื่อนํามาเปน ขอมูลในการฝกปฏิบัติการสรางหรือพัฒนางานวิจัยทางดานนี้ใหแลวเสร็จ โดยนิสิตตองสงผลงาน รายงาน และผานการสอบปากเปลา วศช 310 วัสดุทางชีวภาพ 3(3-0) BME 310 Biomaterials บุรพวิชา : วศอ 191 วัสดุวิศวกรรม วัสดุทางชีวภาพตางๆ คุณสมบัติดานการยืดหยุน คุณสมบัติวัสดุ กลศาสตรการแตกหัก และ การ วิเคราะหความเคนและความเครียด ขอจํากัด การนําไปใชงานและการประยุกตใชในงานวิศวกรรมชีว การแพทย วศช 311 กลศาสตรชีวภาพ BME 311 Biomechanics บุรพวิชา : วศ 290 กลศาสตรวิศวกรรม

3 (3-0)

41

พื้นฐานกลศาสตรชีวภาพ แรงและพลังงาน แรงโนมถวง เสถียรภาพและสมดุล ความเคนและ ความเครี ย ดของวั ส ดุ การป อ นแรงกระทํา ต อ สว นต า งๆ ของร า งกาย แรงเสีย ดทาน การเคลื่ อ นที่ ข อง ขอตอ ลักษณะเฉพาะของระบบโครงกระดูก ระบบกลามเนื้อและระบบการไหลเวียนโลหิต ศึกษาเกี่ยวกับ ขอกําหนดทางดานกลศาสตรชีวภาพ หนาที่ และการผลิตของอวัยวะเทียม กลศาสตรของแขนขาบนและลาง หัวขออื่นประกอบดวย การใส อวัยวะเทียมสําหรับขอตอและเอ็น ขอกําหนดดานโหลดแบบสถิตและแบบ ไดนามิก มาตรฐานการผลิตและการทดสอบ การประยุกตในดานตางๆ เชน วิทยาศาสตรการกีฬา การ ประยุกตกลศาสตรชีวภาพในระบบรางกายของมนุษยและกายอุปกรณ วศช 341 การออกแบบระบบผูเชี่ยวชาญทางการแพทย 3(3-0) BME 341 Medical Expert Systems Design แนะนําระบบผูเชี่ยวชาญ การประยุกตใชระบบผูเชี่ยวชาญในงานวิศวกรรม การคนหาคําตอบของ ปญหา วิธีการแทนความรู กลไกการอนุมานความรู กระบวนการอนุมานความรูภายใตความไมแนนอน กระบวนการทางวิศวกรรมความรู ภาษาคอมพิวเตอรและเครื่องมือสําหรับการพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญ การ ออกแบบและพัฒนาเปลือกระบบผูเชี่ยวชาญ การออกแบบระบบผูเชี่ยวชาญทางการแพทย ตัวอยางการ ออกแบบระบบผูเชี่ยวชาญทางการแพทย

วศช 460 วิศวกรรมโรงพยาบาล 3(3-0) BME 460 Hospital Engineering หลักการเบื้องตนของระบบงานวิศวกรรมในโรงพยาบาล มาตรฐานและคุณภาพของโรงพยาบาล ระบบทางวิศวกรรมสําหรับสถานที่ตาง ๆ ในโรงพยาบาล อันไดแก หองผาตัด หองรังสี หองไอซียู ระบบ ทอกาซ ระบบทอสุญญากาศ ระบบไฟฟา ระบบน้ําดีและระบบน้ําเสีย ระบบการขนสงภายใน ระบบความ ปลอดภัยทางไฟฟาและระบบความปลอดภัยจากรังสีในอุปกรณทางการแพทย หลักวิศวกรรมการ บํารุงรักษา รวมทั้งศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพของวิศวกรในโรงพยาบาล วศช 490 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 BME 490 Biomedical Engineering Research Project I

42

1(0-3)

ศึกษาและคนควาวิจัยเปนกลุมหรือเดี่ยว ภายใตการควบคุมของอาจารยที่ปรึกษาโครงงานวิจัยทาง วิศวกรรมชีวการแพทย โดยแตละกลุมตองทําการสํารวจ ศึกษา และวิเคราะหงานวิจัยทางดานวิศวกรรม ชี ว การแพทย ที่ ผ า นมา เพื่ อ จั ด ทํ า ข อ เสนอสํ า หรั บ การทํ า โครงงานวิ จั ย ทางวิ ศ วกรรมชี ว การแพทย อันประกอบดวย ชื่อเรื่อง ความเปนมาของปญหา แนวทางและทฤษฎีที่ใชการแกปญหา สรุปสาระสําคัญ จากเอกสารที่ เ กี่ ย วข อ ง วั ต ถุ ป ระสงค ข องโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน ขั้ น ตอนวิ ธี ดํ า เนิ น การทํ า โครงงาน ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ แผนการดําเนินการ งบประมาณ และเอกสารอางอิง ตามความ เห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาโครงงาน โดยจะไดผลการศึกษาเปนขอเสนอสําหรับการทําโครงงานวิจัยทาง วิศวกรรมชีวการแพทยฉบับสมบูรณ และตองผานการสอบปากเปลา วศช 491 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 3(0-9) BME 491 Biomedical Engineering Research Project II บุรพวิชา : วศช 490 โครงงานวิจยั ทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 ศึกษา ออกแบบ และพัฒนาโครงงานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย ตามขอตกลงที่ระบุไวใน ขอเสนอสําหรับการทําโครงงานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทยสอดคลองกับวิชา วศช 490 ใหแลวเสร็จ ภายใตการควบคุมของอาจารยที่ปรึกษาโครงงานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย โดยจะไดผลงานวิจัย รายงานโครงงานวิจัยฉบับสมบูรณ และตองผานการสอบปากเปลา 5. กลุมวิชาเอกเลือก 5.1 แขนงวิชาวิศวกรรมชีวภาพ วศช 410 ฟสกิ สการสรางภาพทางการแพทย 3(3-0) BME 410 Physics of Medical Imaging บุรพวิชา : ฟส 101 ฟสิกสเบื้องตน 1 เ หลักการพื้นฐานทางฟสิกสและเทคนิคการทดลองที่ประยุกตใชในทางการแพทยและทางชีววิทยา ทบทวนเกี่ ย วกั บ เอ็ก ซ เ รย แ ละแกมมาเรยที่ ใ ชใ นดา นการวินิ จ ฉั ย ทางการแพทยแ ละการด า นการรัก ษา หลักการทางฟสิกสของเลเซอร อัลตราซาวด และสนามแมเหล็กไฟฟาในการสรางภาพของโครงสราง กําหนดหนาที่การทํางาน การวินิจฉัยและการรักษารางกายมนุษย วศช 411 การเขากันไดทางชีววิทยา BME 411 Biocompatibility

3(3-0)

43

การเขากันไดทางชีวภาพและการตอบสนองของรางกายตอของวัสดุ ผลกระทบของวัสดุตอเนื่อเยื่อ และเนื้อเยื่อที่มีตอวัสดุเมื่อถูกนําไปใชในรางกาย ผลกระทบระยะสั้น ระยะยาว การกอมะเร็ง ขั้นตอนการนํา อุปกรณชีวการแพทยจากงานวิจัยสูการนําไปใชจริง และการทดสอบการเขากันไดทางชีววิทยา วศช 412 วิศวกรรมการฟนฟูสภาพ 3(3-0) BME 412 Rehabilitation Engineering ทฤษฎีพื้นฐานและการปฏิบัติงานเชิงอาชีพของวิศวกรรมศาตรดานคลินิกตอการฟนฟูคนไขและคน ที่มีความตองการพิเศษ หัวขอประกอบดวยวิธีการประเมินหนาที่ที่คงเหลืออยูของรางกายและความสัมพันธ ของหน า ที่ ดั ง กล า วต อ ความพิ ก ารทางร า งกายที่ มี อ ยู เทคโนโลยี ข องการวิ เ คราะห และการช ว ยการ เคลื่อนไหว วศช 413 กลศาสตรของระบบไหลเวียนโลหิต 3(3-0) BME 413 Cardiovascular Mechanics กลศาสตรที่เกี่ยวของกับโรคหลอดเลือดแข็งตัว สโต็รค และโรคของหลอดเลือด หัวขอที่สอน รวมถึงการทําปฏิกิริยาระหวางเลือดและเนื้อเยื่อตามผนังของหลอดเลือด เทคนิคอุลตราซาวดและ MRI วศช 414 กลศาสตรของระบบหายใจ 3(3-0) BME 414 Respiratory Mechanics คุณสมบัติทางโครงสรางและกลศาสตรของไหลของระบบหายใจ หัวขอที่ศึกษาประกอบดวยการ หายใจปกติ และโรคของปอดเชน ถุงลมโปงพอง และ การแข็งตัวเปนไฟเบอรของปอด วศช 415 กลศาสตรของกลามเนื้อและกระดูก 3(3-0) BME 415 Musculoskeletal Mechanics หนาที่ของขอตอของรางกายไดแกขอเขา ขอตะโพก ขอศอก และไหล บทบาทของเนื่อเยื่อออน แบบจําลองทางคอมพิวเตอร การทดลอง และจลนศาสตรของขอตอ วศช 416 อวัยวะเทียม 3(3-0) BME 416 Artificial Organ พื้นฐานการแทนที่อวัยวะที่เปน โรคหรือมีความบกพรองดวยอวัยวะเทียม หัวขอประกอบดว ย ขอพิจารณาดานการออกแบบ วัสดุที่ใช และประวัติความเปนมาของการใชงานทางการแพทย อวัยวะเทียมที่ ศึกษาไดแก ลิ้น หัวใจ หัวใจ ไต และอื่น ๆ เปนตน 44

วศช 450 พืน้ ฐานทางวิศวกรรมเนื้อเยื่อ 3(3-0) BME 450 Fundamental of Tissue Engineering พื้ นฐานของหลั กการของวิ ศวกรรมดา นวัสคุและกลศาสตรที่นํ ามาใชใ นการออกแบบเนื้อเยื่ อ ทดแทน ศึกษาเกี่ยวกับขบวนการเลือกวัสดุชีวภาพและการผลิต คุณสมบัติทางดานกลศาสตร การ ขนถายดานของเหลวและมวลสารเมื่อนํามาใชในดานวิศวกรรมเนื้อเยื้อ ศึกษาตัวอยางการออกแบบซึ่งไดแก หลอดเลือด กระดูก เอ็น ผิวหนัง ตับ และเลือด วศช 451 แบบจําลองระบบทางชีววิทยา 3(3-0) BME 451 Biological System Modeling หลักการพื้นฐานในการพัฒนาแบบจําลอง แนวทางการประยุกตใชของแบบจําลองทางคณิตศาสตร และทางคอมพิวเตอรของระบบทางกายภาพวิทยา แบบจําลองในการแบงแยกเปนสวนๆซึ่งครอบคลุมการ ถายเทของของเหลว แบบจําลองของการถายเทของมวล แบบจําลองความสัมพันธของความดันและอัตรา การไหล กลศาสตรของปอด พื้นฐานของระบบทางเดินหายใจ และแบบจําลองตางๆ แบบจําลองของการ สื่อสารของสัญญาณทางไฟฟาของเซลล แบบจําลองของการถายเทความรอนและมวลสาร การควบคุมการ ไหลเวียนของความรอน ระบบควบคุมปริมาตรของของเหลวในรางกาย แบบจําลองสําหรับระบบไต และ แบบโมเดลของกลูโคส-อินซูลิน วศช 452 การวิเคราะหไฟไนตอิลิเมนท 3(3-0) BME 452 Finite Element Analysis วิธีไฟไนตอิลิเมนทซึ่งเปนวิธีทางคอมพิวเตอรที่เหมาะสมสําหรับการหา ความเคนและความเครียด ที่จุดใดๆ ในโครงสรางของวัตถุที่มีความซับซอนทั้งทางเรขาคณิตและทางเนื้อวัสดุ ศึกษาเกี่ยวกับโหลด คุณสมบัติของวัสดุ เงื่อนไขของขอบเขตและรอยตอ ตัวอยางการประยุกตใชการวิเคราะหไฟไนตอิลิเมนท สําหรับงานวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 480 เภสัชวิทยาเบื้องตนสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย BME 480 Basic Pharmacology for Biomedical Engineering

45

3(3-0)

ความหมายของยาและแหลงที่มาของยา การคิดคนและพัฒนายา รูปแบบเภสัชภัณฑ การใชยาอยาง ถูก ตอ งและการเก็ บ รั ก ษา มาตรฐานและการควบคุ ม คุณ ภาพยา การออกฤทธิ์ ข องยาในรา งกายมนุ ษ ย หลักการเบื้องตนของเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร ยาที่ใชรักษาโรคที่พบบอยในแตละระบบ ไดแก ยาที่ใชในโรคระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาทกลาง ระบบกลามเนื้อ กระดูกและ ขอ ยาปฏิชีวนะ ยาสําหรับผิวหนังและเครื่องสําอาง ยาคุมกําเนิดและการคุมกําเนิด รวมทั้งโรคเรื้อรังตาง ๆ เชน โรคเบาหวาน ความดันเลือดสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ โรคไต และยาลดความอวน เปนตน โดยเนนกลไกการออกฤทธิ์ ประโยชนที่ใชในการรักษาและอาการขางเคียงที่สําคัญ รวมถึงพิษจากการใชยา วศช 492 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมชีวภาพ BME 492 Special Topics in Bioengineering หัวขอพิเศษความกาวหนาและที่กําลังเปนทีน่ าสนใจในทางวิศวกรรมชีวภาพ

3(3-0)

5.2 แขนงวิชาเวชสารสนเทศศาสตร วศช 420 การประมวลสัญญาณและภาพทางการแพทย 3(3-0) BME 420 Medical Signal and Image Processing พื้นฐานของสัญญาณทางการแพทย สเปคตรัมและการไดมาซึ่งสัญญาณ การรบกวน กรณีศึกษาการ วิเคราะหสัญญาณในโดเมนเวลา โดเมนความถี่ และโดเมนเวลา-ความถี่ การสรางภาพตัดขวางจากขอมูล โปรเจ็คชัน รวมถึงการสรางภาพตัดขวางจากขอมูลโปรเจ็คชันที่ใชลักษณะทางเรขาคณิตของแนวรังสีที่ ตางกัน เชนแนวรังสีแบบขนาน แบบพัด แบบกรวย เปนตน นอกจากนี้ยังศึกษาเกี่ยวกับการทําทะเบียนภาพ และการสรางรูป 3 มิติจากภาพตัดขวางทางการแพทย

วศช 421 การวิเคราะหสัญญาณชีวทางการแพทย 3(3-0) BME 421 Biomedical Signal Analysis สัญญาณทางการแพทยชั้นสูง สเปคตรัมและการไดมาซึ่งสัญญาณ การรบกวน กรณีศึกษาการ วิเคราะหสัญญาณตางๆโดยใชเทคนิคสมัยใหม วศช 422 การสรางแบบจําลองอยางรวดเร็ว BME 422 Rapid Prototyping บุรพวิชา : วศช 410 ฟสิกสการสรางภาพทางการแพทย 46

3(3-0)

การสรางภาพ 3 มิติดวยเทคนิคตางๆไดแก การวัดระยะดวยสัญญาณแสงเลเซอร, โครงสรางแสง, ทิศทางการไหล การเคลื่อนที่, รูปรางและเงา, สเตอริโอสโคป โทโมกราฟฟ และการใชเครื่องสราง แบบจําลองอยางรวดเร็ว วศช 441 การวางแผนผาตัดโดยความชวยเหลือจากคอมพิวเตอร 3(3-0) BME 441 Computer-Aided Surgery Planning พื้นฐานของการออกแบบทางวิศวกรรมกลศาสตร การประยุกตใชงานโปรแกรม การออกแบบที่ใช คอมพิวเตอรชวยในการออกแบบอวัยวะเทียม กายอุปกรณและวัสดุฝงใน การใชคอมพิวเตอรชวยในการ ออกแบบเครื่องมือและชวยการผาตัดของอวัยวะตางๆ

วศช 442 ปญญาประดิษฐ 3(3-0) BME 442 Artificial Intelligence แนะนําเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ การคนหาคํ าตอบของป ญหา ทฤษฎี เกมส การแทนความรู กระบวนการคิดหาเหตุผลของมนุษยและคอมพิวเตอร การคิดหาเหตุผลภายใตความไมแนนอน การเรียนรู ของมนุ ษ ย แ ละคอมพิ ว เตอร การประมวลผลภาษาธรรมชาติ ภาษาและเทคนิ ค การโปรแกรมสํ า หรั บ ป ญ ญาประดิ ษ ฐ การออกแบบระบบป ญ ญาประดิ ษ ฐ ตั ว อย า งการประยุ ก ต ใ ช ป ญ ญาประดิ ษ ฐ ใ น งานทางวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 443 ทฤษฎีระบบฟซซี 3(3-0) BME 443 Fuzzy Systems Theory ทฤษฎี ฟ ซ ซี เ ซต ฟ ซ ซี ล อจิ ก และการคิ ด หาเหตุ ผ ลแบบประมาณ ระบบการอนุ ม านฟ ซ ซี สถาปตยกรรมของระบบฟซซี การจําแนกแบบฟซซี การวิเคราะหการถดถอยแบบฟซซี การโปรแกรม เชิงเสนแบบฟซซี การออกแบบระบบควบคุมฟซซี การประยุกตใชฟซซีลอจิกในงานวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 444 ระบบประสาทเทียม 3(3-0) BME 444 Artificial Neural Systems แนะนําโครงขายประสาทเทียม ประเภทของโครงขายประสาทเทียม หลักการในการจดจํารูปแบบ ของโครงขายประสาทเทียม กระบวนการเรียนรูและอัลกอริทึม อัลกอริทึมแบบแพรกระจายยอนกลับ การ ประยุกตใชโครงขายประสาทเทียมในงานวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 445 ความฉลาดทางชีววิทยา BME 445 Biological Intelligence

3(3-0) 47

แนะนําความฉลาดทางชีววิทยา ทฤษฎีของดารวิน ยีนและโครโมโซม แบบจําลองพื้นฐานของการ คํานวณแบบมีวิวัฒนาการ จีเนติกอัลกอริทึม วิธีการเลือก ครอสโอเวอรและมิวเตชัน การประยุกตใชจีเนติก อัลกอริทึมในงานวิศวกรรม การเขียนโปรแกรมแบบจีเนติก ตัวอยางการประยุกตใชจีเนติกอัลกอริทึม ในงานวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 446 ชีวสารสนเทศศาสตร 3(3-0) BME 446 Bioinformatics พื้นฐานการจําลอง การออกแบบ และการใชระบบการคํานวณสําหรับงานทางดาน ชีว การแพทย หั วขอประกอบดวยการความรูพื้นฐาน การนําเสนอ คําศัพ ทควบคุมในดานการแพทย และ วิทยาศาสตรชีวภาพ อัลกอริทึมพื้นฐาน การแยกขอมูล การเรียกคืนขอมูล การคนหา เนนการสอนในดาน หลั กการการจําลองขอมูลและความรูในดานชีวการแพทย และการแปรผลของแบบจํ าลองไปสูระบบ อัตโนมัติที่สามารถใชประโยชนได วศช 447 ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล 3(3-0) BME 447 Hospital Information System บทบาทของระบบสารสนเทศโรงพยาบาล ระบบสารสนเทศ องค ก ร และกระบวนการธุร กิ จ โรงพยาบาลอิเล็กทรอนิกส การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอรและแหลงขอมูล ระบบเครือขายคอมพิวเตอร และการสื่อสารขอมูล การจัดการความรู ผลกระทบทางจริยธรรมและสังคมของระบบสารสนเทศ การ วิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศสําหรับโรงพยาบาล

วศช 448 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางการแพทย 3(3-0) BME 448 Medical Decision Support Systems แนะนําระบบสนับสนุนการตัดสินใจ สถาปตยกรรมของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การจัดการ ขอมูล การจัดการแบบจําลอง การจัดการองคความรู การจัดการสวนเชื่อมโยงกับผูใช ระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจแบบกลุม ระบบสนับสนุนการตัดสินใจระดับองคกร แนวทางการพัฒนาระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจทางการแพทย วศช 493 หัวขอพิเศษทางเวชสารสนเทศศาสตร BME 493 Special Topics in Medical Informatics หัวขอพิเศษความกาวหนาและที่กําลังเปนทีน่ าสนใจในทางสารสนเทศศาสตร 5.3 แขนงวิชาอุปกรณทางการแพทย 48

3(3-0)

วศช 430 การออกแบบอุปกรณชีวการแพทย 3(3-0) BME 430 Biomedical Instrument Design แนะนําเทคนิคการออกแบบอุปกรณทางการแพทยรวมถึงเซนเซอรและอิเล็กทรอนิกสที่เกี่ยวของ แบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับเซนเซอรชนิดตางๆ การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ทําหนาที่ ปรั บ แตงสั ญญาณ การวิ เ คราะห ปญหาเพื่อที่จ ะพัฒ นาเครื่อ งมือ ทางชีว การแพทย โ ดยเน น ในดา น ประสิทธิภาพ ความเชื่อถือไดตลอดจนความปลอดภัยและเปนไปตามมาตรฐานสากล ตัวอยางการออกแบบ อุปกรณชีวการแพทย วศช 431 อุปกรณการแพทยและการตรวจวัดสภาพทางสรีรวิทยา 3(3-0) BME 431 Medical Instruments and Physiological Monitoring ความดันและอัตราการไหลที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ความเขมขนของกาซชนิดตางๆในปอด เซนเซอรที่ใชวัดปริมาณของสารตางๆในเลือด การวัดตางๆทางคลินิก หลักการของเครื่องเพสเมก เกอรและดีฟบบิลเลเตอร อุปกรณในการบําบัดโรคตาง ๆ รังสีวิทยา ภาพเอ็มอารไอ การบันทึกภาพทาง การแพทยโดยใชอัลตราซาวด ความปลอดภัย และการเชื่อถือไดของอุปกรณทางไฟฟาและทางกลที่ใชทาง การแพทย และการปองกันปญหาขัดของที่อาจจะเกิดขึ้นไดกับอุปกรณทางการแพทย

วศช 432 อิเล็กทรอนิคสทางแสงและอุปกรณเลเซอร 3(3-0) BME 432 Optical Electronics and Laser Device บุรพวิชา : ฟส 101 ฟสิกสเบื้องตน 1 คุณสมบัติของแสงทั่วไปและแสงเลเซอร ทฤษฎีการเกิดแสงเลเซอร สวนประกอบของแสงเลเซอร คุณสมบัติทั่วไปของแสงเลเซอร ทฤษฎีไอสไตนและแหลงกําเนิดแสงเลเซอร ลําแสงเกาซเซียน บทบาทของ แสงเลเซอรในการประยุกตทั่วไปและการประยุกตในทางอิเล็คทรอนิคส วงจรอิเล็คทรอนิคสที่ใชรวมกับ แสงเลเซอร วศช 433 หุนยนตทางการแพทย 3(3-0) BME 433 Medical Robotics หุนยนตเบื้องตน การแปลงเอกพันธ สมการคิเนเมติก การแกสมการคิเนเมติก ความสัมพันธเชิง ผลตาง แขนหุนยนต พลวัตของแขนหุนยนต แรงสถิตในแขนหุนยนต การควบคุมหุนยนต เทคโนโลยีของ หุนยนตและการมองเห็นของคอมพิวเตอร หัวขอประกอบดวยเครื่องควบคุมตําแหนง เครื่องควบคุมแรง การประยุกตใชงานเทคโนโลยีของหุนยนตตอออรโธปดิกค การควบคุมขอตอเคลื่อนที่ 6 ทิศอิสระ ตัวอยาง การใชงานหุนยนตทางการแพทย 49

วศช 434 การออกแบบระบบฝงตัว 3(3-0) BME 434 Embedded System Design บุรพวิชา : วศช 230 ไมโครโปรเซสเซอรและการอินเตอรเฟส แนะนําการพัฒนาระบบฝงตัวสมองกล ระบบไอดีอี ไอดีอีสําหรับโพรเซสเซอร การใชงานเจเท็ค การเขียนโปรแกรมสําหรับระบบฝงตัวสมองกล การเชื่อมตอกับอุปกรณภายนอก แนะนําระบบปฏิบัติการ ไมโครซี การทําพอรตติง และการใชงานแบบตอบสนองทันทีทันใด การเขียนโปรแกรมสําหรับระบบฝงตัว ตัวอยางการออกแบบระบบฝงตัวในงานวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 435 อุปกรณรับรูทางชีวการแพทย 3(3-0) BME 435 Biomedical Sensors พื้นฐานการใชเซ็นเซอรทางการแพทย แบบสารกึ่งตัวนํา เทคโนโลยีเซ็นเซอรแบบสารกึ่งตัวนํา เซ็นเซอรเชิงกล เซ็นเซอรแมเหล็ก เซ็นเซอรคลื่นแมเหล็กไฟฟา เซ็นเซอรความรอน เซ็นเซอรเคมี เซ็นเซอร ชีวภาพ เซ็นเซอรแบบวงจรรวมและการเชื่อมตอเซ็นเซอรกับระบบ โดยเนนประสานหลักการเหลานี้ในการ พัฒนาใชและสรางอุปกรณและเครื่องมือวัดเพื่อการติดตาม ตรวจสอบ และควบคุมปรากฏการณตางๆใน ขอบขายของเทคโนโลยีชีวภาพการแพทย วศช 494 หัวขอพิเศษทางอุปกรณการแพทย BME 494 Special Topics in Medical Instrumentations หัวขอพิเศษความกาวหนาและที่กําลังเปนทีน่ าสนใจในทางอุปกรณการแพทย

3(3-0)

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี หมวดวิชาเลือกเสรีใหนิสิตเลือกศึกษารายวิชาทีม่ ีการเปดสอน ในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ง. หมวดวิชาการฝกงาน วศช 302 ฝกงานทางวิศวกรรมชีวการแพทย BME 302 Practical Training in Biomedical Engineering การฝกงานทางดานวิศวกรรมชีวการแพทยในโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล หรือหนวยงานที่ ภาควิชาใหความเห็นชอบ ทั้งนี้เพื่อเปนการเสริมสรางประสบการณ และเขาใจหนาที่ของวิศวกรภายใน โรงงานอุตสาหกรรม หรือโรงพยาบาล มีกําหนดเวลาไมนอยกวา 200 ชั่วโมงในภาคการศึกษาฤดูรอน นิสิต ตองสงรายงานเพื่อสรุปความรูที่ไดจากการฝกงาน นําเสนอในชั้นเรียน และผานการสอบปากเปลา

50

ภาคผนวก ประวัติของอาจารยประจําหลักสูตร และ ภาระงานสอนของอาจารยประจําหลักสูตร

ดร. วงศวิทย เสนะวงศ 1. การศึกษา 1.1 การศึกษาระดับอุดมศึกษา (เรียงจากคุณวุฒิสูงสุด)

คุณวุฒิ

ชื่อสถานศึกษา

Doctor of Philosophy (Biomedical Engineering) Thesis: Biomechanics of the Patellofemoral Joint

Imperial College London

Master of Science (Biomedical Engineering) Thesis: 3D Computer Visualization of Wound Healing Bachelor of Engineering (Biomedical Engineering) Project: Neurobiology

Imperial College London

ป พ.ศ.ที่จบ 2545

ประเทศอังกฤษ 2539

ประเทศอังกฤษ University of Kent

2537

ประเทศอังกฤษ

2. ประสบการณทํางานและการสอน 2550 -

2546 - 2549

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารย วิชา คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 และ คณิตศาสตรวิศวกรรม 2 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง อาจารย วิชา หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร, คณิตศาสตรวิศวกรรม, การวิเคราะหเมตริกซ, กลศาสตรชีวภาพ

2546 - 2549

2545 - 2546

มหาวิทยาลัยมหิดล อาจารยพิเศษหลักสูตรปริญญาโทวิศวกรรมชีวการแพทย วิชาหลักสูตรนานาชาติ Mechanics and Materials in Medicine, Biocompatibility Imperial College London

Research Associate 3. ผลงาน 3.1 งานแตง เรียบเรียง แปลหนังสือ หรือเขียนบทความทางวิชาการ 3.1.1 Patellofemoral kinematics during knee flexion-extension: An in vitro study (2549) AA Amis, W Senavongse, AM Bull - J Orthop Res, 2006. 3.1.2 Effects of lateral retinacular release on the lateral stability of the patella (2549) 50

3.1.3

3.1.4 3.1.5 3.1.6 3.1.7 3.1.8 3.1.9

AMJ Bull, RK Strachan, R Shymkiw, W Senavongse- Knee Surgery, Sports Traumatology, Arthroscopy, 2006 Electromagnetic interference studies using laboratory digital signal analysis with spectrum analyzer (2548) Proceeding international conference on electromagnetic compatibility 2005, July, Phuket Biomechanics of patellofemoral joint prostheses (2548) Clinical orthopaedic and related research, 2005, 436, July 2005. Biomechanical study of patellofemoral joint instability (2548) Proceeding of SPIE 2005 vol. 5852, April 2005. The effects of articular, retinacular or muscular deficiencies on patellofemoral joint stability (2548) Journal of bone and joint surgery, 87-B, April 2005. Tensile strength of the medial patellofemoral ligament before and after repair or reconstruction (2548) Journal of bone and joint surgery, 87-B, January 2005. Book chapter: Patellofemoral Disorders: Diagnosis and Treatment (2547) Patellofemoral Disorders ISBN 0470850116, John Wiley&sons, 2004. Spectral estimation of stator voltage signal of induction motors (2547) Proceeding ITC-CSCC, Sendai, July 2004.

3.2 งานวิจยั 3.2.1 การศึกษา ชีวกลศาสตรของหัวเขา เขาเทียมและกระดูกสันหลัง 3.2.2 ศึกษาวิจัย ขอในสะโพกกับแพทยออโธปดกิ ส มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3.3 งานบริการวิชาการ 3.3.1 กรรมการคณะทํางานออกขอสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟา 3.3.2 กรรมการคณะทํางานตรวจรับการพัฒนาระบบขอสอบของสภาวิศวกร 3.3.3 กรรมการคณะทํางานที่ปรึกษาระบบคอมพิวเตอรโครงการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรอยาง ตอเนื่อง 3.3.4 กรรมการคณะทํางานรางหลักสูตรวิศวกรรมชีวการแพทยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 3.3.5 กรรมการและเลขานุการการจัดประชุมนานาชาติ ICEMC2005 ภูเก็ต 3.3.6 กรรมการจัดประชุมวิชาการทางวิศวกรรมชีวการแพทยนานาชาติ ISBME 2006 กรุงเทพ 3.3.7 กรรมการและเลขาธิการชมรมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย ThaiBME 3.3.8 กรรมการการจัดประชุมนานาชาติ World Congress on Bioengineering WACBE2007 3.3.9 กรรมการและผูทรงคุณวุฒิในการจัดทํา Roadmap ทางวิศวกรรมชีวการแพทยของประเทศ ไทย 51

4. สมาชิกในสมาคมและชมรม 4.1 สมาคมวิศวกรรมไฟฟาประเทศอังกฤษ MIEE 4.2 สมาคมวิศวกรรมเครื่องกลประเทศอังกฤษ MIMechE 4.3 สมาชิกสามัญ และเลขาธิการสมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย (Thai Biomedical Engineering Research Association :ThaiBME) 5. รางวัลที่ไดรับ 5.1 ทุน ก.พ. ไปศึกษาตอที่ประเทศอังกฤษ 5.2 ทุนวิจยั ของ Arthritis Research Campaign (ARC) ประเทศอังกฤษ 6. ภาระงานสอนปจจุบัน

ระดับ

รายวิชาที่สอน

หนวยกิต

ปริญญาตรี

วศฟ 291 Mathematics for Engineering II

3

ปริญญาตรี

มศว 301 บูรณาการ 3

2

ปริญญาตรี

วศฟ 191 Mathematics for Engineering I

3

7. ภาระงานสอนหลักสูตรใหม วศช วศช วศช วศช วศช วศช วศช วศช วศช วศช วศช

332 281 310 430 490 491 411 414 415 430 431

อุปกรณชีวการแพทย หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย ฟสิกสของการสรางภาพทางการแพทย การออกแบบอุปกรณชีวการแพทย โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 วิศวกรรมฟนฟูสภาพ กลศาสตรของกลามเนื้อและกระดูก อวัยวะเทียม อุปกรณรับรูทางชีวการแพทย อุปกรณทางการแพทยและการตรวจวัดสภาพทางสรีระวิทยา

ผูชวยศาสตราจารยวัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ 52

3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 1(0-3) 3(0-9) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

…………………………………………………………………………………………… ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รหัสประจําตัวนักวิจัยแหงชาติ 44-12-0076 (Information Technology) ผลงานวิชาการ เอกสารประกอบการสอน

-วัชรชัย วิรยิ ะสุทธิวงศ การสื่อสารผานคอมพิวเตอรและระบบเครือขายพื้นฐาน (Introduction to Computer Communication and Network) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ, 2547 : ISBN 974-9613-89-9 -วัชรชัย วิรยิ ะสุทธิวงศ การสื่อสารขอมูลและเครือขาย (Data Communication & Network) คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2548 : ISBN 974-9849-58-2 ผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรแลว Refereed Conference: 1. W. Wiriyasuttiwong ; K. Kantapanit ; and P. Singhadej. “Development of a Clinical Diagnosis Expert Systems.” Proceedings of the 1999 National Computer Science and Engineering Conference (NCSEC’1999) : p9-16, Bangkok, Thailand,1999. (in Thai) 2. K. Kantapanit ; T. Ualucksakul ; and W. Wiriyasuttiwong “Realization of Passive Electronic Circuit Using Preferred Value Components and Error Feedback Genetic Algorithms.”, Proceedings of the 1st International Conference on Intelligent Technologies (InTech’2000) : p144-148, Bangkok, Thailand, 2000. 3. K. Kantapanit ; C. Treesatayapun ; and W. Wiriyasuttiwong “Neural Adaptive Control with Plant Information Feedback.”, Proceedings of the 1st International Conference on Intelligent Technologies (InTech’2000) : p80-183, Bangkok, Thailand, 2000. 4. K. Kantapanit ; P. Inrawong ; W. Wiriyasuttiwong ; and R. Kantapanit. “Dental Caries Lesions Detection Using Deformable Templates.” The 2001 IEEE International Symposium on Circuits and Systems. (ISCAS 2001) Volume II : p125–128, Sydney , Australia, 2001. 5. K. Kantapanit ; C. Treesatayapun ; and W. Wiriyasuttiwong “Adaptive Neural Network Control with Plant Information Feedback.”, The 3rd International Symposium on Intelligent Processing and Manufacturing of Material (IPMM-2001) : , Vancouver, Canada, July 29 – August 3, 2001. 6. R. Wiriyasuttiwong, W. Wiriyasuttiwong and K. Kantapanit “An Expert Consultation System in Selecting Statistical Methods for a Single Group of Samples”, Extended Abstracts of the 27th Conference of Science and Technology of Thailand (STT27), p287, Lee Garden Plaza, Hat Yai, Songkhla, 16-18 October 2001. 7. W. Wiriyasuttiwong, K. Kantapanit and K. Suriya “A Knowledge-Based Expert System Application to the Economics Analysis of Personal Consumer Credit”, Extended Abstracts of the 27th Conference of Science and Technology of Thailand (STT27), p764, Lee Garden Plaza, Hat Yai, Songkhla, 16-18 October 2001. 8. K. Kantapanit and W. Wiriyasuttiwong “Design of FLC for Electric Ceramics Kiln Using Hard c-Means Clustering”, Proceedings of the 2nd International Conference on Intelligent Technologies (InTech’2001), p81-84, Bangkok, Thailand, 27-29 November, 2001. 9. K. Kantapanit ; P. Inrawong ; W. Wiriyasuttiwong ; and R. Kantapanit. “Detection of Tooth Decays by Adaptive Templates.” Proceedings of the 1st Vietnam-Japan

53

Bilateral Symposium on Biomedical Imaging and Applications (VJMEDIMAG’2001), p166-169, Hanoi, Vietnam, 24-25 November, 2001. 10. C. Treesatayapun ; K. Kantapanit ; S. Uatrongjit ;and W. Wiriyasuttiwong. “Fuzzy Graphic Inference Networks” Proceedings of the 2nd Vietnam-Japan Symposium on Fuzzy Systems and Applications (VJFUZZY’2001), p332-337, Hanoi, Vietnam, 7-8 December, 2001. 11. W. Wiriyasuttiwong and R. Wiriyasuttiwong. “An Application Software for Forecasting using Moving Average Methods” Proceedings of the MEHDA’S 2nd International Conference on Educational Development for Societies on the Move , Mekong Human Resource Development Agency (MEHDA), p54-58, Uttaradit, Thailand, December 20-21, 2001. 12. W. Wiriyasuttiwong and N. Pacharapruethipakorn “A Fuzzy Expert System for Dental Age Assessment”, Extended Abstracts of the 28th Conference of Science and Technology of Thailand (STT28), p601, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok, 24-26 October 2002. 13. W. Wiriyasuttiwong, R. Wiriyasuttiwong, N. Jarupattanasiregul and K. Kantapanit “An Expert Consultation System in Selecting Statistics for Data Analysis with Two Variables”, Extended Abstracts of the 28th Conference of Science and Technology of Thailand (STT28), p602, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok, 24-26 October 2002. 14. W. Wiriyasuttiwong “A Fuzzy Expert Controller for Pump Start-up Operation”, Extended Abstracts of the 28th Conference of Science and Technology of Thailand (STT28), p743, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok, 24-26 October 2002. 15. P. Juangjandee and W. Wiriyasuttiwong “An Expert System for Turbine Cycle Losses Reduction” Proceedings of the International Conference on Computer, Communication and Control Technologies. (CCCT'03), Vol.VI, p103-107 Sheraton World Resort, Orlando, Florida, USA, July 31 - August 2, 2003. 16. W. Wiriyasuttiwong, P. Puapornpong and W. Narkbuakaew “Designing the Pelvic Inflammatory Expert System” Proceedings of The 4th National Meeting on Biomedical Engineering, p143-150, Rama Garden Hotel, Bangkok, Thailand. August 25-26, 2005. 17. Sumate Pattanasuttinont, Watcharachai Wiriyasuttiwong, and Walita Narkbuakeaw “A Medical Knowledge-Based System for Ectopic Pregnancy” Proceedings of The 1st Symposium on Thai Biomedical Engineering, Bangkok, Thailand, December 18-19, 2007. 18. P. Puapornpong and W. Narkbuakaew, W. Wiriyasuttiwong, and Walita Narkbuakeaw “A Medical Expert System for Preterm Labor” Proceedings of The 1st Symposium on Thai Biomedical Engineering, Bangkok, Thailand, December 18-19, 2007. Refereed Journal: 19. K. Kantapanit ;and W. Wiriyasuttiwong. “Face Recognition by Edge Detection of JPEG Compressed Images and Backpropagation Neural Network” The Engineering Journal of Siam University. Volume 4, p42-45, Year 2 , July-December, 2000. 20. W. Wiriyasuttiwong. “An Intelligent Temperature Control for Electric Kiln Using Fuzzy Fast-Direct Chaining Reasoning” The Engineering Journal of Siam University. Volume 6, p51-58, Year 3 , July-December, 2001. (in Thai) 21. C. Wichasilp, W. Wiriyasuttiwong, V. Tunbunheng, and K. Kantapanit “Fuzzy cMeans Clustering Designed FLC for Air-Conditioning System” The Engineering Journal of Siam University. Volume 7, p23-27, Year 3 , January-June, 2002. 22. W. Wiriyasuttiwong and P. Juangjandee “An Expert System for Turbine Energy

54

Losses Analysis in Mae Moh Lignite Power Plant” The Engineering Journal of Siam University. Volume 8, p28-32, Year 4 , July-December, 2002. 23. C. Wichasilp, W. Wiriyasuttiwong and K. Kantapanit “Design of Fuzzy Logic Controllers by Fuzzy c-Means Clustering” Thammasat International Journal of Science and Technology. p12-16, 2003. 24. W. Wiriyasuttiwong and S. Rodamporn “An Application of Fuzzy c-Means Clustering to FLC Design for Electric Ceramics Kiln.” WSEAS Transactions on Information Science and Applications. Issue 1, Vol. 1, p199-203, July 2004. 25. S. Noimanee, J. Tantakul, S. Chaisupan, W. Wiriyasuttiwong and A. Chayunnakon “The Health Data Monitoring of Patient via GPS System” Journal of Thai Association for Medical Instrumentation, Vol. 5, No. 12, p39-47, July-September 2006. 26. W. Wiriyasuttiwong “Design of an Expert System for Diagnosis by History Taking” Thai Science and Technology Journal of Thammasat University, Vol. 14, No. 2, August-November 2006.

ประสบการณการบริหารโครงการวิจัยและพัฒนา  วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ “โครงการวิจยั สวนวิเคราะหหนวยคําและโครงสรางประโยคภาษาไทย สําหรับ ระบบการแปลภาษาดวยคอมพิวเตอร” ทุนคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, พฤศจิกายน 2542 – มีนาคม 2545 : หัวหนาโครงการวิจัย  ขจรศักดิ์ คันธพนิต หิ้น ชนสุต และวัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ “โครงการวิจัยการพัฒนาชุดควบคุมฟซซีจี เนติกอัลกอริทมึ สําหรับการควบคุมอุณหภูมิในเตาเผาเซรามิคแบบไฟฟา” ทุนสํานักคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ สถาบันวิจยั และพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ตุลาคม 2544 – กันยายน 2545 : ผูรวมวิจยั  หิ้น ชนสุต วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ และคณะ “โครงการวิจัยการพัฒนาระบบควบคุมแบบอะแดบทีฟฟซ ซีลอจิกสําหรับควบคุมอุณหภูมิในเตาเผาเซรามิคแบบแก็ส” ทุนสํานักคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ ตุลาคม 2545 – กันยายน 2547 : ผูรวมวิจัย  ชูเพ็ญศรี วงศพุทธา วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ ผาสุก มหรรฆานุเคราะห และคณะ “ชุดโครงการวิจัยระบบ ผูเชี่ยวชาญการวินิจฉัยโรคจากการซักประวัต”ิ ทุนสํานักคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สถาบันวิจัยและ พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ตุลาคม 2545 – มีนาคม 2547 : รอง ผูอํานวยการชุดโครงการวิจยั  สมภพ รอดอัมพร และวัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ “โครงการวิจัยระบบตนแบบสําหรับการแปลภาษาไทยอังกฤษดวยคอมพิวเตอร” ทุนเงินรายไดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มิถุนายน 2547 – พฤษภาคม 2548 : ผูรวมวิจัย  สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ และคณะ “โครงการวิจัยการพัฒนาระบบสารสนเทศ การบริหารงานวิจยั ของชาติ (NRPM) ” ทุนสํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ พฤษภาคม – สิงหาคม 2549 : หัวหนานักวิจัย  สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ วลิตะ นาคบัวแกว และยุทธนา ติยวรนันท “โครงการวิจัยโปรแกรมประเมินสุขภาพแพทยตนแบบ” โครงการรณรงครักษสุขภาพโดยใชแพทยเปน 55















ตนแบบ ทุนสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ พฤษภาคม – ตุลาคม 2549 : รอง หัวหนาโครงการ วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ สงวนศักดิ์ ฤกษศุภผล และวลิตะ นาคบัวแกว “โครงการวิจัยการออกแบบและ พัฒนาเปลือกระบบผูเชี่ยวชาญทางการแพทย” ทุนเงินรายไดคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ ตุลาคม 2549 – กันยายน 2550. : หัวหนาโครงการวิจยั สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ และคณะ “โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศตําแหนง วิชาการ (APS) ” ทุนสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตุลาคม 2549 – มกราคม 2550. : รอง หัวหนาโครงการ วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ ยุทธนา ติยวรนันท และวลิตะ นาคบัวแกว “โครงการระบบสารสนเทศรักษ สุขภาพโดยแพทยรวมกับสหวิชาชีพ” โครงการรณรงครักษสุขภาพโดยแพทยรว มกับสหวิชาชีพ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กรกฎาคม 2550 – มกราคม 2551 : หัวหนา โครงการวิจัย วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ ณัฐพล จารุพัฒนะสิริกุล และนภัสกมล โมงเย็น “โครงการพัฒนาระบบสํารอง ขอมูลคูขนานของระบบบริหารงานวิจัยแหงชาติ” ทุนสํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ สิงหาคม – ตุลาคม 2550 : หัวหนาโครงการ สุนาฎ เตชางาม วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ ชนิดา ปโชติการและคณะ “โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ การกินอาหารเพื่อสุขภาพ” โครงการรณรงครักษสุขภาพโดยแพทยรวมกับสหวิชาชีพ สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กันยายน 2550 – มกราคม 2551 : รองหัวหนาโครงการวิจัย วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ สุนาฎ เตชางาม ชนิดา ปโชติการและคณะ “โครงการระบบสารสนเทศสําหรับ การประเมินและวางแผนการกินอาหารเพือ่ สุขภาพดวยตนเอง” โครงการรณรงครักษสุขภาพโดยแพทย รวมกับสหวิชาชีพ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กันยายน 2550 – มกราคม 2551 : หัวหนาโครงการวิจัย วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ ณัฐพล จารุพัฒนะสิริกุล และนภัสกมล โมงเย็น “โครงการระบบการติดตาม โครงการที่กําลังดําเนินการวิจัย และการประเมินผลหลังสิ้นสุดการวิจัย สําหรับระบบบริหารงานวิจัย แหงชาติ (NRPM II)” ทุนสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ กันยายน 2550 – ตุลาคม 2551 : หัวหนาโครงการ

สาขาวิจัยที่ชาํ นาญ Medical Expert Systems, Fuzzy and Knowledge Engineering

ทุนที่เคยไดรับ 56

2539-2540 ทุนพัฒนาอาจารย ทบวงมหาวิทยาลัย รางวัลที่เคยไดรับ - 1999 Distinguished Thesis Award in Science and Technology, “Development of Fuzzy Rule-Based Expert System for Clinical Diagnosis”, Graduate School, Chiang Mai University, Thailand.

สมาชิกในสมาคม/ชมรม - กรรมการและนายทะเบียน สมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย (Thai Biomedical Engineering Research Association :ThaiBME) - กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการสภาวิชาการ สมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย (ThaiBME Council Committee) ภาระงานสอนปจจุบัน ระดับ

รายวิชาที่สอน

หนวยกิต

ปริญญาตรี

วศฟ 291 Mathematics for Engineering II

3

ปริญญาตรี

วศฟ 449 Data Communication

3

ปริญญาตรี

วศฟ 381 Information System Analysis & Design

3

ปริญญาตรี

วศฟ 461 Information Technology for Organization

3

ปริญญาตรี

วศฟ 383 Intelligent Systems

3

ปริญญาโท

รศ 614 Foundation of Administrative Technology

3

ภาระงานสอนหลักสูตรใหม วศช 240 การพัฒนาซอตฟแวรสําหรับการแกปญหาทางวิศวกรรม วศช 370 สถิติสําหรับวิศวกรชีวการแพทย วศช 371 วิธีวิทยาการวิจัยทางวิศวกรรม วศช 341 การออกแบบระบบผูเชี่ยวชาญทางการแพทย วศช 443 ปญญาประดิษฐ วศช 444 ทฤษฎีระบบพัซซี วศช 447 ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ผูชวยศาสตราจารยเกียรติชัย รักษาชาติ 57

3(2-3) 3(3-0) 2(2-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

........................................................................................................................................................ การศึกษา 2529 ปริญญาตรี (วิศวกรรมเครื่องกล) ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 2535 ปริญญาโท (วิศวกรรมเครื่องกล) ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ ตําแหนงปจจุบัน ผูชวยศาสตราจารยระดับ 8 สังกัดภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ วิชาที่สอน สถิตยศาสตร พลศาสตร กลศาสตรของแข็ง I,II การออกแบบ ชิ้นสวนเครื่องจักรกล I,II ปฏิบัติงานวิศวกรรมยานยนตพื้นฐาน วิศวกรรมยานยนต การทดลองทางดาน วิศวกรรมเครื่องกลและเครื่องมือวัด เทอรโมไดนามิคส กลศาสตรของไหล โครงงานวิศวกรรมเครื่องกล โทร 02-6641000 ตอ 2055 โทรสาร 037-322609 อีเมล : [email protected] ประสบการณทํางาน 2530-2531 2532-2533 2534-2535 2537-2541 2543-2546 2546-2548 2549-2550 2539-2541 2545-2550 2539-2540 2540-2540 2541-2541 2544-2544

วิศวกรควบคุมการผลิต วิศวกรควบคุมงานระบบในอาคารสูง วิศวกรรับเหมางานระบบในอาคารสูง ที่ปรึกษาสโมสรนิสิตภาคปกติ ที่ปรึกษาสโมสรนิสิตภาคปกติ ที่ปรึกษาสโมสรนิสิตภาคปกติ ที่ปรึกษาสโมสรนิสิตภาคปกติ ที่ปรึกษาสโมสรนิสิตภาคสมทบ ที่ปรึกษาสโมสรนิสิตภาคสมทบ รักษาราชการแทนรองคณบดีฝายกิจการนิสิต ดูงานดานการศึกษาที่ประเทศสหรัฐอเมริกา หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ รองประธานคณะกรรมการดําเนินการจัดการประชุมวิชาการ เครือขายวิศวกรรมเครื่องกล แหงประเทศไทยครั้งที่ 15

2543-2545 2545-2545

รองหัวหนาภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลฝายบริหาร รองคณบดีฝายโครงการพิเศษ 58

2548-2549 2546-2548 2550-2550 2548-2550 2548-2550 2539-2540 2547-2550 2543-2543 2548-2550

รอง คณบดีฝายโครงการพิเศษ รองคณบดีฝายกิจการนิสิต หัวหนายุทธศาสตรพัฒนาศักยภาพนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร คณะอนุกรรมการยุทธศาสตรพัฒนาสังคม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ของฝายพัฒนา ศักยภาพนิสิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยที่ปรึกษาองคกรนิสิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยที่ปรึกษาชมรมดนตรีเพื่อการศึกษา อาจารยที่ปรึกษาชมรมดนตรีเพื่อการศึกษา อาจารยที่ปรึกษาชมรมวิศวกรรมยานยนต อาจารยที่ปรึกษาชมรมวิศวกรรมยานยนต

งานวิจัย  การพัฒนาซอฟแวรเพื่อเสริมวิชาสถิตยศาสตร  การจัดสรางตนแบบเตาเผาขยะประหยัดพลังงาน(เอื้ออาทร) ผลงานทางวิชาการ  เอกสารประกอบการสอน ชื่อเรื่อง กลศาสตรของแข็ง I ชื่อเรื่อง ระบบไฟฟาในรถยนต  งานแตง เรียบเรียง แปลตํารา ชื่อเรื่อง สถิตยศาสตร  บทความ ชื่อเรื่อง สมบัติของวัสดุ ชื่อเรื่อง การวิเคราะหความเคนในผาเบรก ใน 12 ป คณะ วิศวกรรมศาสตร ชื่อเรื่อง การออกแบบและสรางเครื่องอัดเชื้อเพลิงแข็ง เกียรติคุณทางวิชาการ/วิชาชีพอื่นๆ 1. กองพลทหารมาที่ 2 ไดมอบเข็มเครื่องหมายกระเปาคันชีพเครื่องแบบเต็มยศทหารมารักษา พระองคในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห ัว และประกาศนียบัตรนี้ไวเพื่อเปนเกียรติประวัติสืบ เนื่องจากไดทาํ ประโยชนใหกับทางราชการและประเทศชาติอยางดียิ่ง ใหไว ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2544 2. รองประธานคณะกรรมการดําเนินการจัดการประชุมวิชาการ เครือขายวิศวกรรมเครื่องกล แหง ประเทศไทยครั้งที่ 15 และประธานอนุกรรมการฝายพิธีการในการจัดงาน พ.ศ. 2544-2544 59

3. ในงานเชิดชูเกียรตินกั กิจกรรมดีเดน โดยไดรับโลอาจารยที่ปรึกษาองคกรนิสิตดีเดน 2ปซอน ประจําปการศึกษา 2548 ในวันที่ 10 กุมภาพันธ 2549 และประจําปการศึกษา 2549 ในวันที่ 14 กุมภาพันธ 2550 ภาระงานสอนปจจุบัน ระดับ

รายวิชาที่สอน

หนวยกิต

ปริญญาตรี

วศก 226 Mecahnics of Solids 1

3

ปริญญาตรี

วศก 381 Measurement and Instrumentation Laboratory

2

ปริญญาตรี

วศก 492 Mechanical Engineering Laboratory

1

ปริญญาตรี

วศก 493 Mechanical Engineering Project

2

ปริญญาตรี

วศก 291 Engineering Mechanics 1

3

ปริญญาตรี

วศก 113 Basic Automative Practice

1

ปริญญาตรี

วศก 436 Automative Engineering

3

ปริญญาตรี

วศก 494 Mechanical Engineering Project II

2

ภาระงานสอนหลักสูตรใหม วศช วศช วศ วศช วศช วศช วศช วศช วศช

200 210 290 281 300 301 330 490 491

ปฏิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทยพื้นฐาน เทอรโมฟลูอิดส กลศาสตรวิศวกรรม หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 ระบบควบคุมทางวิศวกรรมชีวการแพทย โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2

1(0-3) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0) 1(0-3) 1(0-3) 3(3-0) 1(0-3) 3(0-9)

ผูชวยศาสตราจารย นพ.ภาวิน พัวพรพงษ ………………………………………………………………………………………………….. 60

ป พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.

เดือน 2545 2542 2540

พ.ศ.

2536

ปริญญา อนุมัติบัตรเวชศาสตรครอบครัว แพทยสภา วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี ป. ชั้นสูงทางวิทยาศาสตรการแพทยคลินิก โรงพยาบาลรามาธิบดี แพทยศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาลรามาธิบดี

ผลงานตีพิมพ (วารสารหรืองานประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ)  P. Puapornpong. Outcome of pregnancy with first trimester threatened abortion after ultrasound detecting embryonic or fetal cardiac activity. Srinakharinwirot medical journal 2000;2:1-4.  P. Puapornpong, J Sukpool, P Khemthong. Knowledge, attitude and practice to screening cervical cancer. Srinakharinwirot medical journal 2001;3:1-6.  P. Puapornpong, J Sukpool. Antenatal and labor care problems in Ongkharak district ,Nakorn-nayok province. Srinakharinwirot medical journal 2002;2:1-7.  W. Wiriyasuttiwong, P. Puapornpong and W. Narkbuakaew “Designing the Pelvic Inflammatory Expert System” Proceedings of The 4th National Meeting on Biomedical Engineering, p143-150, Rama Garden Hotel, Bangkok, Thailand. August 25-26, 2005.

สมาชิกในสมาคมและชมรม - สมาชิกสามัญ และเหรัญญิกสมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย (Thai Biomedical Engineering Research Association :ThaiBME) ภาระงานสอนปจจุบัน

ระดับ

รายวิชาที่สอน

หนวยกิต

ปริญญาตรี

สน 401 สูติศาสตรนรีเวชวิทยา 1

4

ปริญญาตรี

สน 411 สูติศาสตรนรีเวชวิทยาปฏิบัติการทางคลินิก 1

5

ปริญญาตรี

สน 611 สูติศาสตรนรีเวชวิทยาปฏิบัติการทางคลินิก 2

8

ภาระงานสอนหลักสูตรใหม วศช 281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย 61

3(3-0)

วศช วศช วศช วศช วศช วศช

203 410 300 301 490 491

ชีววิทยาของเซลลและโมเลกุล ฟสิกสของการสรางภาพทางการแพทย ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2

3(3-0) 1(0-3) 1(0-3) 1(0-3) 3(0-9)

นพ. ชลวิช จันทรลลิต ……………………………………………………………………………………………………. 62

ประวัติการศึกษา - 2535 – 2541 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - 2541 – 2546 ศัลยศาสตรออรโธปดิกส คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน Trainning

- Visiting AO fellowship in orthopedic trauma Germany No V-Dec 2005

สมาชิกในสมาคมและราชวิทยาลัยฯ - สมาคมออรโธปดิกสแหงประเทศไทย (The Thai Orthopaedic Association) - ราชวิทยาลัยออรโธปดิกสแหงประเทศไทย (The Royal College of Orthopaedic Surgeon of Thailand) - กรรมการอนุสาขากีฬาเวชศาสตร 2006 - สมาชิกสามัญ และกรรมการกลาง สมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย (Thai Biomedical Engineering Research Association :ThaiBME) ผลงานวิจัย

- Value of Clinical Findings,Electrodiagnosis and Magnetic Resonance Imaging in the Diagnosis of Root Lesions in Traumatic Brachial Plexus Injuries J Med Assoc Thai. 2005 Jan;88(1):66-70.

งานวิจยั ที่กําลังดําเนินงานอยู ชื่อโครงการ

1. Mechanical testing in new technique for cancellous chip graft that Buttress with interference screw in avascular necrosis model 2. เรื่อง การศึกษากายวิภาคนอกขอในสะโพกเด็ก โดย อางอิงกับการทําการสองกลองขอสะโพก Infant Hip Anatomical study (Extra-articular), with special reference to the Hip Arthroscope 13.การตีพิมพ เผยแพร ชื่อโครงการ

ปฏิบัติงานใน สถานะ หัวหนา / ผูรวม โครงการ หัวหนา

หัวหนา

ชื่อวารสาร

63

แหลงทุน

การวิจยั คณะแพทยศาสตรและ ศูนยการแพทยฯ การวิจยั คณะแพทยศาสตรและ ศูนยการแพทย

ปที่

เลมที่

เดือน/ป

1.Poster presentation in title Mechanical testing in new technique for cancellous chip graft that Buttress with interference screw in avascular necrosis model 2.Poaster presentation in title Human Chondrocyte Culture for Autologous Chondrocyte Transplantation in Cartilage Injury

TOA at pataya 2006

3. hip arthroscopy

จุลสาร Arthroscopy

TOA at pataya 2006

Value of Clinical Findings,Electrodiagnosis and J Med Assoc Thai 88 Magnetic Resonance Imaging in the Diagnosis of Root Lesions in Traumatic Brachial Plexus Injuries . 4.

1

Jan 2005

รางวัลที่ไดรับ - Resident paper award in title “Value of Clinical Findings,Electrodiagnosis and Magnetic Resonance Imaging in the Diagnosis of Root Lesions in Traumatic Brachial Plexus Injuries J Med Assoc Thai. 2005 Jan;88(1):66-70.” Present at Pataya 2001. ภาระงานสอนปจจุบัน

ระดับ

รายวิชาที่สอน

หนวยกิต

ปริญญาตรี

ศธ 521 ศัลยศาสตรออรโธปดิกสปฏิบัติการทางคลินิก 1

3

ปริญญาตรี

ศธ 611 ศัลยศาสตรออรโธปดิกสปฏิบัติการทางคลินิก 2

3

ภาระงานสอนหลักสูตรใหม วศช 281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย 64

3(3-0)

วศช วศช วศช วศช วศช วศช วศช

300 301 490 491 415 416 431

ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 กลศาสตรของกลามเนื้อและกระดูก อวัยวะเทียม อุปกรณทางการแพทยและการตรวจวัดสภาพทางสรีระวิทยา

65

1(0-3) 1(0-3) 1(0-3) 3(0-9) 3(3-0) 3(3-0) 3(3-0)

Related Documents