Basel Ii All

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Basel Ii All as PDF for free.

More details

  • Words: 1,727
  • Pages: 11
Basel II The Bank for International Settlements (BIS) ธนาคารเพื่อการชำาระหนี้ระหว่างประเทศ ( Bank for International Settlements หรือ BIS ) มี วัตถุประสงค์เพื่อ เสริมสร้างการกำากับสถาบันการเงินให้มีความมั่นคง โดยการสร้างหลักเกณฑ์การกำากับให้มีความสอดคล้องทั้ง ด้านคุณภาพและปริมาณ เช่น - กำาหนดหลักเกณฑ์โดยการออกแนวทางการกำากับที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน - กำาหนดอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงขั้นตำ่า (BIS ratio) ในปี 1988 Basel Committee for Banking Supervision (BCBS) ภายใต้ธนาคารเพื่อการชำาระหนี้ระหว่าง ประเทศ (BIS) ได้ออกหลักเกณฑ์ The 1988 Capital Accord หรือ Basel I เพื่อใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการกำาหนด เงินกองทุนขั้นตำ่า สำา หรับธนาคารพาณิชย์ในกลุ่ม ประเทศสมาชิกของ BCBS ที่มีปริมาณธุรกรรมทางการเงิน ระหว่ า งประเทศในระดั บ ที่ มี นั ย (internationally active banks) โดยให้ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ภ ายในสิ้ น ปี 1992 โดย ประเทศสมาชิกใน BCBS ขณะนั้น ประกอบด้วย เบลเยี่ยม แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น ลักเซมเบอร์ก เนเธอร์แลนด์ สวีเดน สวิสเซอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (ปัจจุบันมีสมาชิกเพิ่มเติม คือ สเปน) Basel I มูลเหตุสำำคัญของกำรออกหลักเกณฑ์ Basel I 1. ความกังวลของธนาคารกลางของกลุ่มประเทศ G-10 ต่อแนวโน้มการลดลงของสัดส่วนเงินกองทุน ต่อสินทรัพย์ของธนาคารพาณิชย์ระหว่างประเทศขนาดใหญ่ในช่วงคริสตทศวรรษที่ 1980 ซึง่ เป็นช่วงเดียวกันกับ ที่ความเสี่ยงของการทำา ธุรกรรมทางการเงินระหว่างประเทศเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะความเสี่ยงของการ ปล่อยสินเชื่อให้กับประเทศกำาลังพัฒนา 2. การที่เกณฑ์การกำา กับดูแลเงินกองทุนที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศ ทำา ให้เกิดความได้เปรียบเสีย เปรียบในด้านต้นทุนทางการเงินของธนาคาร ซึ่งนำาไปสู่การแข่งขันบนพื้นฐานที่ไม่เท่าเทียมกัน จึงควรให้มีการ จัดทำามาตรฐานการกำากับ ดูแลเงินกองทุนที่เป็นมาตรฐานเดียวกันในกลุ่มประเทศสมาชิก BCBS วัตถุประสงค์ในกำรกำำหนดหลักเกณฑ์กำรดำำรงเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง  เพิ่มความเข้มแข็งและความมั่นคงให้สถาบันการเงินและระบบสถาบันการเงิน  เพิ่มคุณภาพสถาบันการเงินในระดับนานาประเทศ  เสริมสร้างมาตรฐานในการประเมินความมั่นคงของสถาบันการเงินทั่วโลก หลักเกณฑ์ Basel I ธนาคารพาณิชย์ที่มีปริมาณธุรกรรมทางการเงินระหว่างประเทศในระดับที่มีนัย ต้องดำารงอัตราส่วนเงิน กองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (BIS ratio) หรือสัดส่วนความเพียงพอของเงินกองทุน (Capital Adequacy Ratio) ขั้นตำ่า ที่ร้อยละ 8 โดยที่อย่า งน้อยครึ่งหนึ่งของเงินกองทุ นทั้งหมดต้องอยู่ใ นรูปของเงิ น กองทุ น ชั้ น ที่ 1 (ต้องดำา รง อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงขั้นตำ่าที่ร้อยละ 8 หมายถึง ทุกจำานวนสินทรัพย์เสี่ยงที่เพิ่มขึ้น 100 หน่วย

เงินตรา จะต้องมีเงินกองทุนเพิ่มขึ้นไม่ตำ่า กว่าร้อยละ 8 หน่วยเงินตรา) โดยหลังจากปี 1988 BCBS ได้ทำา การ ปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์ Basel I หลายครั้ง และครั้งสำาคัญที่สุดคือในปี 1996 (The 1996 Amendment) มีการเพิ่ม ข้อกำาหนดให้ธนาคารพาณิชย์ต้องดำารงเงินกองทุนเพื่อรองรับความเสี่ยงด้านตลาด (market risk) สำาหรับฐานะที่ อยู่ในบัญชีเพื่อการค้า เพิ่มเติมจากเดิมที่ต้องดำารงเงินกองทุนเพื่อรองรับความเสี่ยงด้านเครดิต (credit risk) เท่านั้น แม้ว่าเป้าหมายของ Basel I จะเป็นเฉพาะธนาคารพาณิชย์ในกลุ่มประเทศ BCBS ที่มีปริมาณธุรกรรม ทางการเงินระหว่างประเทศในระดับที่มีนัยเท่านั้น แต่เมื่อเวลาผ่านไป Basel I ได้กลายเป็นหลักเกณฑ์การกำากับ ดูแลเงินกองทุนของสถาบันการเงินที่ถูกนำามาปฏิบัติใช้อย่างกว้างขวางทั่วโลก ในส่วนของประเทศไทยนั้น ได้เริ่มบังคับใช้หลักเกณฑ์ Basel I ในปี 2536 แทนการกำาหนดสัดส่วนเงิน กองทุนต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้นของธนาคารพาณิชย์จดทะเบียนในประเทศ ที่ร้อยละ 8 ซึ่งบังคับใช้มาตั้งแต่ปี 2526 โดย ธปท. กำา หนดสัดส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงของธนาคารพาณิชย์ไทยไว้ที่ร้อยละ 7 ก่อนที่จะมีการ ปรับขึ้นเป็นขั้นบันไดจนถึงร้อยละ 8.5 ในเดือนกันยายนปี 2539 ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่ใช้ต่อเนื่องกันมาจนถึงปัจจุบัน( แต่ในส่วนของการดำารงเงินกองทุนเพื่อรองรับความเสี่ยงด้านตลาด ธปท . ไม่ได้บังคับใช้จนกระทั่งเดือนมิถุนายน 2548 และเฉพาะกับสถาบันการเงินที่มีปริมาณธุรกรรมในบัญชีเพื่อการค้าทีม่ ีนัยสำาคัญเท่านั้น ) เกณฑ์ในกำรดำำรงเงินกองทุนตำมหลัก Basel I 1. เงินกองทุน ปัจจุบันธนาคารพาณิชย์ได้ใช้เกณฑ์ในการดำารงเงินกองทุนตามหลัก Basel I ซึ่งกำาหนด ให้เงินกองทุน แบ่งเป็น 2 ขั้น คือ เงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2 โดยเงินกองทุนแต่ละประเภทมีส่วนประกอบดังนี้ คือ เงินกองทุนขั้นที่ 1 ประกอบด้วย - ทุนชำาระแล้ว - ส่วนลำ้ามูลค่าหุ้น - ใบสำาคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น - ทุนสำารองตามกฎหมาย - เงินสำารองที่จัดสรรจากกำาไรสุทธิ - กำาไรสุทธิคงเหลือหลังการจัดสรร เงินกองทุนขั้นที่ 2 ประกอบด้วย - มูลค่าเพิ่มจากการตีราคาที่ดิน (70% สำาหรับส่วนที่เพิ่ม) - มูลค่าเพิ่มจากการตีราคาสิ่งปลูกสร้าง (50% สำาหรับส่วนที่เพิ่ม) - ตราสารที่มีลักษณะคล้ายทุน (Hybrid Debt Capital) - ตราสารหนี้ด้อยสิทธิระยะยาว (Subordinate Term Debt) - เงินสำารองสำาหรับจัดชั้น (ไม่เกิน 1.25% ของสินทรัพย์เสี่ยง) 2. สินทรัพย์เสี่ยง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สินทรัพย์ที่อยู่ในงบดุล (On Balance Sheet) และสินทรัพย์ที่อยู่ นอกงบดุล (Off Balance Sheet) หรือภาระผูกพันต่างๆ โดยธนาคารแห่งประเทศไทยได้กำาหนดนำ้าหนักความเสี่ยง ไว้ 4 กลุ่ม คือ - นำ้าหนักความเสี่ยง 0.0 คือ สินทรัพย์ที่ไม่มีความเสี่ยง เช่น เงินสด เงินฝากใน ธปท.

นำ้าหนักความเสี่ยง 0.2 คือ สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงน้อย เช่น เงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่ออกโดยธนาคาร พาณิชย์ - นำ้าหนักความเสี่ยง 0.5 คือ สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงปานกลาง เช่น เงินให้สินเชื่อเพื่อจัดหาที่อยู่อาศัย - นำ้าหนักความเสี่ยง 1.0 คือ สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงมาก เช่น ที่ดิน อาคาร 3. ค่ำแปลงสภำพ (Credit Conversion Factor) ค่าแปลงสภาพของภาระผูกพัน หรือสินทรัพย์ที่อยู่นอกงบดุลแต่ละประเภท หมายถึง โอกาสที่รายการ เหล่านี้จะแปลงสภาพเป็นสินทรัพย์ได้ โดยธนาคารแห่งประเทศไทยได้กำาหนดค่าแปลงสภาพทั่วไปไว้ 4 กลุ่ม คือ - ค่าแปลงสภาพ 0 คือ ภาระผูกพันหรือสินทรัพย์ไม่มีโอกาสแปลงสภาพได้ - ค่าแปลงสภาพ 0.2 คือ ภาระผูกพันหรือสินทรัพย์มีโอกาสแปลงสภาพได้น้อย - ค่าแปลงสภาพ 0.5 คือ ภาระผูกพันหรือสินทรัพย์มีโอกาสแปลงสภาพได้ปานกลาง - ค่าแปลงสภาพ 1.0 คือ ภาระผูกพันหรือสินทรัพย์มีโอกาสแปลงสภาพได้ หลักเกณฑ์และวิธีกำรคำำนวณอัตรำส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง 1. คูณสินทรัพย์แต่ละรายการด้วยนำ้าหนักความเสี่ยงตามที่กำาหนดไว้ สินทรัพย์ในงบดุล X นำำำหนักควำมเสี่ยง 2. คูณภาระผูกพันแต่ละรายการด้วยค่าแปลงสภาพ (Credit Conversion Factor) ตามที่กำาหนดไว้ แล้วนำา ค่าที่ได้คูณกับนำ้าหนักความเสี่ยงของสินทรัพย์แต่ละประเภทตามที่กำาหนดไว้อีกครั้งหนึ่ง รำยงำนนอกงบดุล x ค่ำแปลงสภำพ x นำำำหนักควำมเสี่ยง 3. รวมผลคูณของสินทรัพย์ตาม 1. และภาระผูกพันตาม 2. ทุกรายการ และนำา เงินกองทุนมาคำา นวณ อัตราส่วนกับผลลัพธ์ที่ได้ โดยเงินกองทุนต้องเป็นอัตราส่วนกับผลลัพธ์ดังกล่าวไม่ตำ่ากว่าที่ทางการกำาหนด -

จุดอ่อนของ Basel I แม้ว่า Basel I จะช่วยหยุดแนวโน้มของการลดลงของสัดส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงที่เกิดขึ้นทั่ว โลกในช่วงก่อนปี 2531 ได้เป็นผลสำาเร็จ แต่ Basel I มีข้อบกพร่องที่สำาคัญ คือ เกณฑ์ความเสี่ยงด้านเครดิตที่หยาบ เกินไปและไม่ได้สะท้อนความเสี่ยงที่แท้จริง ตัวอย่างเช่น Basel I แบ่งกลุ่มประเทศออกเป็นเพียงสองกลุ่ม คือ กลุ่มประเทศ OECD และกลุ่มประเทศที่ไม่ใช่ OECD และกำาหนดให้ทุกประเทศในกลุ่มเดียวกันมีความเสี่ยงของ ประเทศเท่ากัน ส่วนสินเชื่อเอกชนถือว่ามีความเสี่ยงเท่ากันหมด ทำาให้สินเชื่อปกติและ NPL มีความเสี่ยงเท่ากันเป็นต้น การขาดหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนในการโอนความเสี่ยงออกจากบัญชีสถาบันการเงินเช่น การทำา Securitisation และเงินกองทุนยังครอบคลุมเพียงความเสี่ยงด้านสินเชื่อและด้านการตลาดเท่านั้น จุดอ่อน ดังกล่าวทำาให้ธนาคารพาณิชย์เลือกดำารงเฉพาะสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงตำ่าเพื่อที่จะดำารงเงินกองทุนไม่สูงเกินความ จำาเป็น ทำาให้โอกาสที่สินทรัพย์มีคุณภาพแต่มีความเสี่ยงสูงถูกตัดออกจากบัญชี นอกจากนี้ นักเศรษฐศาสตร์หลายท่านมีความเห็นว่าการที่เกณฑ์ Basel I กำาหนดนำ้าหนักของความ

เสี่ยงที่แตกต่างกันค่อนข้างมากระหว่างลูกหนี้สถาบันการเงินระยะสั้นและลูกหนี้สถาบันการเงินระยะยาวใน ประเทศนอกกลุ่ม OECD เป็นปัจจัยหนึ่งที่นำาไปสู่วิกฤตเศรษฐกิจเอเชียในปี 2540 ทั้งนี้ เพื่อให้การกำา กับดูแลเงินกองทุนของสถาบันการเงินมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในเดือนมิถุนายน 2542 BCBS ได้เสนอกรอบการกำากับดูแลเงินกองทุนใหม่เพื่อทดแทน Basel I และหลังจากที่ได้ผ่านการปรับปรุง แก้ไขหลายรอบ BCBS ได้ออกร่างหลักเกณฑ์ฉบับสมบูรณ์ในเดือนมิถุนายน 2547 ภายใต้ชื่อว่า The New Basel Capital Accord หรือ Basel II โดยให้มีกำาหนดบังคับใช้ในกลุ่มประเทศสมาชิก BCBS ภายในสิ้นปี 2549 ลำำดับกำรพัฒนำหลักเกณฑ์กำรกำำกับเงินกองทุนของ BIS -

1988 Basel I (Current Accord) 1996 ปรับปรุง Basel I โดยเพิม่ เกณฑ์ Market Risk 1998 เริม่ พัฒนา Basel II 1999 Basel II ร่างที่ 1 (Consultative Paper : CP1) 2001 Basel II ร่างที่ 2 (CP2) เม.ย.2003 Basel II ร่างที่ 3 (CP3) มิ.ย. 2004 ออก Basel II ฉบับสมบูรณ์ ภายในสิ้นปี 2006 (และสิ้นปี 2007 สำาหรับ Advanced Approaches) การนำา Basel II มาใช้ในประเทศ G10 (ใช้กับ Internationally Active Banks)

Basel II ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จะนำาหลักเกณฑ์การกำากับดูแลเงินกองทุนของสถาบันการเงิน (สง.) ตาม Basel II มาบังคับใช้กับธนาคารพาณิชย์ทุกแห่ง เพื่อให้หลักเกณฑ์การกำากับดูแลเงินกองทุนสามารถสะท้อน ความเสี่ยงได้ดียิ่งขึ้น สอดคล้องกับภาวะตลาดการเงินที่มีความซับซ้อนขึ้น และครอบคลุมประเภทความเสี่ยงที่ สำาคัญจากการดำาเนินธุรกิจของ สง. นอกจากนี้ เพื่อเน้นถึงบทบาทของ ธปท. ในการดูแลให้ สง. มีระบบบริหาร ความเสี่ยงและเงินกองทุนที่เหมาะสมกับระดับความเสี่ยง ขนาดและลักษณะธุรกรรมของแต่ละ สง. รวมถึงการให้ ความสำาคัญต่อบทบาทของกลไกตลาด โดยกำาหนดกรอบการเปิดเผยข้อมูลของ สง. เพื่อให้ผู้มีบทบาทในตลาด สามารถใช้ข้อมูลดังกล่าวในการประเมิน สง. ได้ 1. หลักกำรของ Basel II Basel II คือ หลักเกณฑ์ในการกำากับดูแลเงินกองทุนของสถาบันการเงิน ที่ BIS ได้ปรับปรุงขึ้นจากหลัก ปฏิ บัติเ ดิม ที่ใ ช้ ม าตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2531 ซึ่ งจะนำา มาใช้ กับ สถาบั น การเงิน ในประเทศสมาชิ ก กว่ า 130 ประเทศ วัตถุประสงค์ที่ BIS ปรับปรุงหลักเกณฑ์ขึ้นใหม่ เนื่องจากต้องการสร้างเสถียรภาพให้ระบบสถาบันการเงินทั่ว โลก โดยกำาหนดให้ สง. ดำารงเงินกองทุนให้เหมาะสมกับความเสี่ยง มีระเบียบปฏิบัติ ระบบควบคุมภายในและ การเปิดเผยข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และได้มาตรฐาน ทั้งนี้ ได้ริเริม่ การปรับปรุงมาตั้งแต่ปี พ .ศ.2547 โดย มีการประชุมระหว่างธนาคารกลางของประเทศสมาชิกเพื่อหาข้อสรุปหลายครั้ง และเมื่อสิ้นเดือนมิ.ย. 2548 ได้มี การลงนามให้ความเห็นชอบต่อหลักเกณฑ์ Basel II จากผู้ว่าการธนาคารกลางของกลุ่มประเทศ G-10 ซึ่งคาดว่า

กลุ่ม G-10 จะเริ่มปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ใหม่ในปี 2549 สำาหรับประเทศอื่นๆ นั้น BIS ได้ให้แต่ละประเทศพิจารณา ตามความเหมาะสมและความพร้อม ในส่วนของประเทศไทย ธปท. กำาหนดจะนำา Basel II มาใช้อย่างเต็มรูปแบบ ในสิ้ นปี 2551 (กลุ่ ม G10 หรือประเทศผู้ นำา เข้ า สิ น ค้ า เกษตรรายใหญ่ ข องโลก 10 ประเทศ อั น ได้ แ ก่ ไ ต้ หวั น บัลแกเรีย อิสราเอล ไอซ์แลนด์ ญี่ปุ่น มอริเซียส นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ เกาหลีใต้ และลิกเคนสไตน์) หลักเกณฑ์การกำากับดูแลเงินกองทุนตาม Basel II ประกอบด้วย หลักการที่ 1 การดำารงเงินกองทุนขั้นตำ่า (Pillar 1: Miinimum Capital Requirement) หลักการที่ 2 การกำากับดูแลโดยทางการ (Pillar 2 : Supervisory Review Process) หลักการที่ 3 การใช้กลไกตลาดในการกำากับดูแล (Pillar 3 : Market Dicipline) หลักการที่ 1 การดำารงเงินกองทุนขั้นตำ่า Basel II กำาหนดให้ สง. จะต้องดำารงเงินกองทุนขั้นตำ่าเพื่อ รองรับความเสี่ยง 3 ประเภทได้แก่ ความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk) ความเสี่ยงด้านตลาด (Market Risk) และ ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operation Risk) ซึง่ ในการสัมมนานี้ได้เน้นเฉพาะความเสี่ยงด้านเครดิตและด้าน ปฏิบัติการ 1. ควำมเสี่ยงด้ำนสินเชื่อ (Credit Risk) ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ หมายถึง โอกาสหรือความน่าจะเป็นที่คู่สัญญาหรือผู้กู้ยืมไม่สามารถปฏิบัติตาม เงื่อนไขและข้อตกลงในสัญญา หรือคุณภาพสินทรัพย์เสื่อมลง ซึ่งมีผลทำาให้ธนาคารไม่ได้รับชำาระหนี้คืนเต็มจำา นวนตามสัญญา และอาจมีผลกระทบต่อเงินกองทุนของธนาคาร • ความเสี่ ย งด้ า นเครดิ ต สามารถ วั ด ได้ ใ น 4 มิ ติ ได้ แ ก่ ค่ า ความน่ า จะเป็ น ในการผิ ด นั ด ชำา ระ หนี้ (Probability of Default) ค่ า ความสู ญเสี ยที่เ กิด จากการผิ ดนั ดชำา ระหนี้ (Loss Given Default) ยอดหนี้คงค้างที่ผิดนัดชำา ระ (Expected exposure on Default) และระยะเวลาครบกำา หนดของหนี้ (Impact onMaturity) ซึ่งวิธีประเมินความเสี่ยงด้านเครดิต มี 2 วิธี ได้แก่ Standardised Approach : SA ซึ่งหน่วยงานกำากับดูแลเป็นผู้กำา หนดนำ้า หนักความเสี่ยงของสินทรัพย์แต่ละรายการ แยกตาม ประเภทและคุณภาพของสินทรัพย์ตามการจัดอันดับของสถาบันจัดอันดับเครดิตภายนอก และ Internal Rating-Based Approach : IRB เป็นการจัดอันดับความเสี่ยงภายใน สง. เอง ซึ่งยังแบ่งย่อย ได้เ ป็น Foundation IRB และ Advanced IRB ซึ่ง สง. จะใช้ วิ ธี IRB ได้จ ะต้องผ่ า นเกณฑ์การวั ด ความเสี่ยงมาตรฐานขั้นตำ่าที่หน่วยงานกำากับดูแลเป็นผู้กำาหนด • ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการประกอบด้วย ความเสี่ยงอันเกิดจากบุคคล กระบวนการ ระบบ และ ปัจจัย ภายนอก สง. จะต้องสร้างระบบ เครื่องมือ และกระบวนการในการวัดระดับความเสี่ยง ควบคุม ความเสี่ยง และลดระดับความเสี่ยง ตลอดจนจะต้องมีการรายงานความเสียหายอย่างโปร่งใส Basel II กำา หนดระดับของการป้องกั นความเสี่ ย งเป็ น 3 ระดับ (Three lines of Defense) ได้แ ก่ ระดั บ หน่วยธุรกิจ(Business Unit) ระดับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Operation Risk Committee) และระดับหน่วยควบคุมภายใน (Internal Audit) ซึ่ง สง. จะต้องกำาหนดอำานาจหน้าที่ความรับผิด ชอบของแต่ละระดับไว้ให้ชัดเจน ซึง่ ในการเลือกวิธีประเมินความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ต้องคำานึงถึง องค์ประกอบ 6 ด้านดังนี้วัตถุประสงค์ของผู้บริหาร กรอบนโยบายในการบริหารจัดการความเสี่ยง ความสามารถของบุคลากรความเพียงพอของข้อมูล ระบบงานสนับสนุน และความร่วมมือภายใน หน่วยงาน 2. ควำมเสี่ยงด้ำนตลำด (Market Risk)

ความเสี่ยงด้านตลาด หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ และราคาตราสารที่มีผลกระทบในทางลบต่อรายได้ และเงินกองทุนของธนาคาร โดยความ เสี่ยงด้านตลาดสามารถแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน และ ความเสี่ยงจากราคา ธนาคารมีการจัดทำานโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด และนโยบายการบริหารฐานะในบัญชีเพื่อ การค้า (Trading Book Policy) ที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดของธนาคารและ เตรียมความพร้อมในการจัดทำารายงานและการประเมินเงินกองทุนที่ต้องดำารงสำาหรับรองรับความเสี่ยงด้านตลาด ตามนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย โดยธนาคารได้มีการจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ ปัจจัยตลาดอย่างเหมาะสม ดังนี้ 1) ควำมเสี่ยงจำกอัตรำดอกเบีำย (Interest Rate Risk) ทีม ่ ีตอ่ Trading Book ของธนำคำร เป็นความเสี่ยงที่รายได้หรือเงินกองทุนได้รับผลกระทบในทางลบจากการเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย ธนาคารได้จัดทำา รายงานแสดงความเสี่ ยงด้า นตลาด (Daily Trading Risk Report) โดยใช้ Value at Risk (VaR) เป็นเครื่องมือประเมินความเสี่ยง ซึ่งค่าความเสี่ยงจากการเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ยมีค่าค่อนข้างน้อย เมื่อ เปรียบเทียบกับขนาดของฐานะ (Position) และเงินกองทุนของธนาคาร โดยค่าความเสี่ยงดังกล่าวอยู่ภายใต้เพดาน ที่กำาหนด และอยู่ในระดับที่ธนาคารยอมรับได้ 2) ควำมเสี่ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ (Foreign Exchange Risk) เป็นความเสี่ยงที่รายได้หรือเงินกองทุนได้รับผลกระทบในทางลบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลก เปลี่ยนจากการทำาธุรกรรมที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ หรือจากการมีสินทรัพย์หรือหนี้สินในสกุลเงินตราต่าง ประเทศ ธนาคารควบคุมธุรกรรมการซื้อขายแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศประจำาวันทั้งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ รายการซื้อขายเงินทันที (Spot) รายการซื้อขายเงินล่วงหน้า (Forward) และรายการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Swap) โดยกำาหนดให้ทำาธุรกรรมภายใต้เพดานที่กำาหนด ซึง่ เพดานดังกล่าวผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งธนาคารได้จัดทำารายงานแสดงความเสี่ยงด้านตลาดโดยใช้ VaR เป็นเครื่องมือประเมิน ความเสี่ยง ซึ่งค่าความเสี่ยงจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนมีค่าค่อนข้างน้อย เมื่อเปรียบเทียบกับขนาด ของฐานะ (Position) เงินลงทุนของธนาคาร และเงินกองทุนของธนาคาร ซึ่งค่าความเสี่ยงดังกล่าวอยู่ภายใต้เพดาน และอยู่ในระดับที่ธนาคารยอมรับได้ นอกจากนี้ ธนาคารยังได้ทำาการประเมินมูลค่าตามราคาตลาด (Mark to Market) ของธุรกรรมเงินตราต่าง ประเทศทุกสิ้นวันทำาการ เพื่อประเมินผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่จะส่ง ผลกระทบต่อรายได้และเงินกองทุนของธนาคาร 3) ควำมเสี่ยงจำกรำคำ (Price Risk) เป็นความเสี่ยงที่รายได้หรือเงินกองทุนได้รับผลกระทบในทางลบเนื่องจากการเคลื่อนไหวของราคา ตราสารทุน โดยธนาคารได้จัดทำารายงานแสดงความเสี่ยงด้านตลาด โดยใช้ VaR เป็นเครื่องประเมินความเสี่ยงซึ่ง ค่า ความเสี่ ยงจากการเคลื่อนไหวของราคาตราสารทุนมีค่ า ค่ อนข้ า งน้ อยเมื่ อเปรียบเทียบกับขนาดของฐานะ (Position) และเงินกองทุนของธนาคาร ซึ่งค่าความเสี่ ยงดังกล่า วอยู่ภายใต้เ พดาน และอยู่ใ นระดับที่ธ นาคาร ยอมรับได้ มำตรกำรบริหำรควำมเสี่ยงด้ำนตลำด

ธนาคารได้มีมาตรการในการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดสำาหรับธุรกรรมทีจ่ ัดอยู่ในบัญชีเพื่อการค้าโดย ให้ความสำาคัญกับ 1.การจั ดทำา นโยบายบริห ารความเสี่ย งด้ านตลาด และนโยบายการบริ ห ารฐานะในบั ญ ชี เ พื่ อ การค้ า (Trading Book Policy) เพื่อเป็นแนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดสำา หรับธุรกรรมที่จัดอยู่ใน บัญชีเพื่อการค้าและสนับสนุนกลยุทธ์ทางธุรกิจของธนาคารโดยคำานึงถึงความเสี่ยงในระดับที่ธนาคาร ยอมรั บ ได้ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แนวนโยบายการกำา กั บ ดู แ ลความเสี่ ย งด้ า นตลาดของธนาคารแห่ ง ประเทศไทย และแนวทางในการดำารงเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงด้านตลาด อีกทั้งรองรับการบริหาร ความเสี่ยงแนวใหม่ตาม Basel II 2.การจัดการและการควบคุมความเสี่ยงด้านตลาด ธนาคารมีระบบงานและเครื่องมือในการวิเ คราะห์ ความเสี่ยงด้านตลาด โดยใช้ VaR เปรียบเทียบกับเพดานที่ได้รับอนุมัติ เพื่อควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ใน ระดับที่ธนาคารยอมรับได้ และจัดทำารายงานแสดงความเสี่ยงด้านตลาดเสนอผู้บริหารและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องทุกสิ้นวันทำาการ 3.การทดสอบภาวะวิ ก ฤต (Stress Tests) ตามแนวทางที่ธนาคารแห่ง ประเทศไทยกำา หนด เพื่ อแสดง ความสูญเสียในกรณีที่เผชิญกับภาวะวิกฤต และกำาหนดสัญญาณเตือนภัย สำาหรับเตรียมการจัดทำาแผน เพื่อรองรับการดำาเนินธุรกิจต่อเนื่องในภาวะฉุกเฉิน (Business Continuity Plan : BCP) เพื่อบรรเทาหรือ รองรับความเสียหายในกรณีที่เกิดภาวะวิกฤตในอนาคต 4.การสื่ อสารให้ค ณะกรรมการ ผู้ บ ริห าร และพนั ก งานของธนาคารที่เ กี่ ยวข้ อ ง มี ค วามเข้ า ใจและ ตระหนักในเรื่องความเสี่ยงด้านตลาด และเห็นความสำา คัญในการป้องกันความเสี่ยงตามแนวทางที่ กำาหนดไว้ในนโยบายบริหารความเสี่ยงด้านตลาดซึ่งได้ผ่านการเห็นชอบและอนุมัติจากคณะกรรมการ ธนาคาร 5.การพัฒนาพนักงานโดยการฝึกอบรมในเรื่องการบริหารความเสี่ ยงด้า นตลาด และหัวข้ ออื่ นๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง ให้ มี ค วามรู้ ค วามสามารถเฉพาะด้ า นในงานบริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพและ ประสิทธิภาพในการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดมากยิ่งขึ้น 2. กำรปฏิบตั ิตำมเกณฑ์ของ Basel II และผลกระทบที่คำดว่ำจะเกิดขึำน • Basel II จะช่วยพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการความเสี่ยงของ สถาบันการเงิน โดย สถาบันการเงิน จะต้องพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยง วิธีการประเมินความเสี่ยง สร้างระบบ ฐานข้อมูลลูกค้า และพัฒนาทักษะความรู้ของบุคลากร ทำาให้ สถาบันการเงิน มีความแข็งแกร่งขึ้น ส่งผลต่อเสถียรภาพของระบบธนาคารทั้งในระดับประเทศและในระดับภูมิภาค โดยใช้ระดับของ การดำารงเงินกองทุนขั้นตำ่าเป็นเครื่องมือที่จะนำาไปสู่เป้าหมาย • ระดับของการดำารงเงินกองทุนจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ขึ้นอยู่กับประเภทและคุณภาพของสินทรัพย์ที่ ถือครอง รวมถึงวิธีการที่จะใช้ประเมินความเสี่ยง ในปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ทางการเงินใหม่ๆ (Hybrid Capital Instrument) เกิดขึ้นมาก ซึ่งมักจะมีระดับความเสี่ยงสูงกว่าสินทรัพย์ทางการเงินทั่วไป จึง ต้องมีหลักเกณฑ์ในการประเมินผลิตภัณฑ์ดังกล่าวอย่างรัดกุม สถาบันการเงินที่มีสินทรัพย์ที่มี ระดับความเสี่ยงตำ่าเป็นส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะใช้วิธีประเมินในระดับ advanced (IRB) เพราะจะ สามารถลดระดับของเงินกองทุนขั้นตำ่าลงได้ ในขณะที่ 3สถาบันการเงิน ที่มีสินทรัพย์ส่วนใหญ่เป็น

สินทรัพย์ที่มีระดับความเสี่ยงสูงมักจะใช้วิธีประเมินแบบมาตรฐาน (SA)นอกจากนี้การกระจายกา รถือครองสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่างๆ กันให้เหมาะสมจะช่วยลดระดับการดำารงเงินกองทุนขั้นตำ่า ได้เช่นกัน • ธนาคารขนาดใหญ่ซึ่งมีความสามารถในการบริหารความเสี่ยงได้ดีกว่า จะมีความได้เปรียบในการ แข่งขันสามารถเสนออัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ตำ่ากว่าเพื่อจูงใจลูกค้ารายใหญ่ จึงเปิดโอกาสให้ธนาคาร ขนาดเล็กเข้ามาให้บริการแก่ธุรกิจขนาดเล็กได้มากขึ้น • Basel II เน้นให้ สถาบัน การเงิน มีการประเมิน ความเสี่ย งอย่า งต่ อเนื่อ ง เพื่อจะได้รู้ สถานะของ ตนเองและบริหารด้วยความระมัดระวัง อีกทั้งเน้นให้มีการพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรใน องค์กรอย่างสมำ่าเสมอ • การออกแบบโครงสร้างหน่วยงานบริหารความเสี่ยงจะขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะขององค์กรและ บุคลากรในองค์กร ซึ่งคณะกรรมการของ สถาบันการเงิน จะเป็นผู้ กำา หนดกรอบนโยบาย วาง กลยุ ท ธ์ พั ฒ นาระบบ และพิ จ ารณาว่ า โครงสร้ า งของการบริ ห ารความเสี่ ย งควรมี ลั ก ษณะ Centralised หรือ Decentralised แนวนโยบายการบริหารความเสี่ยงทางด้านเครดิตและด้านปฏิบัติ การที่กำาหนดขึ้นอย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยจะช่วย สร้างความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและผลกำาไรจากลูกค้าแต่ละราย ช่วยกำาหนดทิศทางการบริหาร ทำาให้การตัดสินใจของผู้บริหารเป็นไปอย่างเที่ยงตรงและช่วยลดค่า ใช้จ่ายด้านปฏิบัติการ นอกจาก นี้ยังสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของตลาดและความต้องการของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว • หน่วยควบคุมภายในขององค์กรจะต้องมีความเข้าใจในกระบวนการบริหารความเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และการดำาเนินธุรกิจ ช่วยสร้างความมั่นใจในการจัดการ ความเสี่ยงให้กับฝ่ายบริหาร และสามารถเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมในการวิเคราะห์และประเมิน ความเสี่ยง • สถาบันจัดอันดับ บริษัทที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้ผลิต software และบริษัทตรวจสอบบัญชีภายนอก จะเข้ามามีบทบาทมากขึ้น ในระดับองค์กรงานด้านบริหารความเสี่ยงรวมถึงงานด้านการบริหาร จัดการจะมีความสำาคัญมากขึ้นเทียบเท่ากับงานด้านการตลาด 3. ควำมท้ำทำยและปัญหำอุปสรรค • อุปสรรคที่นานาประเทศเห็นร่วมกัน คือ ต้นทุนการดำาเนินการที่สูงขึ้น ยังไม่มีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่อ ง (Time Series) ที่จ ะใช้ ประเมิ นความเสี่ ยงของลู ก ค้ า ระบบ IT และขี ดความสามารถของ บุคลากรใน สถาบันการเงิน ยังมีจำากัด • ในการปฏิบัติตาม Basel II จะมีต้นทุนในการดำา เนินงานที่เ พิ่มขึ้น โดยธนาคารที่ดำา เนินธุรกิจใน ประเทศเป็นส่ว นใหญ่ (Local Bank) จะต้องลงทุนประมาณร้อ ยละ 7-10 ของงบประมาณด้ า น เทคโนโลยี ส ารสนเทศในช่ ว ง4-6 ปี ในขณะที่ธ นาคารในระดั บภู มิ ภ าค (Regional Bank) และ ธนาคารระหว่างประเทศ (Global Bank)จะต้องลงทุนประมาณร้อยละ 6-8 และร้อยละ 4.5 - 6.5 ใน 3-4 ปี ตามลำาดับ • Basel II ต้องการความมีมาตรฐานในการการวัดระดับความเสี่ยง ซึ่งสถาบั นจัดอันดับเครดิตใน ประเทศและระดับนานาชาติยังมีเกณฑ์ในการจัดอันดับที่แตกต่างกัน

ในปัจจุบันคณะกรรมการส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจไม่เพียงพอในเรื่องความเสี่ยงขององค์กร และ ไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำากับดูแลการทำางานของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่มากนัก Basel II จะ ทำาให้ผู้บริหารองค์กรมีส่วนร่วมในการกำากับดูแลอย่างใกล้ชิดมากขึ้น ข้อสังเกตและ Implication สำำหรับประเทศไทย เมื่อต้นปี พ.ศ. 2548 ธปท. ได้ส่งร่างหลักเกณฑ์การดำารงเงินกองทุนขั้นตำ่าสำาหรับความเสี่ยงด้านเครดิต และความเสี่ยงด้านปฏิบัติการให้ สถาบันการเงิน พิจารณาให้ความเห็น เพื่อจะได้นำาข้อคิดเห็นจาก สถาบันการ เงิน มาปรับปรุงร่า งหลั กเกณฑ์ฯ และในเดือน มิ.ย. 2549 กำา หนดให้ สถาบันการเงิน ยื่นแผนการปฏิ บัติงาน ภายในสิ้นปี พ.ศ. 2550 สถาบันการเงิน ทุกแห่งต้องทดลองคำานวณเงินกองทุนตามหลักเกณฑ์ Basel II พร้อมกับ หลักเกณฑ์เดิมควบคู่กัน จากนั้นภายในปี พ.ศ. 2551 ให้ สถาบันการเงิน ดำาเนินงานตาม Basel II อย่างเต็มรูปแบบ ทั้งนี้ ธปท. ได้ออกร่างหลักเกณฑ์การกำากับดูแลเงินกองทุนตาม Basel II หลักการที่ 1 เรื่อง หลักเกณฑ์ การดำา รงเงินกองทุนขั้นตำ่า แล้ว เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2549 (ที่ ธปท.ฝนส.(22) ว.421/2549 ลว. 27 มีนาคม2549) และมีกำาหนดให้สถาบันการเงินเริ่มดำารงเงินกองทุนตามBASEL II ในสิ้นปี 2551 สำาหรับสถาบันการเงินที่ใช้วิธี SA และวิธี FIRB และตั้งแต่สิ้นปี 2552 สำาหรับสถาบันการเงิน ที่ใช้วิธี AIRB มาตรฐานเงินกองทุนใหม่จะช่วยสร้างเสถียรภาพให้ระบบการเงินของไทย และจะกระตุ้นให้เกิดการ แข่งขันระหว่าง สถาบันการเงิน มากขึ้น เช่น การแข่งขันด้านราคา โดย สถาบันการเงิน อาจเสนออัตราดอกเบี้ยที่ ตำ่ากว่าให้กับลูกค้ารายใหญ่ที่มีอันดับเครดิตดี เพื่อเพิ่มคุณภาพของ portfolio นอกจากนี้การกำาหนดให้ สถาบันการ เงิน จะต้องประเมินความเสี่ยงด้วยความระมัดระวังจะช่วยลดการปล่อยกู้ที่ไม่สมเหตุผลในช่วงที่เศรษฐกิจขยาย ตัวลงได้ ในการปฏิบัติตาม Basel II จะต้องมีการเตรียมความพร้อมในหลายด้าน ในส่วนของ สถาบันการเงินจะ ต้องพัฒนาระบบงาน จัดโครงสร้างองค์กรใหม่ พัฒนาเครื่องมือในการวิเคราะห์ความเสี่ยง รวมถึงพัฒนาบุคลากร ให้มีความพร้อม ฯลฯ ซึ่งในการดำาเนินดังกล่าวจะทำาให้ต้นทุนการดำาเนินการของ สถาบันการเงินเพิ่มสูงขึ้น ทั้ง ต้นทุนในช่วงของการเตรียมการ และต้นทุนการปฏิบัติการ ซึ่งอาจเป็นภาระที่หนักสำาหรับ สถาบันการเงิน ขนาด เล็ก นอกจากนี้ทางการจะต้องมีมาตรการต่างๆ เพื่อรองรับ Basel II เช่น สร้างมาตรฐานการจัดอันดับเครดิต ระหว่างสถาบันต่างๆ ให้มีความโปร่งใส และมีม าตรฐานเดียวกัน สนับสนุนหรืออำา นวยความสะดวกให้กับ สถาบันการเงิน ในการเข้าถึงข้อมูลประวัติของบริษัทเอกชน หน่วยงานกำากับดูแลต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการ แข่งขันที่ไม่เป็นธรรมระหว่าง สถาบันการเงินขนาดเล็กและขนาดใหญ่ และจะต้องสร้างมาตรฐานในการประเมิน หลักประกันเพื่อใช้ลดระดับความเสี่ยงของลูกค้าของ สถาบันการเงินต่างๆ ในช่วงที่ผ่านมา ธนาคารพาณิชย์ไทยได้มีการเตรียมการในบางส่วนแล้ว เช่น พัฒนาระบบการประเมิน ความเสี่ยง การจัดอันดับเครดิตของลูกค้าในองค์กร การทำาแบบจำาลองเพื่อประเมินความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง ของราคาตลาด รวมทั้งการประเมินความเสี่ยงในลักษณะที่สัมพันธ์กับเงินกองทุน และจะได้มีการพัฒนาในเรื่อ งอื่นๆ ไปอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นคาดว่า เมื่อถึงเวลาที่ ธปท. กำาหนดให้ดำาเนินการตาม Basel II อย่างเต็มรูปแบบในปี 2551 สถาบันการเงิน ของไทยคงจะมีความพร้อมมากขึ้น ประโยชน์ 1. แนวทางหรือเกณฑ์ใหม่นี้อาจช่วยสร้างเสถียรภาพให้กับระบบสถาบันการเงินไทย และช่วยเพิ่ม ความเป็นธรรมในการแข่งขันระหว่างสถาบันการเงินในประเทศ เพราะขนาดของสถาบันการเงินจะมิใช่ปัจจัย •

หลักในการแข่งขัน แต่คุณภาพของลูกค้าจะเป็นปัจจัยสำา คัญที่ทำา ให้สถาบันการเงินต่างๆ สามารถแข่งขันอย่าง ทัดเทียมกัน รวมทั้งคาดว่า กลไกการกำาหนดอัตราดอกเบี้ยที่แตกต่างกันมากขึ้นตามความเสี่ยงของผู้กู้ อันเป็นผล จากการใช้หลักเกณฑ์เงินกองทุนฉบับใหม่นี้น่าจะช่วยชะลอการปล่อยกู้ในลักษณะที่ไม่สมเหตุสมผลกับความ เสี่ยงของลูกหนี้ เพราะสถาบันการเงินรวมทั้งผู้ตรวจสอบจะมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาที่เป็นระบบมากขึ้นและ ใช้ดุลพินิจน้อยลง และในระดับมหภาค พฤติกรรมการปล่อยสินเชื่อที่พิจารณาความเสี่ยงอย่างเหมาะสมเช่นนี้ จะ ช่ว ยลดความร้อนแรงของเศรษฐกิจ (Over Heating) ในช่วงเศรษฐกิจขาขึ้ น ซึ่งจะสามารถลดการเกิดสภาวะ เศรษฐกิจฟองสบู่ได้ 2. ช่วยกระตุ้นให้สถาบันการเงินระมัดระวังในการติดตามดูแ ลคุ ณภาพของสินเชื่อและสิ นทรัพย์ เพราะอาจกระทบต่อความเพียงพอของเงินกองทุน และทำาให้สถาบันการเงินต้องมีการกันสำารอง มากขึ้น ซึ่งจะ ส่งผลให้ผู้ฝากเงินได้รับความคุ้มครองมากขึ้น เนื่องจากสถาบันการเงินจะต้องมีการดำา เนินการที่เหมาะสมและ รัดกุมยิ่งขึ้น เพราะมีการคำา นวณความเสี่ยงด้านเครดิตและความเสี่ยงในการดำา เนินงานที่สะท้อนความเป็นจริง ส่วนลูกหนี้ของสถาบันการเงินก็ต้องมีการพัฒนาไปสู่การบริหารธุรกิจแบบธรรมาภิบาล และพยายามลดความ เสี่ยงของการดำาเนินธุรกิจลง เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับสถาบันการเงินในการให้กู้รวมถึงต้นทุนเงินกู้ ซึง่ ทั้งหมดนี้ จะส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจมีความมั่นคงมากยิ่งขึ้น อุปสรรค์และปัญหำ 1. สถาบันการเงินอาจประสบปัญหาและอุปสรรคในการคำา นวณความเสี่ยงของผู้ กู้ เนื่องจากขาด ข้อมูลการจัดอันดับเครดิต อันเป็นผลมาจากจำานวนบริษัทที่ได้รับการจัดอันดับเครดิตยังมีจำานวนจำากัด คือเพียง ร้อยละ 10 ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ทำา ให้เ ป็นภาระต่อสถาบันการเงินในการหาวิ ธีอื่นเพื่อ ประเมินความเสี่ยงของลูกค้า 2. หลักเกณฑ์ใหม่นี้อาจเป็นการซำ้าเติมปัญหาในสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว เช่น สินเชื่อของกลุ่มธุรกิจ SME ที่มีความเสี่ยงตำ่า ในสภาวะปกตินั้น (ร้อยละ 75 จากเดิมร้อยละ 100) จะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าใน ทันที (ร้อยละ 150) หากกลายเป็นหนี้เสียหรือ NPL และจะส่งผลให้สถาบันการเงินลดการให้สินเชื่อแก่กลุ่มธุรกิจ SME เพื่อรักษาระดับเงินกองทุน อันจะเป็นการซำ้าเติมและอาจส่งผลต่อการชะลอตัวทางเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้น (Procyclical lending) นอกจากนี้ ยังจัดให้ผู้กู้ที่มีอสังหาริมทรัพย์คำ้าประกันมีความเสี่ยงตำ่าเพียงร้อยละ 35 จากเดิมร้อยละ 50 หากเป็นที่อยู่อาศัย และร้อยละ 50 จากเดิมร้อยละ 100 หากเป็นอาคารสำานักงานนั้น อาจจูงใจให้สถาบันการเงิน ปล่อยสินเชื่อแก่ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับอสังหาริมทรัพย์มากขึ้น จนอาจส่งผลให้เกิดภาวะฟองสบู่ในกลุ่ม ธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ได้ การที่จะป้องกันการหดตัวของสินเชื่อในสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวและฟองสบู่ในกลุ่มธุรกิจบางกลุ่มนั้น หน่วยงานที่กำา กับดูแลจะต้องคำา นึงด้วยว่า เมื่อใดสภาพเศรษฐกิจอยู่ในภาวะตกตำ่า และเกณฑ์การกำา หนดเงิน กองทุนตาม Basel II นั้นไม่เหมาะสมต่อสถานการณ์ซึ่งจำาเป็นต้องพิจารณาถึงตัวชี้วัดที่สำา คัญ เช่น การเพิ่มขึ้น ของ NPL อย่างฉับพลันหรือการลดลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ นอกจากนั้นควรมีมาตรการพิเศษใน การเปลี่ยนหลักเกณฑ์การคำานวณเงินกองทุนให้เหมาะสมต่อสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อป้องกันการหดตัว ของสินเชื่ออย่างรุนแรงดังที่ได้เคยเกิดขึ้นมาแล้วในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจที่ผ่านมา และมีมาตรการตรวจสอบความ

สมดุลของรายการหลักทรัพย์ลงทุน (Portfolio) ของสถาบันการเงินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมโดยคำานึงถึงการก ระจายตัวของสินเชื่อ

Related Documents

Basel Ii All
November 2019 12
Basel-ii
July 2020 10
Basel
April 2020 16
Basel Ii Accord
May 2020 10
Basel Ii - Review
October 2019 17