7 Habits[1]

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 7 Habits[1] as PDF for free.

More details

  • Words: 6,302
  • Pages: 42
The 7 Habits of Highly Effective People

ภูมิหลัง 7 Habits หนังสือ The 7 Habits of Highly Effective People เขียนโดย Stephen R. Covey หุนสวนผู กอตั้งบริษัท FranklinCovey

องคกรดานการพัฒนาภาวะผูนําและความมีประสิทธิผลในการ

ทํางาน และอาจารยแหง Brigham Young University สหรัฐอเมริกา Covey เขียนหนังสือเลมนี้ ออกมาในป ค.ศ. 1989 ซึ่งพอเหมาะพอเจาะกับยุคที่ผูคนกําลังกระหายแนวคิดใหมๆ ในการ คนพบสิ่งที่พวกเขาตองการในชีวิต สวนหนึ่งที่ผลักดันใหหนังสือเลมนี้ประสบความสําเร็จอยาง สูง แนวคิดที่ฉีกจากหนังสือแนว How to ทั่วไปที่มักแนะนําใหเปลี่ยนแปลงการกระทําภายนอก ขณะที่ Covey ย้ําความสําคัญของการเอาชนะตัวเองและเปลี่ยนแปลงจาก ภายใน ไมใชแคบุคลิก แตลงลึกถึงอุปนิสัย The 7 Habits จึงเปนสวนผสม ที่ลงตัวของแนวคิดการพัฒนาตนเองกับคูมือนักบริหารหรือผูนําองคกร และ เขาทางตามหลักการตลาดที่ผนวก 2

กลุมเปาหมายเขาดวยกัน ประวัติ

สวนตัวของ Covey เขาเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1932 จบจาก มหาวิทยาลัยยูทาห แลวไปเรียนตอ MBA ที่ฮาวารด จากนั้นไปไดปริญญา เอกที่ Brigham

Young

University

ซึ่งระหวางเรียนเขาก็ทํางานอยูที่นั่น ในฐานะผูชวย

อธิการบดีและเปนอาจารยสอนวิชาการจัดการธุรกิจและพฤติกรรมองคกร ทางดานครอบครัว เขา สมรสกับ Sandra Merrill Covey มีบุตรดวยกัน 9 คน ซึ่งตอมาก็มีสวนรวมในหนังสือบางเลม ของเขาดวย กอนหนาที่จะตั้ง FranklinCovey ขึ้นในป ค.ศ. 1997 นั้น เขาไดกอตั้งธุรกิจของ ตัวเองในนาม Covey Leadership Center ระหวางนั้นก็ประสบความสําเร็จอยางสูง ไดรับรางวัล เกียรติคุณมากมาย อาทิ International Entrepreneur of the Year ในป ค.ศ. 1994 รางวัล Services

Entrepreneur

of

the

Year

จาก Inc.

Magazine

และรางวัล National

Entrepreneur of the Year ในป 1996 จนกระทั่ง 30 ตุลาคม 1997 ไดตัดสินใจรวมกิจการกับ Franklin Quest กลายเปนบริษัท FranklinCovey ที่มีพนักงานกวา 3,000 คน ทํารายไดกวาป ละ 350 ลานเหรียญสหรัฐ โดยมีบริษัทตัวแทนอยูในประเทศตางๆ เกือบทั่วโลก ใหบริการกับ ลู ก ค า องค ก รที่ ต อ งการจั ด ฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพและภาวะผู นํ า ของบุ ค ลากร ใน เมืองไทยเองมี Pacrim

Group

เปนตัวแทนที่ไดรับอนุญาตเพียงรายเดียว นอกเหนือจาก

หนังสือ The 7 Habits of Highly Effective People ที่ประสบความสําเร็จอยางสูงแลว Covey ไดออกซีดีเรื่องเดียวกันตามมาดวย ทํายอดขายไดกวา 1.5 ลานแผน หนังสือดานภาวะผูนําใน ชื่อ Principle-Centered Leadership ก็มียอดขายกวา 1 ลานเลม ขณะที่หนังสือเกี่ยวกับการ บริหารเวลาชื่อ First Things First ที่เขาเขียนรวมกับ A. Roger และ Rebecca R. Merrill ก็มี

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

1

The 7 Habits of Highly Effective People ยอดขายกวา 2 ลานเลม และ The 7 Habits of Highly Effective Families ที่ตีพิมพออกมาเมื่อ ป 1997 ก็ขึ้นแทนหนังสือขายดี ติดอันดับ 4 ของชารต New York Times หลังวางแผงแค 3 เดือน ตลอดเวลา ที่ผานมาแนวคิดจากหนังสือ The 7 Habits of Highly Effective People ถูกนําไปใชสราง ประสิทธิภาพใหกับองคกรตางๆ มากมาย อาทิ บริษัทผูผลิตชิ้นสวนรถยนตรายหนึ่งสามารถเพิ่ม คุณภาพการทํางานได 40%

เพิ่มการผลิตไดเปน 2

เท าโดยไมตองเพิ่มคน และเพิ่ ม

ประสิทธิภาพการสงสินคาไดตรงเวลาถึง 98% หรือกรณีของอีกบริษัทที่สามารถลดคาใชจายได กวา 3.5

ลานเหรียญ จากการพัฒนากระบวนการผลิต จากขอมูลที่ไดเก็บรวบรวมขอมูลมา

เหลานี้ ผนวกกับประสบการณความสําเร็จในการทํางานของเขาเอง เปนเหมือนการวิจัยเชิงลึก เก็บขอมูลซ้ําจากแหลงเดียวกันในระยะยาว จนลาสุดเปนที่มาของการตีพิมพภาคตอของ The 7

Habits of Highly Effective People ในชื่อวา The 8th Habit : From Effectiveness to Greatness Covey

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

2

The 7 Habits of Highly Effective People บทนํา การพัฒนาอุปนิสัย อุป นิ สัยเปนองคประกอบที่เกิดจากความสั ม พั นธรว มระหวางความรู ทั ก ษะ และความ ปรารถนา ความรู คือความเขาใจวาจะตองทําอะไรและทําไมตองทําสิ่งนั้น ทักษะ คือรูวาจะทํา สิ่ ง นั้ น ได อ ย า งไร ความปรารถนา คื อ แรงจู ง ใจหรื อ ความต อ งการที่ จ ะทํ า สิ่ ง นั้ น ในการสร า ง อุปนิสัยเราจะตองพัฒนาองคประกอบทั้ง 3 ประการขางตนนี้ คุณลักษณะ (Character) และบุคลิกภาพ (Personality) ความสัมพันธระหวางคุณลักษณะ และบุคลิกภาพ สาธิตไดจากภาพภูเขาน้ําแข็ง สวน ยอดของภูเขาน้ําแข็ง (บุคลิกภาพ)

คือสิ่งที่คนมองเห็นกอนจากภาพนอก แมวาภาพพจน

เทคนิ ค และทั ก ษะสามารถส ง ผลให เ กิ ด ความสํ า เร็ จ ภายนอกก็ ต าม แต น้ํ า หนั ก ของความมี ประสิทธิผลที่แทจริงจะอยูในคุณลักษณะที่ดีซึ่งเปนปจจัยพื้นฐานของชีวิต เชน ความออนนอม ถอมตน ความซื่อสัตยจงรักภักดี ความกลาหาญ ความยุติธรรม ความพากเพียร การมีชีวิตอยู อยางเรียบงายไมหรูหรา และการปฏิบัติตอผูอื่นเสมือนกับปฏิบัติตอตนเอง สิ่งเหลานี้ถูกรวบรวม สรางเปนหลักการเพื่อใหประพฤติปฏิบัติจนเปนนิสัยและเปนธรรมชาติ จรรยาบรรณด า นบุ ค ลิ ก ภาพ เช น การเติ บ โตทางบุ ค ลิ ก ภาพ การอบรมเทคนิ ค การ ติดตอสื่อ สาร การอบรมในหลักสูตรการจู งใจผูอื่ น และวิ ธีมองโลกในแง บวก สิ่งเหล านี้ ก็ เป น ปจจัยตอความสําเร็จ แตเปนปจจัยรอง ปจจัยหลัก คือการมีอุปนิสัยที่ดี สี่ระดับแหงภาวะผูนํา เจ็ดอุปนิสัย (The Seven Habits) ประยุกตใชไดทั้ง 4 ระดับภาวะผูนํา (บุคคล ระหวางบุคคล การจัดการ และองคกร)

ในการพัฒนาตนเองจากภายในสูภายนอกโดยการสรางความน า

ไววางใจสวนบุคคลขึ้นมา ทานไดสรางความไววางใจระหวางบุคคลและพัฒนาความสัมพันธที่ดี เมื่อมีความไววางใจ ทานก็สามารถใหอํานาจแกบุคคลหรือกลุมบุคคลในองคกรไดอยางมั่นใจ เพื่อที่จะกอใหเกิดผลที่ตองการ ดวยบุคคลที่ไดรับมอบอํานาจดังกลาง องคกรสามารถวางระบบ และโครงสรางใหสอดคลองไดดียิ่งขึ้นกับพันธกิจขององคกร และมีกลยุทธที่ตอบสนองตอความ ตองการของผูมีสวนไดสวนเสียในองคกร การมีแนวทางเดียวกันของระบบและโครงสรางของ องคกรยอมจะสงผลใหเกิดการใหอํานาจ และความไววางใจที่สูงขึ้น

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

3

The 7 Habits of Highly Effective People ภาวะผูนําสวนบุคคล และภาวะผูนําระหวางบุคคล ภาวะผูนําสวนบุคคลเริ่มมาจากความนาไววางใจ การที่จะนําผูอื่นอยางมีประสิทธิผล บุคคลผูนั้น ตองมีความสามารถในการนําตัวเองใหเปนคนมีประสิทธิผลกอน เมื่อสามารถแสดงออกใหเห็น ถึ ง ความเป น คนที่ น า ไว ว างใจได แ ล ว (ความสมดุ ล ระหว า งความรู ความสามารถสู ง และ คุณลักษณะที่ดี) คนอื่นๆ ก็จะเริ่มวางใจเขาในฐานะผูนําได ภาวะผู นํ า ระหว า งบุ ค คลสร า งขึ้ น จากความไว ว างใจ และความไว ว างใจซึ่ ง สร า ง ความสัมพันธอันมั่นคงนั้นเกิดจากบุคคลที่นาไววางใจ คุณลักษณะ และความรูความสามารถ การจะมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลที่ แ ท จ ริ ง ในสาขาใดสาขาหนึ่ ง บุ ค คลนั้ น ต อ งมี ค วามสมดุ ล ระหว า ง คุณลักษณะและความรูความสามารถที่ดี เมื่อรักษาปจจัยทั้งสองใหสมดุลได เขาจะสรางความ นาไววางใจสวนบุคคลของเขา และความไววางใจของเขาตอบุคคลอื่นได -

บุคคลที่มีคุณลักษณะที่ดี จะแสดงออกซึ่งความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น วุฒิภาวะ และความใจกวาง

-

บุคคลที่มีความรูความสามารถสูง คือผูมีความรูและความสามารถในสาขาใดสาขา หนึ่ง

วงจรวุฒิภาวะ วงจรวุฒิภาวะ เป น การแสดงความสั ม พั นธ และเชื่ อมโยงกั นของเจ็ ดอุ ป นิ สั ย ชั ยชนะในสั งคม และชัยชนะสวนตน รวมทั้งขั้นตอนของการกาวไปสูการพึ่งพาซึ่งกันและกัน

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

4

The 7 Habits of Highly Effective People -

ชัยชนะสวนตน เริ่มตนจากตัวเราเองกอน เราปรับปรุงคุณลักษณะ แรงเราจูงใจและ กรอบความคิดของเรา เราเลือกการตอบสนองตามคานิยมที่กําหนดจากภายในตัวเรา (อุปนิสัย 1)

เราใชภาวะการเปนผูนําตนเอง (อุปนิสัย 2)

และการบริหารตัวเอง

(อุปนิสัย 3) ในการสรางวินัยใหเกิดขึ้นกับตัวเอง เราไดมาซึ่งชัยชนะสวนตนและขยับ ตนเองจากพึ่งผูอื่นมาพึ่งตนเองได -

ชัยชนะในสั งคม ในขณะที่เราพัฒนาการพึ่ ง พาซึ่ งกั นและกั น เราก็ มี เครื่ องมื อที่ จะ สรางความสัมพันธอันมีประสิทธิผลมากขึ้น เมื่อเรามีความกาวหนาในชัยชนะสวนตน เราก็มีความพรอมมากขึ้นที่จะประสบความสําเร็จในการสรางความสัมพันธ (ชัยชนะ ในสังคม) ในฐานะที่เปนคนพึ่งตนเองได เราอาจเลือกภาวะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน เพื่อที่จ ะพัฒนาความสัม พันธ ที่ ยาวนานและร ว มมื อกั น ในการติ ดต อกั น เราควรจะ แสดงหาผลประโยชนรวมกัน (อุปนิสัย 4 ) พูดคุยกันอยางเขาอกเขาใจ (อุปนิสัย 5) และใหคุณคากับความแตกตาง (อุปนิสัย 6)

เมื่อเราขยายความผูกพันที่จะนําเอา

อุปนิสัยทั้งหมดไปใชโดยการปฏิบัติอุปนิสัยที่ 7

เราก็สามารถปรับปรุงตนเองได

อยางตอเนื่อง

แบบจําลองพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลง มีองคประกอบสําคัญหลายองคประกอบที่มีผลกระทบตอความสําเร็จของเรา เมื่อเราพิจารณา และฝ ก ฝนตนเองบนป จ จั ย เหล า นี้ ด ว ยหลั ก การที่

See/เห็น

ถูกตองเราจะสามารถเปลี่ยนแปลงผลที่เราบรรลุได แตละอุปนิสัยของเจ็ดอุปนิสัยอยูบนพื้นฐานของ องคประกอบดังตอไปนี้ หลักการ ที่เปนพื้นฐานของอุปนิสัย 1. กรอบความคิด อันสอดคลองกับหลักการ

Do ทํา

Get กระทํา

3. กระบวนการ หรือความคิดและพฤติกรรม ซึ่งกระทบถึงผลที่เราบรรลุได

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

5

The 7 Habits of Highly Effective People

ATTITUDE

+

ACTION

VALUE

-

Foundation Principle

Paradigm Shift PARADIGM

Do

P/PC

Trust EBA

CHARACTER

+

COMPETENCE

P IP EMOTIONAL CONTINUUM

Effectiveness

หลักการ

+

TRUST WORTHNESS

See

Get

HABIT

คือกฎธรรมชาติหรือความจริงขั้นพื้นฐานซึ่งเปนอยูอยางอิสระ จากความรูที่

เรามีอยู เชน ความซื่อสัตยตอตนเองและตอผูอื่น ความจงรักภักดี ความอดกลั้น ความเรียบงาย ความกลาหาญ ความรักและผูกพัน การอุทิศ และความยุติธรรม

คานิยม คือความเชื่อและอุดมคติสวนบุคคล สิ่งที่สําคัญตอเรา คุณคาหรือลําดับความสําคัญที่ เรามอบใหแกบุคคล สิ่งของ ความคิด หรือหลักการ

กรอบความคิด

คือวิธีการที่บุคคล มอง เขาใจ และตีความเกี่ยวกับโลกที่อยูรอบตัว

การมองกรอบความคิดเปรียบเสมือนแผนที่ โดยแผนที่หรือการนําเสนอดวยวิธีการใดๆ จะไมเคย ครบถ ว นสมบู ร ณ ด ว ยตั ว ของมั น เอง แผนที่ ห รื อ การนํ า เสนอด ว ยวิ ธี อื่ น นั้ น ขาดมิ ติ ขาดความ ครบถวนและขาดความถูกตองแมนยํา ทํานองเดียวกัน กรอบความคิดก็ไมเคยครบถวนสมบูรณ เราไมสามารถเขาใจกรอบความคิดผูอื่นไดอยางเต็มที่ หรือรูรายละเอียดทั้งหมด หรือมีขอมูล จริงอยางครบถวน ผลก็คือไมมีบุคคลสองคนใด ที่จะมีกรอบความคิดที่เปนแบบเดียวกัน

กระบวนการ

คื อชุ ดของกิจกรรมทางความคิดหรื อกายภาพซึ่งเชื่ อมโยงกั น

กระบวนการที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล จะมี ส ว นส ง ผลต อ พฤติ ก รรมหรื อ อุ ป นิ สั ย ที่ ป ระสงค ที่ เ รากํ า ลั ง พยายามพัฒนา ยกตัว อยางเช นกระบวนการหกขั้นตอนในอุ ป นิสัย ที่ 3

ชว ยให เราบริ ห าร

ความสั ม พั นธ กั บ ผู อื่ น กิ จ กรรมต า งๆ และผลที่ต อ งการได อ ย า งมี ป ระสิ ทธิ ผ ล ในอุ ป นิ สั ย ที่ 6 BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

6

The 7 Habits of Highly Effective People กระบวนการสําหรับการหาทางเลือกที่สาม ชวยใหเราคนพบทางออกอยางสรางสรรคที่จะทําให ทุกฝายที่เกี่ยวของพอใจ ในบางครั้งกระบวนการรวมไปถึงเครื่องมือที่ชวยสรางและย้ําพฤติกรรมหรืออุปนิสัยที่ตองการ เชน The Seven Habits Organizer เปนเครื่องมือที่ใชเพื่อชวยย้ําเตือนใหทําสิ่งที่สําคัญกอน การเปลี่ยนกรอบความคิด การเปลี่ยนกรอบความคิด คือการเปลี่ยนในวิธีการคิดซึ่งไดมาเมื่อเราไดรับความรูและ ความเขาใจเพิ่มเติม บอยครั้งที่คนแตละคนจะปรับปรุงความเขาใจความครบถวนสมบูรณ และ ความถูกตองด วยตนเอง ทําให มุ ม มองของเขาเปลี่ ยนไป เพราะว า ความสั ม พั นธ ข องมนุ ษ ย มี ความสําคัญอยางยิ่ง บุคคลที่มีประสิทธิผลจะสรางโอกาสสําหรับการเปลี่ยนกรอบความคิด เขา พยายามเขาใจกรอบความคิดของบุคคลอื่น และเขาจะเปดใจกวางและยอมใหผูอื่นไดแสดงออก ไดอยางเต็มที่ เรามองเห็นตัวเองผานกระจกเงาสังคม เมื่อบุคคลอื่นสะทอนมุมมอง ความคิดเห็น และกรอบความคิดของเขาเกี่ยวกับตัวเราผาน คําพูดและความประพฤติของเขา ทําใหเรามองเห็นตัวเราจากสิ่งที่เราเรียกวา กระจกเงาสังคม เนื่องจากขอมูลที่เราไดรับจากกระจกเงาสังคมอยูบนพื้นฐานที่วาคนอื่นคิดอะไรเกี่ยวกับตัวเรา มันอาจจะไมถูกตองหรือผิดเลยก็ได ดังนั้นสิ่งที่เรามองเห็นวาเปนศักยภาพของตัวเรา อาจจะ เปนภาพที่ถูกตองของความสามารถและคุณลักษณะของเรา มากกวาที่เรามองเห็นจากกระจก เงาสังคม ความเชื่อที่กลายเปนความจริง เรามีประสบการณในเรื่องความเชื่อที่กลายเปนความจริง ก็ตอเมื่อความเชื่อในตัวเราเอง มีอิทธิพลตอคุณลักษณะ พฤติกรรมและการกระทําของเรา กรอบความคิดของเราและการมอง ของบุคคลมีอิทธิพลตอวิธีเราปฏิบัติตอเขา วิธีที่เราปฏิบัติตอผูอื่นมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของเขา สิ่งที่เราเชื่อเกี่ยวกับตัวเราและผูอื่นมีอิทธิพลตอการมองตัวเอง พฤติกรรมและผลงาน ความเชื่อ ของเราเกี่ ย วกั บ ตั ว เราสามารถจํ า กั ด ฉุ ด รั้ ง และทํ า ให เ สี ย กํ า ลั ง ใจ หรื อ ในทางตรงกั น ข า ม สามารถยืนยันและสงเสริมศักยภาพของตัวเราได ความสมดุล P/PC คือหลักการของความมีประสิทธิผล หลายคนมองความมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลเสมื อ นปริ ม าณงานที่ ท า นทํ า สํ า เร็ จ หรื อ อั ต ราของผลผลิ ต อยางไรก็ตาม ความมีประสิทธิผลอันแทจริงนั้นเปนผลมาจากความสมดุลของสิ่งสองสิ่ง 1. ผลผลิตที่ตองการ (ไขทองคํา หรือ P)

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

7

The 7 Habits of Highly Effective People 2. ความสามารถในการผลิต (ทาน หรือ PC ความสามารถของสินทรัพยที่จะผลิตผล ตอไปเรื่อยๆ) สวนประกอบทั้งสองนี้จะตองสมดุลกันเพื่อที่จะคงไวซึ่งความมีประสิทธิผล การดูแลรักษา การ ทะนุ บํ า รุ ง และเพิ่ ม ความสามารถของสิ น ทรั พ ย ที่ ช ว ยให เ ราสามารถผลิ ต ผลที่ ป ระสงค ไ ด (สงเสริมความสามารถในการผลิต) คือแกนสารของความมีประสิทธิผลอันแทจริง ทรัพยากรที่ สําคัญที่สุดที่องคกรมีอยูคือ ความสัมพันธระหวางบุคคลขององคกร รวมทั้งผูมีสวนไดสวนเสีย ทั้งภายในและภายนอกองคกร บัญชีออมใจ บัญชีออมใจ เปนคําเปรียบเทียบอันทรงพลังที่เกี่ยวกับปริมาณของความไววางใจ ที่ได สรางขึ้นมาจากความสัมพันธ คําเปรียบเทียบนี้ชี้วาการติดตอกับผูอื่นอาจจะจําแนกเปนการฝาก หรือการถอนได ยกตัวอยางเชน ทานกอใหเกิดความไววางใจในผูอื่นโดยการแสดงความเมตตา รักษาสัญญา ทําตามความคาดหวง แสดงใหเห็นถึงความจงรักภักดี และกลาวคําขอโทษ พูดอีก นัยหนึ่งก็คือทานไดเติมบางสิ่งบางอยางลงในความสัมพันธแลว ทานสรางและซอมแซม การ ถอนเปนการกระทําในทางตรงกันขามพฤติกรรมและการกระทําที่เขาขาย เชน ความเห็นแกตัว ไมรักษาสัญญา ไมทําตามความคาดหวัง ตีสองหนาและหยิ่งเกินกวาที่จะยอมรับวาตนทําผิด และขอโทษ จะทําใหความสัมพันธเลวลง การถอนเปนการลดความไววางใจในความสัมพันธ

อุปนิสัยที่ 1 บี-โปรแอกทีฟ เปนอุปนิสัยแหงวิสัยทัศนสวนบุคคล บี-โปรแอคที ฟ หมายความว า ในฐานะที่ เ ราเป นมนุ ษ ย เ ราต อ งรั บ ผิ ด ชอบชี วิ ต เราเอง ธรรมชาติพื้นฐานของเราคือเปนผูกระทําไมใชผูถูกกระทํา เปนสิ่งที่มีประโยชนมากที่เราจะแบง คําวา ”ความรับผิดชอบ ” (Responsibility) ออกเปนสองสวน การตอบสนอง (Response) และ ความสามารถ (Ability) ซึ่งหมายถึงความสามารถในการเลือกตอบสนองของทาน บุคคลที่โป รแอกทีฟสูงยอมรับความรับผิดชอบดังกลาว บุคคลเหลานี้จะไมโยนความผิดใหกับสิ่งแวดลอม หรือการถูกสภาวะบังคับ (Conditioning) พฤติกรรมของตนเปนผลมาจากการเลือกจากจิตสํานึก โดยมีพื้นฐานบนคานิยมมากกวาที่จะเปนผลมาจากสภาวะของตนโดยมีพื้นฐานบนความรูสึก สิ่งที่ตรงกันขามกับโปรแอกทีฟ คือ รีแอกทีฟ จิตวิญญาณของคน รีแอกทีฟ คือการโยน ความรับผิดชอบใหผูอื่น ภาษาของเขาทําใหเขาไมตองรับผิดชอบเชน “นั่นคือตัวฉัน นั่นเปนสิ่งที่ฉันเปน” ฉันถูกกําหนดมาเชนนี้ฉันไมสามารถทําอะไรได

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

8

The 7 Habits of Highly Effective People “เขาทําใหฉันโกรธแทบเปนบา” ฉันไมตองรับผิดชอบ สภาวะอารมณของฉันถูกควบคุม โดยสิ่งที่อยูนอกเหนือการควบคุมของฉัน นักวิทยาศาสตรดานพฤติกรรมหลายคนไดสรางแบบจําลองแบบรีแอคทีฟ ตัวกําหนดที่มี ผลตอพัฒนาการของมนุษย สิ่งเราการตอบสนองของพฤติกรรมของมนุษย ความคิดพื้นฐานคือ เราถูกกําหนดใหตอบสนองในลักษณะใดลักษณะหนึ่งตอสิ่งเราอยางใดอยางหนึ่ง ในทางตรงกัน ขามแบบจําลองพฤติกรรมของมนุษยแบบโปรแอคทีฟระบุวา ในระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง มีความเปนอิสระของเราที่จะเลือกการตอบสนองอยู ในฐานะมนุษย เรามีคุณสมบัติเฉพาะของมนุษย 4 ประการซึ่งแยกเราออกจากสิ่งมีชีวิต อื่น ๆ สิ่งที่เปนคุณสมบัติเฉพาะนี้อยูที่พื้นที่ระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง •

การรูตนเอง เปนความสามารถของเราที่จะมองตนเอง และตรวจสอบความคิด สิ่งจูงใจ อุปนิสัย และกรอบความคิดของเรา



จิ ต สํ า นึ ก ซึ่ ง ทํ า หน า ที่ เ ป น ระบบชี้ นํ า ภายในของเราซึ่ ง ทํ า ให เ รารู สึ ก เมื่ อ เรา กระทําการหรือคิดที่จะกระทําการในทางที่จะขัดตอหลักการ



จิ น ตนาการในทางสร า งสรรค คื อ ความสามารถของเราที่ จ ะสร า งสรรค ใ น จิตใจของเรา ซึ่งอยูนอกเหนือความเปนจริงในปจจุบัน



ความประสงค อิ ส ระ คื อ ความสามารถของเราที่ จ ะกระทํ า การเป น อิ ส ระจาก อิทธิพลอื่น ๆ ทั้งปวง

จินตนาการ

จิตสํานึก

การ ตอบสนอง

สิ่งเรา อิสระที่จะ

ความประสงค

การเรียนรู

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

9

The 7 Habits of Highly Effective People อุปนิสัยที่ 2 เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ – หลักการของการเปนผูนําในตัวเอง เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ (Begin with the End in Mind) คําวาเริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ หมายถึง การเริ่มตนดวยความเขาใจถึงเปาหมายชีวิต ของตัวเองอยางชั ดเจน รู ว ากํา ลังไปที่ใด เพื่ อที่จะไดเข าใจตํ าแหนงที่ เราอยูในป จจุ บั น และ สามารถกาวตอไปในทิศทางที่ถูกตองอยูเสมอ ซึ่งการที่รูวาอะไรคือสิ่งที่สําคัญที่สุดในชีวิต และ ระลึกถึงสิ่งนั้นไวในใจ จะทําใหเราสามารถจัดการชีวิตในแตละวันที่ผานไปใหทําและเปนสิ่งที่ สําคัญที่สุดนั้นได การเริ่ม ตนด ว ยจุ ดมุงหมายในใจ ตั้งอยู บนหลั ก การที่ ว า “ทุ กสิ่ งเกิ ด จากการสร า งสอง ครั้ง” โดยการสรางครั้งแรกเกิดขึ้นในจิตใจ เปนการออกแบบวางแผนกอนการลงมือทําจริง สวน การสร า งครั้ ง ที่ ส องคื อ การทํ า ให เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ตามแบบแผนที่ ไ ด กํ า หนดไว ซึ่ ง เป น การสร า ง ทางการภาพ การสรางครั้งแรกเปนสิ่งที่ตองการจริงๆ และเปนสิ่งที่คิดไวอยางดีแลวจึงคอยทํา การสรางครั้งที่สองเพื่อใหสิ่งนั้นเกิดขึ้นจริง หลักการนี้ใชไดในหลายๆ ดานของชีวิต เชนกอนการเดินทางจะมีการกําหนดเปาหมาย และแผนการเดินทางไวกอนเดินทางจริ ง กอนการสร างบานจะมีการออกแบบบ านซึ่งเกิดจาก ภาพใจในของเราเอาไวกอนที่จะลงมือกอสรางใหไดบานจริงๆ ตามภาพในใจของเรา ทุกอยางในโลกนี้เกิดจากการสรางสองครั้ง แตการสรางครั้งแรกไมจําเปนตองเกิดขึ้น ดวยความจงใจเสมอไป การที่ไมรูจักพัฒนาการรับรูตนเองและรับผิดชอบตอการสรางครั้งแรก แลว เทากับวาเราไดปลอยใหคนรอบขางหรือสภาพแวดลอมมากําหนดชีวิตเรา เราอาจมีชีวิต ตามบทบาทที่กําหนดโดยครอบครัว เพื่อน หรือกระแสที่กดดันจากอดีต แทนที่การมีชีวิตจาก เงื่อนไขขอกําหนดของเราเอง ดังนั้นการสรางครั้งแรกอาจเกิดขึ้นโดยเจตนา หรือเกิดขึ้นโดย ปริยายก็เปนได ดวยเหตุนี้ เราสามารถใชคุณสมบัติเฉพาะของมนุษยดานการรูตนเอง จากจินตนาการ และจากจิตสํานึก ใหสามารถตรวจสอบการสรางครั้งแรกและทําหนาที่เปนผูสรางครั้งแรกดวย ตั วเองเพื่ อเขี ยนต นแบบของเราเองได หรือ มองอี กด านหนึ่ งได ว า หาก อุ ป นิ สั ย ที่ ห นึ่ งบอกว า

“คุณเปนสราง” อุปนิสัยที่สอง คือการสรางครั้งแรกนั่นเอง

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

10

The 7 Habits of Highly Effective People ความเปนผูนําและการจัดการกับการสรางทั้งสองครัง ้ อุปนิสัยที่สอง มีพื้นฐานอยูบนหลักการของความเปนผูนําตนเอง ซึ่งหมายความวาความ เปนผูนําคือการสรางครั้งแรก ความเปนผูนําไมเหมือนกับการจัดการ การจัดการคือการสรางครั้ง ที่สอง ดังนั้นความเปนผูนําตองมาเปนอันดับแรก การจัดการมุงเนนที่วัตถุประสงค เชนทําอยางไรจึงจะประสบความสําเร็จ แตความเปน ผูนําจะเกี่ยวของกับตอนเริ่มตน เชนอะไรคือสิ่งที่ตองการทําใหสําเร็จ ตามคํากลาวของ ปเตอร ดรักเกอร และ วอรเรน เบนนิสที่วา “การจัดการคือการทําสิ่งตางๆ ใหถูกตอง การเปนผูนําคือ การทําในสิ่งที่ถูกตอง” ดังนั้นความเปนผูนําจึงมาเปนอันดับหนึ่ง ในขณะที่การจัดการจะมาเปนที่ สอง กําหนดบทชีวิตใหม - เปนผูสรางครั้งแรกดวยตัวเอง อุปนิสัยของคน โปรแอกทีฟ นั้นเกิดจากคุณสมบัติเฉพาะดานของมนุษยดานการรูตนเอง (Self awareness) แตยังมีคุณสมบัติอีกสองลักษณะที่ชวยขยายความสามารถในการเปนคนโป รแอกทีป ให มี ค วามเป น ผู นํ า ตนเองได นั่ นคื อ จิน ตนาการ (imagination)

และ จิ ต สํ า นึ ก

(conscience) ด ว ยการใช จิ น ตนาการ เราสามารถเห็ น โลกที่ ยั ง ไม เ กิ ด ขึ้ น ได ภ ายในใจ ด ว ยการใช จิตสํานึก เราสามารถเขาใจกฏของจักรวาลหรือหลักการดวยความสามารถพิเศษของเรา ดวย แนวทางที่มาจากภายในตัวเรา เราสามารถพัฒนาสิ่งเหลานี้ไดอยางมีประสิทธิผล ซึ่งเมื่อรวมกับ ความสามารถในการรับรูตนเอง จะทําใหเราสามารถกําหนดบทชีวิตของเราไดเอง ในการพั ฒ นาการรั บ รู ต นเอง หลายคนพบว า บทชี วิ ต ของตนเองที่ ไ ม มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล มี อุปนิสัยที่ฝงรากลึกซึ่งไมมีคุณคาและสอดคลองกับคานิยมในชีวิตเรา อุปนิสัยที่สองชี้ใหเห็นวา เราไมจําเปนตองปฎิบัติตามบทชีวิตที่ถูกสรางขึ้นมากอนหนานี้ เราสามารถตอบสนองไดโดยใช จินตนาการและความคิดสรางสรรค กําหนดบทชีวิตที่สอดคลองกับหลักการและคานิยมของตัว เราได คําปณิธานสวนบุคคล (Personal Mission Statement) วิธีที่มีประสิทธิผลมากที่สุดในการเริ่มตนจุดมุงหมายในใจคือ การสราง “คําปณิธานสวน บุคคล” ซึ่งเปนการใหความสําคัญตอคุณลักษณะ (Character) คานิยม หรือหลักการซึ่งเปน พื้นฐานของสิ่งที่ตองการเปนหรือตองการทํา เมื่อชีวิตมีปณิธานแลวก็จะมีแกนแทของการเปน คนโปรแอกทีฟ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

11

The 7 Habits of Highly Effective People การที่จะเขียนคําปณิธานได จะตองเริ่มตนที่ศูนยกลางซึ่งเปนที่ที่เราใชจินตนาการเพื่อ สรางภาพในสิ่งที่เราตองการขึ้นในใจ ทําใหเรามีแนวทางและเปาหมาย อะไรก็ตามที่เปน ศูนยกลางชีวิตจะเปนแหลงกําเนิดของปจจัยทั้ง 4 ไดแกความมั่นคงในจิตใจ (Security) เครื่อง นําทาง (Guidance) ปญญา (Wisdom) และอํานาจ (Power) ซึ่งทั้ง 4 ประการนี้จะตองพึ่งพา อาศัยซึ่งกันและกันจึงจะใหประโยชนสูงสุด โดยความมั่นคงในจิตใจและเครื่องนําทางที่ชัดเจน นํามาซึ่งปญญา และปญญาเปนตัวจุดประกายหรือตัวเรงใหมีการใชอํานาจ เมื่อทั้ง 4 ปจจัยมา อยูรวมกัน ประสานกัน และเกื้อกูลกันและกันจะกอใหเกิดบุคลิกภาพที่สงางาม คุณลักษณะที่ สมดุล ศูนยกลางของชีวิตที่คนทั่วไปมีกันไดแก ศูนยกลางชีวิตอยูที่คูครอง ซึ่งจะมองเห็นวาการ แตงงานเปนเรื่องที่ลึกซึ้งที่สุด สรางความพอใจไดสูงสุด ศูนยกลางชีวิตอยูที่ครอบครัว ซึ่งจะ ไดรับความรูสึกมั่นคงหรือความรูสึกวาตัวเองมีคาจากชื่อเสียงของครอบครัว ศูนยกลางชีวิตอยูที่

เงิน ซึ่งเห็นความมั่นคงทางเศรษฐกิจเปนพื้นฐาน ดังนั้นความตองการดานอื่นจะไมถูกกระตุนให เกิดขึ้นจนกวาความตองการพื้นฐานจะไดรับการตอบสนองกอน ศูนยกลางชีวิตอยูที่การทํางาน ความรูสึกเรือ ่ งคุณคาของตัวเองอยูที่งานที่ทําเปนตน

ความมั่นคงใน จิตใจ

ปญญา

ศูนยกลาง ชีวิต

เครื่อง นําทาง

อํานาจ

ศูนยกลางชีวิตอยูที่หลักการ ดวยการมีชีวิตอยูบนหลักการที่ถูกตอง จะเปนการปูพื้นฐานไปสูการพัฒนาปจจัย สนับสนุนชีวิตทั้ง4 ประการ ความมั่นคงในจิตใจ (Security) เกิดจากความรูที่วาหลักการที่ ถูกตองจะไมมีวันเปลี่ยนแปลง เราสามารถพึ่งมันได ไมเหมือนกับศูนยกลางชีวิตแบบอื่นๆ ที่ตั้ง อยูบนสิ่งของหรือคนใดคนหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา ปญญา (Wisdom) และเครื่องนํา ทาง (Guidance) จะอยูเคียงขางการดําเนินชีวิตอยางมีหลักการ ซึ่งเกิดจากแผนที่ชีวิตที่ถูกตอง BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

12

The 7 Habits of Highly Effective People ที่กําหนดจากสิ่งที่เปนอยูจริง ที่เคยเปนมา และที่จะเปน อํานาจ (Power) จะอยูที่หลักการ คือ อํานาจของผูรูที่รูตนเอง (self-aware)มีความรู เปนคนโปรแอกทีฟ ไมถูกจํากัดดวยทัศนคติ พฤติกรรม และการกระทําของคนอื่น หรือจากสถานการณรอบตัว การมองสิ่ ง ต า งๆ ผ า นกรอบความคิ ด ที่ ม าจากหลั ก การที่ ถู ก ต อ ง สิ่ ง ที่ ม องเห็ น จะ แตกตางไปจากการมองเห็นผานกรอบความคิดที่มาจากศูนยกลางชีวิตแบบอื่นๆ โดยจะแยกตัว ออกหางจากอารมณที่เกิดขึ้นจากสถานการณและจากปจจัยอื่นๆ และพยายามประเมินทางเลือก ที่มีอยูโดยมองไปที่ภาพรวมของสิ่งที่เกิดขึ้น และพยายามหาทางออกที่ดีที่สุดโดยพิจารณาจาก ปจจัยที่อยูทั้งหมด ในฐานะของคนที่มีศูนยกลางชีวิตอยูที่หลักการ จะทําใหมองเห็นสิ่งตางๆ แตกตาง ไปจากเดิม ซึ่งจะทําใหความคิดและการกระทําเปลี่ยนแปลงไป เพราะวาความมั่นคงในจิตใจ เครื่ อ งนํ า ทาง ป ญ ญาและอํ า นาจมาจากหลั ก การที่ ห นั ก แน น ไม เ ปลี่ ย นแปลง ซึ่ ง ถื อ ว า เป น รากฐานของคนโปรแอกทีฟซึ่งจะใชชีวิตอยางมีประสิทธิผล

คู ครอง

ครอ บ

เงิน งาน

ตัวเอ ง

ความ เปน 

หลักการ

โบส ถ/ ศัตรู

เพื่อ น

ควา ม

การเปนผูนําตนเองไมใชประสบการณหนึ่งครั้ง ไมไดเริ่มตน และจบลงดวยการเขียนคําปณิธาน แตเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องของการรักษาวิสัยทัศนและคานิยมไวกับตัวเอง และ ปรับตัวเองใหเขากับสิ่งที่สําคัญมากที่สุด

อุปนิสัยที่ 3 ทําสิ่งที่สําคัญกอน อุปนิสัยแหงการบริหารสวนบุคคล สิ่งที่สําคัญคือสิ่งที่ทานโดยตนเองพบวามีคาที่สุดที่จะทํา สิ่งที่พาทานไปในทิศทางที่ ถูกตอง และชวยเหลือใหทานไปถึงวัตถุประสงคที่ระบุไวในคําปณิธานสวนตัวของทาน

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

13

The 7 Habits of Highly Effective People

สี่ยุคของการบริหารเวลา หากเปรียบยุคการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการของมนุษย ก็จะมีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ไดแก การปฎิวัติดานการเกษตร Î การปฏิวัติดานอุตสาหกรรม Î การปฏิวัติดานขอมูลขาวสาร แต สําหรับการควบคุมชีวิต ก็มีเหมือนกันดังนี้ •

ยุคที่ 1

:

ยุคการจดบันทึกและการจัดทํารายการ จะพยายามจดบันทึกสิ่งตาง ๆ ที่

เรียกวา เวลาและแรงงาน •

ยุคที่ 2 : ยุคที่ใชปฏิทินและสมุดบันทึกการนัดหมาย ซึ่งสะทอนถึงการพยายามที่จะมอง ไปขางหนา จัดเวลาใหกับแตละเหตุการณ



ยุคที่ 3 : คือยุคการบริหารเวลาในยุคปจจุบัน โดยใหความสําคัญกับการจัดลําดับเวลา กอน หลัง มุงเนนการตั้งจุดหมายในการใชเวลาและแรงการในระยะเวลายาว ระยะกลาง ระยะสั้น ใหสอดคลองกัน เพื่อบรรลุเปาหมายและกิจกรรมที่จัดวามีคามากที่สุด



ยุคที่ 4 : คือยุคของการ “บริหารตนเอง” ความพึงพอใจเปนเรื่องของความคาดหวังและ การรับ รู ซึ่งความคาดหวัง (และความพึงพอใจ)

เปนสิ่งที่อยู ภายในขอบเขต แห ง

อิทธิพลของเรา

ยุคที่ 1

ยุคที่ 2

ยุคที่ 3

ยุคที่ 4

จดบันทึกและ การจัดทํา รายการ

ยุคที่ใช ปฏิทินและ สมุดบันทึก

การจัดลําดับ เวลากอน หลัง

บริหารตนเอง

ทําสิ่งที่สําคัญกอนเกี่ยวกับการวางแผนและการบริหารเวลาและเหตุการณตามลําดับกอนหนา หลังของทานที่กําหนดขึ้นในอุปนิสัยที่ 2 อุปนิสัยที่ 2 เปนการกอใหเกิดขึ้นครั้งแรกหรือจิตใจ อุปนิสัยที่ 3 คือการกอใหเกิดขึ้นครั้งที่สองหรือกายภาพ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

14

The 7 Habits of Highly Effective People

เรงดวน

ไมเรงดวน

II

I สําคัญ

ไม สําคัญ

• วิกฤติการณ • ปญหาที่กดดัน • โครงการ การประชุมที่ การ เตรียมการที่กําหนดเสนตาย

• • • • •

• • • • •

• • • • • •

การขัดจังหวะเสียงกริ่งโทรศัพท จดหมายรายงานบางจําพวก การประชุมบางเรื่อง สิ่งกดดันใกลตัว กิจกรรมที่นิยมชมชอบตางๆ

การเตรียมการ การปองกัน การยืนยันคานิยม การวางแผน การสรางความสัมพันธ ่ สิ่งละอันพันละนอย งานยุง เสียงกริ่งโทรศัพท กิจกรรมฆาเวลา กิจกรรม “ หลบหนี ” บางประเภท จดหมายที่ไมเกี่ยวกับเรา ดูโทรทัศนมากเกินไป

Time Management Matrix โดยพื้นฐานแลว เราใชเวลาของเราในวิธีใดวิธีหนึ่งในสี่วิธีตามที่ไดแสดงใหเห็นในตาราง การบริหารเวลา (Time Management Matrix) ซึ่งตารางนี้ไดใหความหมายของกิจกรรมตาง ๆ เปน “เรงดวน” หรือ “ไมเรงดวน” และ “สําคัญ” หรือ “ไมสําคัญ” จากการวิเคราะหอยาง รอบคอบ บุคคลเกือบทั้งหมดคนพบวาตนใชเวลามากเกินควรในการตอบสนองตอวิกฤติเรงดวน ในพื้นที่ 1 และพื้นที่ 3 หลีกเลี่ยงเปนครั้งคราวเพื่อการอยูรอดไปตอบสนองตอสิ่งที่ไมเรงดวน ไมสําคัญในพื้นที่ 4 เครื่องมือในการบริหารเวลาเกือบทั้งหมดมุงเนนไปที่การจัดลําดับและทําให สําเร็จในกิจกรรม “เรงดวน”

ในพื้นที่ 1

และพื้นที่ 3

แตการวิจัยนั้นชี้ใหเห็นวาบุคคลผูที่มี

ประสิทธิผลที่แทจริงจะมุงเนนไปที่พื้นที่ 2 อุดมคติที่จะตองไปใหถึงคือการขจัดเวลาที่ใชในพื้นที่ 3 และพื้นที่ 4 และเพิ่มเวลาที่ใช ในพื้ น ที่ 2

เมื่ อ ท า นใช เ วลามากขึ้ น ในกิ จ กรรมการวางแผน การป อ งกั น และการสร า ง

สัมพันธภาพในพื้นที่ 2 ทานจะพบวาทานใชเวลานอยลงมากในการเก็บงานในพื้นที่ 1 หรือมี ป ฏิ ก ริ ย า ต อ ค ว า ม ต อ ง ก า ร อ ย า ง เ ร ง ด ว น ข อ ง กิ จ ก ร ร ม อื่ น ๆ ใ น พื้ น ที่ 3 ถาหากทานตองตอสูเพื่อใหไดซึ่งเวลาที่จะใชในพื้นที่ 2 ทานจะพบเวลาที่ตองการดังกลาวใน พื้นที่ 3

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

15

The 7 Habits of Highly Effective People กิจกรรมเกือบทั้งหมดที่จะเปนตอการพัฒนาของเจ็ดอุปนิสัยอันไดแก จัดทําคําปณิธาน สวนกําหนดจุดประสงคในระยะยาว บํารุงรักษาความสัมพันธและจัดใหไดมาเปนระยะ ๆ ซึ่งการ เติมพลังชีวิตทางกายภาพ สติปญญา จิตวิญญาณ และสังคม/อารมณ ลวนเปนกิจกรรมในพื้นที่ 2 ทั้งหมดเปนกิจกรรมที่ “สําคัญ” สําคัญอยางยิ่ง แตเนื่องจากกิจกรรมเหลานี้ไมใชกิจกรรมที่ “เรงดวน” กิจกรรมเหลานี้จึงถูกละเลยเสมอการปฏิเสธที่จะทํากิจกรรมที่ไมสําคัญเทานั้น เราจึง จะมีเวลาที่จะทํากิจกรรมที่สําคัญ (พื้นที่ 3)

I

II

ผลลัพธ • มีวิสัยทัศน มองการณ ไกล • มีความสมดุลในชีวิต • เปนคนมีระเบียบวินัย • ควบคุมตนเองไดดี • ไมคอยเจอวิกฤต

พื้นที่ II เปนหัวใจของการบริหารตนเองอยางมีประสิทธิผล กระบวนการ ขั้นตอนการพัฒนาอุปนิสัยที่ 3 ขั้นตอนที่ 1 เชื่อมโยงสูปฎิธาน เชื่อมความคิดและจิตใจของทานสูเปาหมายที่ใหคุณคา และมี หลักการเปนศูนยกลาง ขั้นตอนที่ 2 ทบทวนบทบาท การทบทวนบทบาทจะสามารถชวยทานบรรลุความสมดุลและเกิด การฝากในบัญชีออมใจในความสัมพันธ ขั้ น ตอนที่ 3 กํ า หนดเป า หมาย ให ถ ามตั ว เองว า ฉั น จะทํ า อะไรภายในบทบาทต า ง ๆ เพื่ อ ดําเนินการตามปณิธานและบรรลุวิสัยทัศน ขั้นตอนที่ 4 บริหารเปนรายสัปดาห เพื่อใหไดมุมมองที่ชัดเจนสามารถบริหารและจัดการเวลา เพื่อวางแผนกิจกรรมในพื้นที่ 2 จัดการเรื่องตาง ๆ ทุก สัปดาห ขั้นตอนที่ 5 ใชความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น เมื่อถึงเวลาที่ตองตัดสินใจเลือก ถามตัวเองวา “การเลือกนี้จะนําฉันไปสูสิ่งที่ฉันตองการจริง ๆ หรือไม” ขั้นตอนที่ 6 ประเมินผล ทบทวนในสิ่งที่ไดเรียนรู ทบทวนปณิธาน และมุงมั่นที่จะนําผลจากการ ประเมินมาประยุกตใช

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

16

The 7 Habits of Highly Effective People

อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบชนะ/ชนะ กรอบความคิด 6 ประเภทในความสัมพันธของมนุษย -

ชนะ/ชนะ

ชนะ/ชนะมองเห็นวาชีวิตควรเปนไปเพื่อความรวมมืมรวมใจไมใชเพื่อการแขงขัน ชนะ/ชนะ ตั้งอยูบนพื้นฐานของกรอบความคิดที่วายังมีสิ่งตาง ๆ มากมายสําหรับทุกคน ความสําเร็จ ของคนหนึ่ ง มิ ไ ด ห มายความว า จะต อ งทํ า ให อี ก คนหนึ่ ง ต อ งเสี ย หายหรื อ ต อ งแย ง ชิ ง ความสําเร็จจากคนอื่น -

ชนะ/แพ

กรอบความคิดแบบชนะ/แพคือวิถีทางของอํานาจนิยม คนที่มีกรอบความคิดแบบชนะ/แพ ชอบใชตําแหนง อํานาจ ชื่อเสียง เกียรติยศ ความเปนเจาของหรือบุคลิกภาพใหไดในสิ่งที่ ต อ งการ คนส ว นใหญ คุ น เคยกั บ รู ป แบบนี้ เ ริ่ ม จากที่ บ า นเมื่ อ มี ก ารนํ า เด็ ก คนหนึ่ ง มา เปรี ย บเที ย บกั บ เด็ ก อี ก คน อิ ท ธิ พ ลจากคนรอบข า งก็ ถื อ ว า เป น อี ก แรงหนึ่ ง ที่ ทํ า ให เ กิ ด ความรู สึ ก นี้ โลกของการศึ ก ษาก็ มี ส ว นสนั บ สนุ น แนวคิ ด นี้ เช น การตั ด เกรดผลการศึ ก ษา ความคิดแบบชนะ/แพจะเกิดเมื่อยูในสภาวะที่มีการแขงขัน และมีความไววางใจระหวางกัน ในระดับต่ํา แตชีวิตคนสวนใหญไมใชการแขงขัน เราไมจําเปนตองเอาชนะคูครองของเรา ลูกของเรา คนรวมงานของเรา เพื่อน และเพื่อนบานของเรา -

แพ/ชนะ

กรอบความคิดแบบแพ/ชนะแยกวาแบบชนะ/แพ เพราะมันไมมีมาตรฐาน ไมมีขอเรียกรอง ไมมีการคาดหวัง ไมมีวิสัยทัศน คนที่คิดแบบแพ/ชนะโดยปกติแลวชอบเอาใจผูอื่น ไมคอย กลาแสดงความรูสึกของตนเอง และถูกคุกคามจากความเขมแข็งของผูอื่นไดงาย -

แพ/แพ

เมื่อคนแบบชนะ/แพ 2 คนมาอยูดวยกัน นั่นหมายความวาคนที่มีจิตมุงมั่น ดันทุรังและเห็น แกตัวสองคนมาปะทะกัน ผลก็คือทั้งสองฝายจะเปนผูแพ รูปแบบของการคิดแบบแพ/แพ เปนรูปแบบของความขัดแยง เปนปรัชญาของการทําสงคราม -

ชนะอยางเดียว

คนที่ ต อ งการเอาชนะไม จํ า เป น ต อ งคิ ด ว า จะทํ า ให อี ก ฝ า ยหนึ่ ง เป น ฝ า ยแพ เ สมอไป ส ง ที่ สําคัญก็คือเขาตองไดรับในสิ่งที่เขาตองการ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

17

The 7 Habits of Highly Effective People แบบไหนดีที่สุดในทั้ง 5 แบบ? ถาคุณใหความสําคัญกับเรื่องความสัมพันธกับคนอื่น คุณอาจตองการใชรูปแบบแพ/ชนะ แตในบางสถานการณคุณอาจตองการเปนผูชนะ และไมสนใจเรื่องผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับ ความสัมพันธระหวางบุคคล ในสถานการณนี้คุณอาจตองการใชรูปแบบชนะ/แพ ทางเลือกที่ ดีที่สุดนั้นขึ้นอยูกับความเปนจริง สิ่งทาทายคือการอานความเปนจริงอยางถูกตอง และไมนํา กรอบความคิดแบบชนะ/แพหรือแบบอื่นไปใชในทุกสถานการณ ในความเป น จริ ง สถานการณ ส ว นใหญ คื อ ส ว นหนึ่ ง ของการพึ่ ง พาซึ่ ง กั น และกั น และใน สถานการณนั้นกรอบความคิดแบบชนะ/ชนะคือทางเลือกเดียว เนื่องจากในระยะยาว ถามัน ไมเปนแบบชนะ/ชนะแลว เราทั้งสองจะกลายเปนผูแพ -

ชนะ/ชนะหรือไมมีการตกลง

“ไมมีการตกลง” หมายความวาถาเราไมสามารถพบวิธีการแกไขปญหาซึ่งเปนประโยชนแก คนทั้งสองไดแลว เราตกลงที่จะไมตกลงกันอยางยินยอมพรอมใน จะไมมีการทําขอตกลงใด ๆ ทั้งสิ้น ถ า คุ ณ ไม ส ามารถไปถึงในจุดที่ ได ชั ยชนะเพื่ อทั้ งสองฝ า ยอย างแท จริ งแล ว การ เลือกที่จะไมมีการตกลงใด ๆ ดูจะเปนทางเลือกที่ดีกวา

1 ชนะ/ชนะ คุณลักษณะ

2 ชนะ/ชนะ ความสัมพันธ

3 ชนะ/ชนะ ขอตกลง

ระบบ (4) และกระบวนการ (5) ที่สนับสนุน

5 มิติของกรอบความคิดแบบชนะ/ชนะ หลักการของกรอบความคิดแบบชนะ/ชนะคือหลักการสําคัญที่เปนพื้นฐานตอความสําเร็จ ในการอยูรวมกัน โดยมันยึดเอามิติที่พึ่งพากัน 5

ประการของชีวิต เริ่มดวยคุณลักษณะ

(Character) ไปสูความสัมพันธ (Relationship) จนออกมาเปนขอตกลง (Agreement) อยู ในสิ่งแวดลอมซึ่งโครงสราง (Structure) และระบบ (System) ตั้งอยูบนกรอบความคิดแบบ ชนะ/ชนะ และมันเกี่ยวพันกับกระบวนการ (Process)

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

18

The 7 Habits of Highly Effective People

-

คุณลักษณะ (Character)

มีคุณลักษณะสําคัญ 3 ประการที่มีความสําคัญตอกรอบความคิดแบบชนะ/ชนะ ƒ

ความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น (Integrity)

ƒ

ความมีวุฒิภาวะ (Maturity) : วุฒิภาวะคือความสามารถสรางสมดุลระหวาง ความกลาหาญและความใสใจตอผูอื่น

ƒ -

ความใจกวาง (Abundance mentality)

ความสัมพันธ (Relationship)

ความไววางใจ เปนหัวใจสําคัญของกรอบความคิดแบบชนะ/ชนะ -

ขอตกลง (Agreement)

ในขอตกลงแบบชนะ/ชนะนั้น ประกอบดวยองคประกอบ 5 ประการ ƒ

ผลประสงคจะได (desired results) : ระบุวาจะตองทําอะไรและเมื่อไร

ƒ

แนวทาง (Guidelines) : ระบุขอบเขต (หลักการ นโยบาย เปนตน) ซึ่งจะทํา ใหไดมาซึ่งผลนั้น

ƒ

ทรัพยากร (Resource) : ระบุความสนับสนุนดานบุคลากร การเงิน เทคนิค และองคกรที่มีอยูเพื่อจะชวยใหไดมาซึ่งผลนั้น

ƒ

ความรับผิดชอบที่สามารถวัดได ( Accountability) : กําหนดมาตรฐานการ ปฏิบัติงานและเวลาที่จะทําการประเมินผล

ƒ

ผลที่จะตามมา (Consequences) : ระบุผลดีผลเสีย อะไรจะเกิดขึ้นจากการ ที่ไดมาหรือไมไดมาซึ่งผลที่ตองการ

การสรางขอตกลงในผลงานแบบชนะ/ชนะ เปนการมุงเนนที่ผลที่ไดรับไมใชวิธีการ -

ระบบ (System)

ความคิดแบบชนะ/ชนะจะอยูรอดไดก็ตอเมื่อระบบการทํางานขององคกรนั้นสนับสนุน ระบบ ขององคกรจะสนับสนุนดวยวิธีการฝกอบรม การวางแผนบริษัท ระบบการติดตอสื่อสาร การ จัดงบประมาณ ระบบขอมูลขาวสาร และระบบสวัสดิการ ทั้งหมดตองวางอยูบนหลักการคิด แบบชนะ/ชนะ การคิดแบบชนะ/ชนะมอบความรับผิดชอบใหกับแตละบุคคลทํางานชิ้นใดชิ้น หนึ่งใหเสร็จ ทําใหคนนั้นต องรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย ระบบการคิดแบบชนะ/ ชนะ ทําใหเกิดบรรยากาศที่สงเสริมและสนับสนุนการทํางานดวยขอตกลงแบบชนะ/ชนะ -

กระบวนการ

การคนหาทางออกแบบชนะ/ชนะ ประกอบดวยกระบวนการ 4 ขั้นตอนคือ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

19

The 7 Habits of Highly Effective People ขั้นตอนที่ 1 คือการมองปญหาจากมุมมองอื่น พรอมที่จะสรางความเขาใจ ขั้นตอนที่ 2 คือแสดงใหเห็นถึงปญหาสําคัญในเรื่องนั้น ขั้นตอนที่ 3 คือตัดสินใจวาผลลัพธอะไรจะทําใหการแกปญหาไดรับการยอมรับอยางเต็มที่ ขั้นตอนที่ 4 ระบุความเปนไปไดของทางเลือกเพื่อทําใหผลลัพธนั้นประสบความสําเร็จ วิธีแบบชนะ/ชนะเปนกรอบความคิดรวมในความสัมพันธของมนุษย มันมาจากคนที่มีคุณลักษณะ ของควาซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น การมีวุฒิภาวะ และมีใจกวาง มันพัฒนามาจากความสัมพันธ ที่มีความไววางใจกันในระดับสูง มันเปนโครงรางอยูในขอตกลง ซึ่งชัดเจน มีประสิทธิผล และ จัดการไดตามที่คาดหวังเชนเดียวกับการประสบความสําเร็จ มันงอกงานในระบบที่สงเสริมกัน และเปนผลสําเร็จไดดวยกระบวนการ อุปนิสัยที่ 5 : เขาใจผูอื่นกอนแลวจึงใหผูอื่นเขาใจเรา (Seek first to understand, Then to be understood) อุปนิสัยแหงการติดตอสื่อสารอยางเขาอกเขาใจ การติ ด ต อ สื่ อ สารเป น ทั ก ษะที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ในชี วิ ต เราใช เ วลาเกื อ บทั้ ง หมดในการ ติดตอสื่อสาร อยางไรก็ตามลองพิจารณาดูสิ่งตอไปนี้ เราใชเวลาหลายๆป ในการเรียนรูที่จะอาน และเขียนอยางไร อีกหลายๆป ในการเรียนรูที่จะพูดอยางไร แตสวนที่เกี่ยวกับการฟงเราไดมี การผึกอบรม หรือการศึกษาอะไรบางที่จะชวยใหเราสามารถฟงเพื่อที่จะสามารถเขาใจคนอื่นได อยางลึกซึ้งจากกรอบอางอิง (Frame of Reference) ของบุคคลนั้นเอง การเข า ใจผู อื่ น ก อ น เปรี ย บเสมื อ นการวิ นิ จ ฉั ย โรคก อ นการจ า ยยา ซึ่ ง เป น หลั ก การที่ ถูกตองที่เห็นไดในกิจกรรมตางๆของชีวิตแพทยที่ดี การที่วิศวกรจะเขาใจการทํางานของกําลัง และแรงอัดกอนที่จ ะทําการออกแบบสะพาน หรื อการที่ นักขายที่ มี ประสิ ทธิผลจะพยายามทํ า ความเข า ใจกั บ ความตอ งการของลู ก คา ก อ นที่ จะเสนอขายสิ น ค า ดั งนั้ น นั กติ ดต อสื่ อ สารที่ มี ประสิ ทธิผ ลจะพยายามทํ า ความเขา ใจกั บ ความคิ ด เห็ น ของผู อื่ น ก อ นที่ จะพยายามให ผู อื่นมา เขาใจตน เพราะจนกวาคนไขจะรูสึกวาไดถูกวิเคราะหอยางถูกตองแลว เขาจะไมยอมรับยาที่สั่ง ให โดยทั่วไปแลว เรามักจะพยายามใหผูอื่นเขาใจเรากอน บุคคลเกือบทั้งหมดไมไดฟงดวย ความตั้งใจที่จะเขาใจ เขาฟงดวยความตั้งใจที่ตอบ เขากําลังจะพูดหรือมิฉะนั้นก็เตรียมที่จะพูด เขาซึมซับทุกอยางผานกรอบความคิดของตน และพยายามมองเห็นตัวเองผานชีวิตของคนอื่น

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

20

The 7 Habits of Highly Effective People “ฉันเขาใจอยางชัดเจนวาคุณรูสึกอยางไร” หรือ “ฉันไดผานสิ่งเหลานั้นมาแลว ฉันจะเลา ประสบการณของฉันใหทานฟง” เขาใชความคิดและการมองโลกของตนในการพิจารณาตัดสินพฤติกรรมของผูอื่น ในทางตรงกันขาม การฟงอยางเขาอกเขาใจ (Empathic Listening) เปนวิธีทําใหคนอื่น รูสึ ก วา คุ ณ ให ความสนใจกั บ สิ่ง ที่ เ ขาพู ด โดยการเข า ไปอยู ใ นกรอบอ า งอิ ง ของผู อื่ น แล ว มอง ออกมาขา งนอก ท านจะเห็ นโลกนี้ เหมื อนอย า งที่ บุ ค คลนั้ นเห็ น และจะเข า ใจว า บุ ค คลนั้ นรู สึ ก อย า งไร แต ไ ม ไ ด ห มายความว า คุ ณ จํ า เป น ต อ งเห็ น ด ว ย คุ ณ เพี ย งแค เ ข า ใจว า เขามี ค วามคิ ด อยางไร ซึ่งแตกตางจากการฟงแบบคลอยตามสิ่งที่คนอื่นพูด (Reflective) LISTENING CONTNUUM

การฟงอยางเขาอกเขาใจโดยตัวของมันเอง เป นการฝากบัญชี ออมใจของบุคคลอื่นที่ ยิ่งใหญมากรองไปจากการมีชีวิตรอดอยูไดในทางรางกาย ความตองการสูงสุดของมนุษยคือการ อยูรอดไดในเชิงจิตวิทยา ไดรับความเคารพ ยกยอง เขาใจ เมื่อทานฟงบุคคลอื่นอยางเขาอก เขาใจ ทานไดใหบุคคลนั้นถึงความเขาอกเขาใจทางจิตวิทยา ทักษะที่เปนหัวใจของการฟงแบบเขาอกเขาใจ มีอยู 4 ขั้นตอน คือ 1. วิธีเลียนแบบคําพูด ถือเปนทักษะขั้นแรก เพราะทําใหคุณตองฟงวาอีกฝายหนึ่ง กําลังพูดอะไร โดยการถามคําถามเดิมกลับไป โดยไมตองประเมิน ตรวจสอบ ให คําปรึกษา และตีความใดๆ ทั้งสิ้น เพียงแคแสดงวาคุณสนใจในสิ่งที่เขาพูด 2. การเรียงประโยคใหม โดยใส ความหมายของสิ่งที่อีกฝายหนึ่งแสดงออกมาใน คําพูดดวย

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

21

The 7 Habits of Highly Effective People 3. การสะทอนความรูสึก ในขั้นตอนนี้คุณอาจไมไดใหความสนใจกับสิ่งที่เขาพูด แต คุณกําลังสนใจความรูสึกของเขาแทน 4. การสะทอนเรื่องราวและความรูสึก เปนการรวมขั้นตอนที่ 2 และ 3 เขาดวยกัน การฟงดวยความเขาใจ เปนการเปดโอกาสใหอีกฝายหนึ่งพูดสิ่งที่อยูภายในใจออกมา ซึ่งไมวา เขาจะตองการมุ มมองที่แตกตางและคําปรึ กษาจากภายนอกก็ตาม การฟ งด วยความ เขาใจจะสามารถเขาถึงปญหาไดรวดเร็ว สามารถแสดงการยอมรับและความเขาใจ ทําใหคนอื่น รูสึกปลอดภัยที่จะเปดเผยความในใจออกมาจนกระทั่งเขาถึงตนตอของปญหาที่แทจริงได และ บางครั้งเมื่อไดระบายความรูสึกออกมา เขาจะพบทางแกปญหาที่อยูในตัวเขาเอง การฟงอยางเขาอกเขาใจก็เปนสิ่งที่เสี่ยงเหมือนกัน การเขาไปในประสบการณการฟง อยางลึกซึ้งจําเปนตองมีความมั่นคงหนักแนนอยางมาก เพราะทานเปดโอกาสใหผูอื่นมีอิทธิพล เหนือทานได ทานอาจถูกทํารายได ในบางแงมันเปนสิ่งที่ขัดแยงกับความเปนจริง เพราะในการ ที่ทานจะมีอิทธิพลเหนือผูอื่น ตอนแรกทานจะตองอยูภายใตอิทธิพลของผูอื่นกอน ทานจึงจะ เขาใจอยางแทจริง ดังนั้นทานตองมีหลักการที่มั่นคงภายในตัวคุณเอง (อุปนิสัยที่ 1-3 : การ ชนะใจตัวเอง) ทําใหทานสามารถจัดการกับสิ่งตางๆ ภายนอกไดดวยความสงบและเขมแข็ง เมื่อเราเขาใจผูอื่นแลว เราสามารถจะกาวตอไปสูขั้นที่สองของการติดตอกับผูอื่น โดย การนําเสนอความคิดของคุณอยางชัดเจน ใหเฉพาะเจาะจงลงไป มองเห็นภาพไดชัดเจน และที่ สําคัญที่สุดตองมีคําอธิบายในบางตอน ซึ่งเปนคําอธิบายที่เคารพกรอบความคิดของอีกฝายหนึ่ง ทําใหเขาเกิดความเชื่อถือในตัวคุณมากขึ้นเพื่อที่จะทํางานอยางมีประสิทธิผล กลาวคือ ใหผูอื่น เขาใจเรา เนื่องจากความตองการของผูอื่นที่จะไดรับความเขาใจนั้นไดรับการตอบสนองแลว เรา ยอมอยูในฐานะที่จะมีอิทธิพล และไดรับความเขาใจจากผูอื่นมากขึ้น

อุปนิสัยที่ 6 หลักการรวมมืออยางสรางสรรค รูปแบบสูงสุดของการผนึ กพลั งประสานความตา งเกิ ดขึ้นเมื่อมีการใชคุณสมบัติเฉพาะ ของมนุษย 4 ประการ การใชแรงจูใจแบบชนะ/ชนะและทักษะการสื่อสารอยางเขาอกเขาใจมา จัดการเรื่องที่ทาทายมากที่สุดในชีวิต ผลที่ไดรับนั้นเกือบจะถือวาเปนความมหัศจรรย เพราะเรา ไดสรางทางเลือกใหมขึ้น เปนทางเลือกที่ไมเคยมีมาก การผนึกพลังประสานความตางคืออะไร อธิบายอยางงาย ๆ มันหมายความวา ผลรวมที่ ไดรับนั้นมากกวาผลบวกของแตละสวนรวมกัน มันหมายความวาความสัมพันธที่แตละสวนมีตอ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

22

The 7 Habits of Highly Effective People กันนั้นเปนสวนหนึ่งในตัวของมันเอง ไมเพียงแตเปนสวนหนึ่งเทานั้น แตเปนสวนที่สงผลกระตุน สวนอื่น ๆ ทําใหเกิดการรวมพลังกัน ทําใหสวนอื่น มีพลังมากขึ้นเปนสวนที่นาตื่นเตนมากที่สุด การผนึกพลังประสานความตางมีใหเห็นอยูทั่วไปในธรรมชาติ ถาคุณปลูกตนไมสองตน ไวใ กล กัน รากของมั น จะประสานกั นและช ว ยให คุณ ภาพของดิ น ดี ขึ้ น ทํ า ให ต น ไม ทั้ ง สองต น เติบโตไดดีกวาที่จะปลูกแยกกัน ถาคุณมัดทอนไมสองทอนใหอยูดวยกัน มันจะรับน้ําหนักได มากกวาน้ําหนักที่ไมแตละชิ้นจะรับได เมื่อสิ่งของถูกรวมกันเปนหนึ่ง มันจะใหผลที่มากกวาการ แยกชิ้นสวน เปรียบเสมือนหนึ่งบวกหนึ่ง การติดตอสื่อสารแบบผนึกพลังประสานความตาง เมื่อคุณใชการสื่อสารแบบผนึกพลัง นั่นหมายถึงคุณกําลังเปดใจ เปดความคิด และการ แสดงออกใหพรอมรับมือกับสิ่งใหม ๆ ที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งทางเลือกใหมและโอกาสใหมที่ฟงดู แลวเหมือนกับวาจะขัดแยงกับอุปนิสัยที่ 2 (เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ) แตในความเปนจริง คุ ณ กํ า ลั ง ทํ า ให มั น สมบู ร ณ ยิ่ ง ขึ้ น แม ว า คุ ณ จะไม แ น ใ จว า การสื่ อ สารแบบผนึ ก พลั ง จะให ผ ล อยางไร แตคุณก็มีความตื่นเตน มั่นใจ และมีจิตใจที่มั่นคง โดยเชื่อวาผลที่ไดจะตองดีกวาแต กอนอยางมากมาย และนั่นก็คือจุดมุงหมายในใจคน การผนึกพลังประสานความตางในหองเรียน ในฐานะที่ เ ป น ครู ผมเชื่ อ ว า ชั้ น เรี ย นที่ ย อดเยี่ ย มนั้ น อยู ไ ม ไ กลกั บ ชั้ น เรี ย นที่ วุ น วาย อลหมาน การผนึกพลังเปนการทดสอบวาครูและนักเรียนนั้นเปดใจใหกับหลักการที่วาผลบวก ของแตงละสวนรวมกัน มีบางครั้งที่ทั้งนักเรียนและครูไมรูวาตอไปจะเกิดอะไรขึ้น ในตอนเริ่มตนสภาพแวดลอมที่ ปลอดภัยทําใหทุกคนเปดใจกวางเพื่อเรียนรูและรับฟงความคิดเห็นของแตละคน ตอมาก็มีการ ระดมสมอง ซึ่ ง เราให ค วามสํ า คั ญ กั บ ความคิ ด สร า งสรรค จิ ต นาการและการประสานป ญ ญา มากกวาการวิจารณความคิดเห็นกัน จากนั้นปรากฏการณที่ไมคาดคิดเลยเริ่มเกิดขึ้น นักเรียนทั้ง หองเปลี่ยนไปกับความตื่นเตนของความเชื่อใหม แนวคิดใหมและทิศทางใหม ซึ่งใหคําจํากัด ความไดยาก แตก็เปนผลมาจากผูคนที่เกี่ยวของ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

23

The 7 Habits of Highly Effective People การผนึกพลังประสานความตางในธุรกิจ เริ่ ม ต น การพู ด คุ ย ด ว ยการให เ กี ย รติ ซึ่ ง กั น และกั น ละเอี ย ดรอบคอบ และมี ความหวังเมื่อเราเริ่มพูดถึงทางเลือกอื่น โอกาส และความเปนไปไดตาง ๆ พวกเราหลายคนเริ่ม แสดงออกอย างเปดเผยเปนตัวของตัว เอง และเริ่ มคิดออกมาดัง ๆ ขอกําหนดในการเขียนคํ า ปณิธ านเปด โอกาสให มี ก ารสื่อ สารระหว า งกั น อย า งเป นอิ ส ระ เสริ ม ต อ แนวความคิ ด ของผู อื่ น อยางเปนธรรมชาติ พวกเรามีความเขาอกเขาใจซึ่งกันและกัน ในขณะเดียวกันก็มีความกลาหาญ ในการแสดงความคิด เรากาวไปสูการสื่อสารแบบการผนึกพลังอยางสรางสรรค การผนึกพลังประสานความตางและการติดตอสื่อสาร กลุมคนที่มีความแตกตางกันและมาจากหลายสาขามากขนาดนี้ไดรับมอบกําหนดการที่ อัดแนน และพวกเขาไมมีความอดทนพอที่จะกระทํา ยิ่งไปกวานั้นสื่อมวลชนยังกดดันพวกเขา ดวย แตผลปรากฏวาคนกลุมนี้เขากันไดอยางดี กลาเปดเผยซึ่งกันและกัน มีความคิดสรางา สรรคมาก และประสานประโยชนกันไดเปนอยางดี ความเคารพตอความคิดเห็นในหมูพวกนี้มีอยู สูงมาก จนถึงขนาดที่วาถาเกิดมีความเห็นไมตรงกัน แทนที่พวกเขาจะโตเถียงกัน พวกเขากลับ พยายามทําความเขาใจอีกฝายหนึ่ง พวกเขามีทัศนคติที่วา “ถาคนที่มีสติปญญา มีความสามารถ และความมุ ง มั่ น เช น ถ า คุ ณ มี ค วามเห็ น ไม ต รงกั บ ผมแสดงว า ต อ งมี อ ะไรสั ก อย า งที่ ผ มยั ง ไม เขาใจ และผมตองการทําความเขา ใจกับมัน คุณมีมุมมอง มีกรอบความคิ ดที่ผมตองทําความ เขาใจ” ไมมีการปกปองตัวเองอีกตอไป และแลววัฒนธรรมที่หายากยิ่งก็เกิดขึ้น รูปตอไปนี้แสดงใหเห็นความไววางใจมีความสัมพันธใกลชิดอยางไรกับการสื่อสารระดับ ตาง ๆ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

24

The 7 Habits of Highly Effective People การผนึกพลังประสานความตางในทางลบ ปญหาก็คือคนที่พึ่งตนเองไมได (สภาวะพึ่งผูอื่น) แตพยายามที่จะประสบความสําเร็จใน สภาวะแบบพึ่งพาซึ่งกันและกัน พวกเขาขอยืมความเขมแข็งจากตําแหนง อํานาจหนาที่ และใช กรอบความคิดแบบชนะ/แพ หรือพึ่งพาความนิยมที่ไดรับจากผูอื่นและใชกรอบความคิดแบบแพ/ ชนะ พวกเขาอาจพูดถึงเทคนิคของความคิดแบบชนะ/ชนะ แตพวกเขาไมชอบที่จะรับฟง พวก เขาตองการมีอํานาจเหนือคนอื่น ในสภาพแวดลอมแบบนี้การผนึกพลังไมมีทางเกิดขึ้นได

การวิเคราะหแรงผลักดัน นักสังคมวิทยาอยาง เคิรต เลวิน ไดพัฒนารูปแบบของ “การวิเคราะหสนามพลัง” โดย ใชแบบจําลองที่แสดงใหเห็นระดับ ต าง ๆ ของการดําเนินงานหรือการเป นอยู ในสภาวะสมดุ ล ระหวางแรงตาน (restraining forces) กับแรงผลักดัน (driving forces) โดยทั่วไปแรงผลักดันจะเปนไปในทางบวก มีเหตุผล และเปนตรรกะ เปนไปตามสามัญ สํา นึ ก และเป น ไปไดท างเศรษฐกิ จ ในทางกลั บ กั น แรงต า นจะเป น ไปในทางลบเกี่ ย วข อ งกั บ อารมณ แ ละไม เ ป น เหตุ เ ป น ผล รวมทั้ ง ไม เ ป น ไปตามสามั ญ สํ า นึ ก ของทางสั ง คมและทาง จิตวิทยา แรงทั้งสองดานมีอยูจริงและตองคํานึงถึงทุกครั้งที่ตองเกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลง ยกตั ว อย า งเช น ในครอบครั ว ซึ่ ง ปกติ แ ล ว จะมี ทั้ ง บรรยากาศในแง บ วกและแง ล บที่ จ ะ ปะทะกันอยูตลอดเวลา เชน ความรูสึกกวาจะปลอดภัยหรือไมที่จะแสดงความรูสึกออกมา หรือ พูดในเรื่องที่ เปนกังวล ในเรื่องความเคารพหรื อไม เคารพกัน ในการสื่ อสารระหว างสมาชิ กใน ครอบครัว บางที่ คุ ณ ต อ งการเปลี่ ย นแปลงระดั บ ของการปะทะกั น ซึ่ ง คุ ณ อาจต อ งการสร า ง บรรยากาศใหเปนบวกมากขึ้น นานับถือมากขึ้น เปดเผยมากขึ้น และเชื่อใจมากขึ้น เหตุผลที่เปน ตรรกะของคุณที่จะยกระดับของการปะทะกันใหสูงขี้น เปนแรงผลักดันในแงใหเกิดการยกระดับ นั้น แรงตาน

แรงผลักดัน

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

25

The 7 Habits of Highly Effective People การเพิ่มแรงผลักดันในแงบวกอาจใหผลดีไดสักชั่วระยะหนึ่ง แตตราบใดที่แรงตานยังคง มีอยูก็ยิ่งทําไดลําบากมากขึ้น มันเปรียบเสมือนกับการกดสปริง ยิ่งคุณกดลงไปเทาใด มันก็ยิ่ง ดันคุณแรงขึ้นเทานั้น ทําใหกดไดยากขึ้น จนถึงจุดหนึ่งซึ่งแรงของสปริงจะลดระดับลงในทันที ผลของการผลักดันที่ขึ้นๆ ลงๆ เมื่อคุณพยายามหลายครั้งขึ้นแตก็ไดผลเหมือนเดิม ทํา ใหคุณคิดวา “มันเปนอยางนั้นเอง” หรือ “มันยากเกินกวาจะเปลี่ยนแปลง” แตเมื่อใชวิธีการผนึกพลัง คุณใชแรงจูงใจจากอุปนิสัยที่ 4 ทักษะจากอุปนิสัยที่ 5 แล การปฏิสัมพันธระหวางกันของอุปนิสัยที่ 6

เขาแกไขที่แรงตานโดยตรง ก็เทากับคุณสราง

บรรยากาศห รู สึ ก ปลอดภั ย ที่ จ ะพู ด เกี่ย วกั บ แรงต า นเหล า นี้ คุ ณ ปลดปล อยมั น และสร า งความ เขาใจใหม จนในที่สุดก็สามารถเปลี่ยนแรงตานทั้งหมดใหเปนแรงผลักดันในแงบวก คุณนําพวก เขาใหเขาไปในป ญหา ทําใหพวกเขารูจักมัน เพื่อทําใหรูสึกวานี่เปนปญหาของพวกเขา และ พวกกเขาตองการเปนสวนหนึ่งของการแกปญหา ธรรมชาติทุกอยางเปนการผนึกพลังประสานความตาง ระบบนิ เ วศวิ ท ยาเป น คํ า ที่ อ ธิ บ ายถึ ง การผนึ ก พลั ง ประสานความต า ง ทุ ก ๆสิ่ ง ที่ เ ห็ น มี ความสัมพันธกับทุกๆสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ในความสัมพันธดังกลาวนั้นนั่นเองที่อํานาจแหง ความคิดสรางสรรคถูกนํามาใชไดสูงสุด ซึ่งก็เปรียบเสมือนกับพลัง และประโยชนการใชงานที่ สูงที่สุดนั้นจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อเราสามารถนําอุปนิสัยทั้ง 7 ใหมาทํางานรวมเปนหนึ่งเดียวได คุณสามารถมองเห็นประโยชนจากความแตกตางของคนอื่นไดเมือมีใครคนอื่นไมเห็ น ดวยกับคุณ “ดีมากที่คุณไมเห็นดวยกับผม”

คุณไมจําเปนจะตองเห็นดวยกับเรื่องพวกนี้ ขอ

เพียงแตคุณบอกมา แลวคุณสามารถแสวงหาความเขาใจไดในภายหลัง อุปนิสัยที่ 7 ลับเลื่อยใหคมอยูเสมอ หลักการของการเติมพลังชีวิตของตนเองใหสมดุล อุปนิสัยที่ 7 นี้จะพูดถึงเรื่องการลับเลื่อยใหคม (sharpen the saw) มันอยูลอมรอบ อุปนิสัยอื่นในกรอบความคิดของ 7 อุปนิสัย เพราะมันเปนอุปนิสัยที่ทําใหอุปนิสัยอื่นทั้งหมด 4 มิติของการเติมพลังชีวิต อุปนิสัยที่ 7 เปน PC สวนตัว เพราะมันจะรักษาและเพิ่มคุณคาทรัพยากรที่มีคาที่สุดของ คุณ นั่นคือตัวคุณเอง มันทําใหธรรมชาติของคนทั้ง 4

มิติคือ ดานกายภาพ ดานจิตวิญญาณ

ดานสติปญญา และดานสังคม/อารมณเกิดขึ้นใหม

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

26

The 7 Habits of Highly Effective People

ดานกายภาพ การออกกําลังกาย โภชนาการและการ จัดการกับ ความเครียด ดานสติปญ  ญา การอานหนังสือ การใชจินตนาการ การวางแผนและ การเขียน

ดานสังคม/ อารมณ การบริการ ความ เขาใจอกเขาใจ การ ผลึกพลังประสาน ดานจิตวิญญาณ การขยายคานิยมให ชัดเจน การรักษา คํามั่นสัญญา การศึกษา

มิติดานกายภาพ (Physical Dimension) มิติดานกายภาพเกี่ยวของกับการดูแลรักษารางกายอยางมีประสิทธิผล เชน รับประทาน อาหารที่ ถู ก สุ ข ลั ก ษณะ นอนหลั บ พั ก ผ อ นอย า งเพี ย งพอ ตลอดจนการออกกํ า ลั ง กายอย า ง สม่ําเสมอ การออกกําลังกายเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมในพื้นที่ II

ซึ่งใหประโยชนสูงถาลงมือ

ปฏิบัติ แตพวกเรามักไมปฏิบัติกันอยางตอเนื่อง เพราะมันไมใชเรื่องเรงดวน และเนื่องจากพวก เราไมคอยออกกําลังกาย ในไมชาเราก็จะพบวาตัวของเราไปอยูในพื้นที่ I วุนวายอยูกับปญหา ทางรางกายและวิกฤตการณตางๆ ที่เปนผลตามธรรมชาติที่เกิดจากการละเลยของพวกเราเอง โปรแกรมการออกกําลังการที่ดีคือโปรแกรมที่คุณสามารถทําไดดวยตัวเองที่บาน และ เปนโปรแกรมที่จะชวยสรางเสริมรางกายคุณใน 3 ดานคือ ความอดทน ความยืดหยุน และความ แข็งแรง ความอดทน (endurance) มาจากการออกกําลังกายแบบแอโรบิก ทําใหประสิทธิภาพ ของหัว ใจดี ขึ้ น สรา งความสามารถในการส งแรงดั นเลื อดไปเลี้ ย งทั่ ว ร า งกาย แม วา หั วใจเป น กล า มเนื้อ ก็ ต าม แต เ ราไม ส ามารถออกกํ า ลั ง กายหั ว ใจได โดยตรงเราสามารถออกกํ า ลั ง กาย กลามเนื้อหัวใจผานกลามเนื้อมัดใหญ เชน กลามเนื้อที่ขา ความยืดหยุน (flexibility)

มาจากการยึดหยุนของกลามาเนื้อ ผูเชี่ยวชาญสวนใหญ

แนะนําใหทํารางกายใหอบอุน และทําการยืดหยุนกลามเนื้อกอนและหลังจากการออกกําลังกาย

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

27

The 7 Habits of Highly Effective People แบบแอโรบิก ถาใหความอบอุนรางกายกอนการออกกําลังกาย มันจะชวยผอนคลายและใหความ อบอุนกับกลามเนื้อเพื่อเตรียมพรอมสําหรับการออกกําลังกายที่หนักขึ้น ความแข็งแรง (strength) เกิดจากการออกกําลังกายที่สรางความตานทานใหกลามเนื้อ เชน การเลนเพาะกายดวยทางาย ๆ การเลนวิดพื้น ถา คุณทํางานเกี่ยวกั บการใชแรงงานทาง รางกายหรือการกีฬาตาง ๆ การพัฒนาความแข็งแรงของกลามเนื้อจะชวยพัฒนาทักษะของคุณ ได มิติดานจิตวิญญาณ (Spiritual Dimension) การเติ ม พลั ง ชี วิ ต ด า นจิ ต วิ ญ ญาณช ว ยเสริ ม สร า งความเป น ผู นํ า ให กั บ ชี วิ ต คุ ณ ซึ่ ง เกี่ยวของโดยตรงกับอุปนิสัยที่ 2 จิตวิญญาณถือเปนแกนกลาง เปนศูนยรวมของคุณ และเปนความซื่อสัตยตอคานิยมของ คุณ มันเปนเรื่องเฉพาะตัวของคุณและมีความสําคัญอยางยิ่ง มันตั้งอยูบนสิ่งที่เปนแรงบันดาลใจ ของคุณ ทําใหคุณเบิกบาน บางคนสรางจิตวิญญาณของตนจากการสวดภาวนาทําสมาธิ เพราะ มันตรงกับคานิยมของตน ขณะที่อานและทําสมาธิ ทําใหรูสึกถึงการสรางพลังชีวิตใหม ความ เขมแข็ง เปนหนึ่งเดียวที่ศูนยกลาง และการยอมรับที่จะใหการรับใชตอไป มิติดานสติปญญา (Mental Dimension) การพั ฒ นาทางสติ ป ญ ญาของเราส ว นใหญ ร วมถึ ง ระเบี ย บวิ นัย ด า นการเรี ย นได ม าจาก หลั ก สู ต รภาคปกติ แต ใ นทั น ที ที่ เ ราอ า นนอกระบบโรงเรี ย น พวกเราส ว นใหญ จ ะปล อ ยให สติปญญาเราลดนอยลง เราเลิกอานหนังเสื่อประเทืองปญญา เราจะไมมีการคนควาหาความรู เรื่องใหมเพิ่มเติมเหนืองานของเรา เราจะไมคิดในเชิงวิเคราะห เราไมเขียนหนังสือ อยางนอยก็ ในเชิงวิจารณ หรือในลักษณะที่จะทดสอบความสามารถของเราในการแสดงออกอยางชัดเจน อย า งกลั่ น กลอง และใช ภ าษาที่ ต รงประเด็ น ในทางตรงข า ม เราใช เ วลาส ว นใหญ ไ ปการดู โทรทัศน มิติดานสังคม/อารมณ (Social/Emotional Dimension) มิติดานสังคม/อารมณจะเนนไปที่อุปนิสัยที่ 4,5 และ 6 ซึ่งมีศูนยกลางชีวิตที่หลักการของ การเปนผูนําระหวางบุคคล การสื่อสารอยางเขาอกเขาใจ และการรวมมืออยางสรางสรรค มิติดานสังคม/อารมณในชีวิตของพวกเรามีความสัมพันธกัน เพราะพื้นฐานทางอารมณใน ชีวิตของเรานั้นไดรับการพัฒนามาจากลักษณะความสัมพันธของเรากับบุคคลอื่นเปนหลัก ในการเติ ม พลั งชี วิ ต ด า นมิ ติ ท างสั งคม/อารมณ ข องเรา ไม ต อ งใช เวลาเหมื อ นกั บ การ ปรับเปลี่ยนมิติอื่นๆ เราสามารถสรางมันไดในระหวางการติดตอสื่อสารกับผูอื่นตามปกติในแตละ วัน แตมันก็ยังตองไดรับการฝกฝน เราอาจจะตองผลักดันตัวเราเอง เพราะพวกเราสวนใหญยัง

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

28

The 7 Habits of Highly Effective People ไม ไ ด ป ระสบความสํ า เร็ จ ในระดั บ ชั ย ชนะส ว นตน และยั ง ไม มี ทั ก ษะของชั ย ชนะในสั ง คมอั น จําเปนตออุปนิสัยที่ 4,5 และ 6 อยางเปนธรรมชาติทุกครั้งที่มีการติดตอสื่อสารเกิดขึ้น การกําหนดบทชีวิตของผูอื่น พวกเราสามารถเลือกที่จะตอบสนองผูอื่นใหเกิดความกระจางและการมองเห็นที่บิดเบือน ของพวกเขา เราสามารถมั่นใจในธรรมชาติของความเปนคนโปรแอกทีฟและปฏิบัติกับพวกเขา เหมื อ นกั บ เป น บุ ค คลที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ เราสามารถช ว ยกํ า หนดบทชี วิ ต ให พ วกเขาตาม หลักการที่เป นศู นย กลางชี วิ ต มี พื้ นฐานทางาค า นิ ย ม สามารถพึ่ งตนเองได และมี คุ ณ ค า ส ว น บุคคล และดวยความที่เปนคนที่มีจิตใจกวาง จะทําใหพวกเราตระหนักถึงการใหสิ่งที่ดีกับบุคคล อื่นในทางติดตอสื่อสารแบบพึ่งพาซึ่งกันและกันกับบุคคลอื่นอยางมีประสิทธิผล การเติมพลังชีวิตที่สมดุล วิธีการเติมพลังชีวิตดวยตนเอง ตองรวมไปถึงความสมดุลในการปรับปรุงเปลี่ยนทั้ง 4 มิติ ตามธรรมชาติของเรา ทั้งมิติดานกายภาพ มิติดานสติปญญา มิติดานจิตวิญญาณ และมิติดาน สังคม/อารมณ ถึงแมวาการเติมพลังในแตละมิติจะเปนเรื่องสําคัญ ซึ่งมันก็จะกลายเปนเรื่องที่มี ประสิทธิผลเมื่อเราเกี่ยวเนื่องกับทึ้ง 4 มิติในทางที่ฉลาดและสมดุล การละเลยบริเวณใดบริเวณ หนึ่งก็จะมีผลกระทบทางลบตอสิ่งที่เหลือ การผนึกพลังที่เกิดจากการเติมพลังชีวิต การเติมพลังชีวิตอยางมีความสมดุลคือการผนึกพลังระดับสูงในตัวมันเอง ทั้งนี้เพราะสิ่งที่ คุณปฏิบัติในการลับเลื่อยใหคมในมิติใดมิติหนึ่งจะมีผลในทางบวกตอมิติอื่น ๆ เพราะทุกมิติมี ความเกี่ยวของกันอยางแยกไมออก สุขภาพทางรางกายของคุณจะมีผลตอสุขภาพทางจิตดวย ความแข็งแกรงของจิตใจก็จะมีผลตอความแข็งแกรงทางอารมณและสังคม ขณะที่คุณพัฒนามิติ ใดมิติหนึ่ง คุณก็จะเพิ่มความสามารถในมิติอื่น ๆ ดวยเชนกัน เมื่อคุ ณเติมพลังดานมิติ ทางกายภาพ คุณ ก็จะตอกย้ํา วิสัยทั ศน สว นบุ คคล ซึ่งเป นกรอบ ความคิดเรื่องการรูตนเองและความประสงคอิสระ ความโปรแอกทีฟและการรูวาตัวเองมีอิสระที่ จะเลือกเปนผูกระทําแทนที่จะเปนผูถูกกระทํา เมื่อคุ ณเติ มพลังดานมิ ติ ทางจิ ตวิญญาณ ก็ เทา กั บ วา คุ ณ ได เพิ่ มความสามารในการเป น ผูนําตนเอง คุณจะเพิ่มความสามารถในการดํารงชีวิตจากจินตนาการและความรูสึกผิดชอบของ คุณเอง แทนที่จะมีชีวิตตามความทรงจําของคุณ เปนการทําความเขาใจอยางลึกซึ้งถึงคานิยม และกรอบความคิด เมื่อคุณเติมพลังดานมิติทางสติปญญา ก็จะเปนการเพิ่มความสามารถในการจัดการสวน บุคคล ขณะที่ คุณวางแผน คุ ณ บังคับสมองคุ ณ ให ตระหนั กถึ งกิ จกรรมในพื้ นที่ II

ซึ่งเป น

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

29

The 7 Habits of Highly Effective People จุดมุงหมายที่สําคัญมากกวาและกิจกรรมที่ใหคุณใชเวลาและพลังงานของคุณอยางไดประโยชน สูงสุด จากนั้นคุณก็จัดเวลาและกิจกรรมของคุณตามความสําคัญเหลานั้น วงหมุนสูเบื้องบน ( Upward Spiral) การเติมพลังชีวิตถือเปนหลักการหนึ่งและเปนกระบวนการที่ใหอํานาจแกเรา ที่จะเคลื่อน ตัวไปตามวงหมุนสูเบื้องบนของความเติมโต การเปลี่ยนแปลง และการปรับปรุงอยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดความกาวหนาอยางมีความหมายและสม่ําเสมอตามรูปแบบของวงหมุนสูเบื้อง บน เราจํา เป นตองพิจารณาถึงป จจัย อี กด า นหนึ่งของการเติมพลั งในฐานะที่มั นเป นคุ ณ สมบั ติ เฉพาะของมนุษย ซึ่งทําใหเกิดความเคลื่อนที่สูงขึ้น นั่นคือ จิตสํานึก ของเรา การมี จิ ตสํ า นึ ก เปน คุ ณ สมบั ติ เ ฉพาะตั ว ที่ จ ะเตื อ นให เรารู เ มื่ อ เรามี ค วามสอดคล อ งหรื อ แยกตัวออกจากหลักการที่ถูกตอง และพาเราเขาไปใกลหลักการที่ถูกตองเหลานั้น

วงหมุนสูเบื้องบน ( Upward Spiral) ผมเชื่อวาขณะที่ เราเติบโตและพัฒนาอยูบ นวงหมุนสูเบื้ องบน เราตองแสดงให เห็ นถึ ง ความขยั น ต อ กระบวนการเติ ม พลั ง ชี วิ ต ด ว ยการเรี ย นรู แ ละเชื่ อ ฟ ง จิ ต สํ า นึ ก ของเราความรู เกี่ยวกับเรื่องจิตสํานึกมากขึ้นจะผลักดันเราไปสูหนทางของความเปนอิสระสวนตัว ความมั่นคง ในจิตใจ ภูมิปญญา และอํานาจ ในการเคลื่อนที่ไปตามวงหมุนสูเบื้องบนนี้ พวกเราจําเปนตอง เรียนรู มุงมั่นที่จะทํา และ ปฏิบัติ ในรูประนาบที่สูงขึ้นไปเรื่อย ๆ เราหลอกลวงตัวเองถาเราคิดวาการที่มีเพียงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็เพียงพอแลว เพื่อที่จะไดความกาวหนา เราตองเรียนรู มุงมั่น และปฏิบัติ เรียนรู มุงมั่น และ ปฏิบัติ เรียนรู มุงมั่น และปฏิบัติ ตอไปเรื่อย ๆ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

30

The 7 Habits of Highly Effective People ความสัมพันธระหวาง 7 Habits กับ Organization Behavior นิ สั ย เกิ ด จากพฤติ ก รรมที่ ทํ า ซ้ํ า ๆ จนเกิ ด เป น นิ สั ย ติ ด ตั ว ของแต ล ะบุ ค คล ดั ง นั้ น หากต อ งการ เปลี่ยนแปลงนิสัย ตองทําการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนกอน ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของคนได ตองเริ่มจากความเชื่อของแตละบุคคลคนนั้น เพื่อสงผลใหเกิดคานิยม ทัศนคติ และ พฤติกรรมที่ตองการ สิ่งนี้เองที่ทําให 7 Habits สัมพันธกับ OB เพราะคนจะมีนิสัยทั้ง 7 ได จะตองเริ่มจากหลักการของ Organization Behavior ในเรื่อง B2B กอน •

Believe ความเชื่อ เปนตัวสั่งใหใหเราทําสิ่งตางๆ เกิดจากการสั่งสมขอมูลขาวสารเปนสิ่ง

ที่อยูลึกที่สุด มี 3 อยางคือ จริงหรือเท็จ เชื่อหรือไมเชิ่อ ใชหรือไมใช ศรัทธาก็เปนสวนหนึ่งของ ความเชื่อโดยหลอหลอมมาจากความเชื่อ ใน 7 Habits ไดกลาวถึงการเปลี่ยนกรอบความคิด (Paradigm shift) ซึ่งถือเปนความเชื่อและปนตัวกอใหเกิดการปฏิบัติ นําไปสูนิสัย (Habit) •

Value คานิยม มาจาก หลักการ ทฤษฎี ฐานความรู อรรถประโยชน สุนทรียภาพ สังคม ผุ

นํา ตน และคนอื่น คานิยมประกอบดวย วิธีการไปสูเปาหมาย /สิ่งที่ตองทํา & เปาหมาย/สิ่งที่ ตองการ •

Attitude

ทั ศ นคติ เป น การลงความเห็ น ว า ชอบหรื อ ไม ช อบ (positive/negative

evaluation) อิทธิพลของทัศนคติ ทําใหเกิดความคิดนําการกระทํา เชนเขาไมาชอบที่เราเดิน เขามาโดยไมเคาะประตูทําใหพฤติกรรมเขาเปลี่ยน •

Behavior การปฎิบัติ โดยการจะเปลี่ยนพฤติกรรม จะตองสาวลึกไปใหถึงความเชื่อ หรือ

Albert Bandura

สรุปไววา “ถาจะเปลี่ยนพฤติกรรมของคน ตองสืบคนถึงกลองความเชื่อ

ความเชื่ อ อยู เ หนื อ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย า ง แรงจู ง ใจและพฤติ ก รรมก็ ขึ้ น อยู กั บ ความเชื่ อ ถ า คนเชื่ อ ก็ ตัดสินใจทํา เมื่อเราแบงการวิเคราะหออกเปนแตละอุปนิสัยจะมีความสัมพันธกับ Organization

Behavior

ดังนี้ อุปนิสัยที่ 1 บี-โปรแอกทีฟ จัดเปนอุปนิสัยที่กอใหเกิด ความฉลาดทางอารมณ (Emotional

Intelligence)

ซึ่งจะเกี่ยวของกับความสามารถในการเขาใจตนเองและผูอื่น การติดตอสัมพันธกับบุคคลและ การปรับตัวหรือเผชิญกับสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง บี-โปรแอกทีพมีความสัมพันธเกี่ยวกับความ ฉลาดทางอารมณในดานเกี่ยวกับ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

31

The 7 Habits of Highly Effective People Self-Awareness หมายถึง การเขาใจตัวเองอยางลึกซึ้งในอารมณ จุดแข็ง จุดออน ความ ตองการและ drives ของตนเอง คนที่มี self awareness จะรูวาอารมณมีผลกับตนเอง งานและ คนอื่น อยางไร จะรูจักแยกแยะเรื่องอารมณและไมใสใจในเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ แตจะมุงทําในจุด ที่สําคัญหลัก ๆ คนที่มี self awareness จะเขาใจคุณคา (value) และจุดหมายของตนเอง รูวา กําลังมุงสูเปาหมายอะไร มีเหตุผลอะไร จึงมักทํางานอยางมีพลัง คนที่มี self awareness จะรู จุ ด หมายของตน เค า สามารถทํ า งานโดยไม เ อาเรื่ อ งเงิ น ๆ ทองๆ เป น สํ า คั ญ เพราะมั น ไม ใ ช เปาหมายระยะยาว ในขณะที่คนที่ไมมี self awareness ทํางานโดยดูที่เงิน เงินดีก็ทํา ผานไป สักระยะหนึ่งก็จะเบื่อและหาทางเปลี่ยนงาน Self awareness จะสามารถมองเห็นไดตอนทํา performance review คนที่สามารถพูดถึงจุดแข็ง จุดออน และใหวิจารณตนเองไดคือคนที่รับรู ตนเอง สวนคนที่ไมมี self awareness จะปกปดความผิดพลาดของตนเอง Self Regulation เปนหนึ่งในความฉลาดทางอารมณ ที่ทําใหเราเปนอิสระจากความรูสึก ของตนเอง self regulation จะทําใหสามารถควบคุมอารมณและใชอารมณในทางที่มีประโยชน แทนที่จะอารมณเสียเหมือนคนอื่น ๆ เชน ผูบริหารคนหนึ่งที่ฟงการ present

ที่ไมดีนักของ

ลูกนอง จะทําอยางไร เอะอะ โวยวาย หรือดา หรือ เงียบ มองดวยสายตาดุแลวจากไป ถามี self regulation จะตองรวบรวมคําพูดดีๆ แลวบอกลูกนองถึงการ present ที่ไมดีนั้น แลวจึงกลับไป คิ ด ถึ ง เหตุ ผ ลต า งๆ ตั้ ง คํ า ถามกั บ ตั ว เอง นั ด คุ ย กั น เพื่ อ ชี้ แ จง บรรยายความรู สึ ก และบอกถึ ง หนทางในการแกไขตอไปที่ไดคิดมาแลว self regulation สําคัญสําหรับผูนํา หนึ่งคือ การที่ สามารถควบคุมความรูสึกที่เกิดขึ้นอยางปจจุบันและการแสดงออกได คือคนที่มีเหตุผล สามารถ สรางบรรยากาศที่นาเชื่อถือ และยุติธรรม สอง คือ self regulation สําคัญในการแขงขัน สังคม ที่ มี ก ารแข ง ขั น พั ฒ นารวดเร็ ว มาก คนที่ ค วบคุ ม อารมณ ไ ด ดี ก ว า จะสามารถปรั บ ตั ว ตามการ เปลี่ยนแปลงของสังคมไดเปนอยางดี

อุปนิสัยที่ 2 เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ – หลักการของการเปนผูนําในตัวเอง จัดเปนอุปนิสัยที่สัมพันธกับ Motivation ซึ่งเปนสภาวะของบุคคลที่ถูกกระตุนและเกิด ความมุงมั่นใหเกิดพฤติกรรมที่จะบรรลุเปาหมายหรือวัตถุประสงคบางอยาง ซึ่งมี 5 ขั้นตอน 1. Tension แรงดันมีมากจนกดดัน 2. Drives กดดันทําใหเคลื่อนที่ 3. Search Behavior ทําใหเกิดการคนหาพฤติกรรม 4. Satisfied Need ตอบสนองความพึงพอใจ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

32

The 7 Habits of Highly Effective People 5. Reduction of tension จนลดระดับความกดดัน แรงขับและการลดแรงขับนี้ไมใชจะสัมพันธกันเสมอไป แรงจูงใจสามารถจําแนกประเภทไดหลายวิธี คนเรามีมูลเหตุของการจูงใจตางกัน เนื่องจากแต ละบุคคลยอมมีความแตกต างทางด านความคิ ด ความสนใจ ประสบการณ ความ ตองการ เปนตน การจูงใจของแตละบุคคลจะเปลี่ยนแปลงไดทุกโอกาส นั่นคือ ความตองการ ของคนไมสม่ําเสมอเปลี่ยนแปลงไปตามความคิด อารมณ สภาพแวดลอม ความสนใจตางๆการ จูงใจมีมากมายหลายชนิด เชน แรงจูงใจในรูปของเงิน หรือ ความตองการทางสังคม อื่นๆ เปน ตน ทฤษฏี (Theory) ที่เกี่ยวกับ Motivation

ที่สัมพันธกับอุปนิสัยที่ 2

นี้คือ Goal

Setting Theory ซึ่ง Edwin Locke อธิบายวา เปนการแสดงพฤติกรรมของบุคคลเปนผลมา จากเปาหมายอยางมีสํานึกและความตั้งใจหรือความมุงมั่นของเขา โดยการตั้งเปาหมายจะเปน กระบวนการภายในที่จะนําไปสูการแสดงออกอยางเปนรูปธรรม เนื่องจากบุคคลมีพฤติกรรมที่ มุงมั่นจะทํางานจนกวาจะบรรลุเปาหมาย และยิ่งเปาหมายมีระดับความยากมากเทาไหร บุคคล ก็ จ ะใส ค วามพยายามมากเท า นั้ น ทฤษฎี ก ารตั้ ง ค า เป า หมายมี ป ระเด็ น สํ า คั ญ คื อ การตั้ ง ค า เปาหมายจะกอใหเกิดแรงจูงใจ และประสิทธิภาพการทํางาน และมีการปอนขอมูลกลับไปยัง เปาหมาย นั่นคือ จะชวยใหผูปฏิบัติรูวาตองทําอะไร และควรตองใชความพยายามมากเทาใด เพื่อใหบรรลุเปาหมายนั้น การตั้งเปาหมายจะเกี่ยวของกับปจจัย 3 ประการคือ ความชัดเจนของ เปาหมาย ความยากของเปาหมาย การยอมรับของเปาหมาย

อุปนิสัยที่ 3 ทําสิ่งที่สําคัญกอน การเลื อ กทํ า สิ่ ง ที่ สํ า คั ญ ก อ นถื อ เป น กระบวนการของการตั ด สิ น ใจอย า งหนึ่ ง (Decision Making) ซึ่งประกอบดวย 1.Optimizing

(หาประโยชนสูงสุด)

ทําไดก็ตอเมื่อตองมีเปาหมายชัด กําหนดกฏเกณฑ

พิจารณาและใหนน.(Weight) – หาทางเลือก – ตีคาของแตละทางเลือก – ใช Intuitive เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด 2.Satisfaction (ใชหลักความพอใจ:พอดีๆ) 3.Implicit Favorite (แอบชอบอยู มักใหเหตุผลเขาขาง) 4. Intuitive (เปนพลัง หยั่งเห็น บอกเหตุผลไมได) การใช Optimizing Model เพื่อชวยในการตัดสินใจประกอบดวย

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

33

The 7 Habits of Highly Effective People 1.เปาหมายตั้งใหชัดๆ 2.ตองมีตัวเลือก 3.ชัดเจนวาใชวิ่งที่เราใหความสําคัญ 4.เลือกทางเลือกที่ใหประโยชนสูงสุด อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบชนะ/ชนะ Conflict/Negotiation เนื่ อ งจากการเจรจาต อ รองเป น สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได ใ นหลาย ๆ สถานการณ ดังนั้นความหมายของการเจรจาตอรอง (Negotiation)

จึงอาจมีกําหนดแตกตาง

กันตามแตละสถานการณ อาจนิยามไดวา คือ “ การหารือเพื่อที่จะไดขอตกลงในการบรรลุความ ตองการ ”หรือ” การใหไดสิ่งที่ตองการ โดยตองพึ่งผูอื่น ” หรือ ” กระบวนการที่ฝายตาง ๆ ที่มี วัตถุประสงคขัดแยงกันตั้งขอกําหนดขึ้นมาเพื่อใหความรวมมือกัน” สถานการณของการเจรจา ตอรองจะประกอบดวย :- กติกาและกฎระเบียบซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได, ตองมีผูเกี่ยวของสอง ฝายหรือมากกวา, มีเปาหมายหรือวัตถุประสงคชัดเจน, มีการใชแผนกลยุทธและกลวิธีตอฝาย ตรงขาม, ตองอาศัยทักษะเพื่อชวยใหเกิดประสิทธิผล การเจรจาตอรองแบงเปน Distributive (แบบแบงสรร) คือเปนแบบ Zero-Sum or Fixed Pie รวมแลวไมเหลือเศษ ได-เสีย Integrative (แบบประสานประโยชน) คือมีทางออกมากกวา1 BATNA คาต่ําสุดที่จะยอมรับ ขอเสนอในการเจรจาตอรอง(Best Alter. To Negotiated Agreement)

อุปนิสัยที่ 5 : เขาใจผูอื่นกอนแลวจึงใหผูอื่นเขาใจเรา จัดเปนอุปนิสัยที่กอใหเกิด ความฉลาดทางอารมณ (Emotional

Intelligence)

ซึ่งจะเกี่ยวของกับความสามารถในการเขาใจตนเองและผูอื่น การติดตอสัมพันธกับบุคคลและ การปรับตัวหรือเผชิญกับสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง เขาใจผูอื่นกอนแลวจึงใหผูอื่นเขาใจเรามี ความสัมพันธเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณในดานเกี่ยวกับ Empathy หมายถึง การใสใจความคิดความรูสึกของผูอื่นโดยไตรตรองรวมกับหลายๆ ตัวแปร กอใหเกิดการตัดสินใจอยางชาญฉลาด ตัวอยางเชน มีแผนกหนึ่งในบริษัทจําเปนตองไล พนักงานออก ผูจัดการคนแรก กลาวดวยความเสียใจกับกลุมพนักงานที่ตองถูกใหออก ผูจัดการ คนที่สองพูดตางไป บอกเกี่ยวกับความกังวลและสับสนของตนเองและสัญญาวาจะบอกทุกคน อยางเปนธรรม จะเห็นวาผูจัดการคนแรกกลัววาพนักงานจะเศรา สวนผูจัดการคนที่สองหวงวา คําพูดตนเองจะทําใหพนักงานรู สึกแย

ผูจัดการคนที่สองจะดี กวาคนแรก เนื่ องจากยังทําให

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

34

The 7 Habits of Highly Effective People พนักงานที่ดีและเกงจะยังอยูกับบริษัทตอไป empathy

สําคัญมากสําหรับการเปนผูนํา ดวย

เหตุผลสามประการ คือ 1.กระตุนใหเกิดการทํางานเปนหมูคณะ 2.มีความเขาใจและมีการสื่อสาร ตอวัฒนธรรมที่ตางกันไดงาย 3.ทําใหเกิดความสัมพันธอันดีระหวางบุคคลและลดอัตราพนักงาน ลาออก ผูนําตองมี empathy เพื่อพัฒนาคนและรักษาคนดี ๆ ไว ทุกวันนี้หากคนดีออกไปจาก บริษัทก็จะนําความรูความสามารถของบริษัทออกไปดวย การใชระบบแนะแนวและวัดผลสามารถ ชวยใหเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานได เพิ่มความพึ่งพอใจในงาน การประยุกตใชระบบแนะ แนวและวัดผลดีที่สุดคือ nature of relationship ผูนําที่ดีจะคอยคิดถึงคนที่เราดูแลอยูตลอด จะรูจักการใหขอแนะนําตอบแทนที่ดี รูจักการผลักดันเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานที่ดี และรูวาเมื่อไหรควรหยุด หรือผลักดัน Social skill Social skill and empathy เปนความสามารถในการจัดการความสัมพันธ กับคนอื่น social

skill

ไมใชเพียงแคความเปนมิตร แตยังรวมถึงความมี spirit

และมี

ความสามารถในการนําพาทีมงานไปสูจุดหมายที่เราตองการอีกดวย คนที่มี social skill จะตองมี ความคุ น เคยกั บ ที ม งานและจะต อ งมี ค วามสามารถที่ จ ะเข า ใจลั ก ษณะของแต ล ะบุ ค คล ความสามารถที่จะสรางความปรองดองเพื่อใหทีมงานทํางานไดดวยความคิดที่วา จะทํางานให สําเร็จดวยตัวคนเดียวนั้นเปนไปไมได ผูนําจะสามารถบริหารความสัมพันธอยางมีประสิทธิภาพ เมื่อเคาเขาใจและสามารถควบคุมอารมณรวมถึงสามารถเขาใจความรูสึกคนรอบขาง ในขณะที่ การสรางแรงบันดาลใจจะชวยสนับสนุนทักษะในการเขาสังคมติดตอกับผูอื่น คนพวกนี้จึงมอง โลกในแงดีแมในความลมเหลว ตัวอยางเชน ความสามารถในการปรับตัวเพื่อจัดการทีมงาน เปน ความเห็นอกเห็นใจ และสามารถในการชักจูงผูอื่นใหคลอยตาม เปนทั้ง self awareness, self regulation, Motivation และ empathy ผูชักจูงที่ดีจะรูวาเมื่อไหรควรขอรอง กระตุนหรือยอมรับ ในเหตุผล ทําใหทํางานไดดีกวา ทําใหเปนผูทํางานรวมกับผูอื่นไดดีเนื่องจากแรงบันดาลใจใน การทํางานจะถูกสงตอไปยังผูอื่น ผลักดันใหรวมกันแกปญหาได นอกจากนี้ยังรวมถึงการพูดคุย เรื่องตลกกับคนทั่วไปเปนการการสรางความสัมพันธที่ดีตอไปในอนาคต Social skill จึงเปน กุ ญ แจสํ า คั ญ สํ า หรั บ ความสามารถของผู นํ า ขององค ก รในการจั ด การความสั ม พั น ธ อ ย า งมี ประสิทธิภาพ.

เพื่อใหงานสําเร็จโดยอาศัยความรวมมือจากผูอื่น

สถานการณที่มีปญหา

สามารถนําเอาทักษะ EQ

Application

ตัวอยาง

มาใชได กรณีมีความขัดแยงในที่ทํางาน

ผูบริหารควรใช EQ ในการแกปญหาโดยใชทักษะดานการอานผูอื่น โดยตองเขาใจอารมณและ ความรูสึกของกลุมที่มีความขัดแยงวามีปญหาอะไรเกิดขึ้น และหาทางแกไขปญหาโดยสงเสริม ใหผูอื่นรูจักอารมณของตนเองและเนนความเห็นอกเห็นใจรับรูความรูสึกของคนอื่นและเขาใจ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

35

The 7 Habits of Highly Effective People ความคิดของคนอื่น เพื่อใหเกิดความสงเสริมความสมานฉันทในการทํางาน ตัวอยาง เมื่อลูกนอง ในที่ทํางานมีปญหากัน ผูบริหารจะตองเรียกลูกนองที่มีปญหาเขามาคุยพรอมกันและหาวิธีแกไข ปญหา ผูบริหารจะตองเนนใหรูจักเห็นอกเห็นใจในการทํางานรวมกัน ผูบริหารจะตองสอนใหรูจัก ควบคุมอารมณของตนเองเพื่อส งเสริมให เกิดการมี ประสิทธิภาพในการทํางาน กรณีหัวหนา มี ปญหากับลูกนอง หัวหนาควรตองใชทักษะ EQ ในดานการรูจักตนเองและดานการครองสติโดย รูจักควบคุมอารมณของตนเอง ไมพูดทํ าร ายจิตใจลูกนอง ไมใชอํานาจในการสั่ งการเพื่อให ไดมาซึ่งในสิ่งที่ตนเองตองการตัวอยาง หัวหนาสั่งงานแตลูกนองทําไมไดตามที่หัวหนาคาดหวัง หั ว หน า ไม ค วรแสดงอารมณ ที่ ทํ า ให ลู ก น อ งหมดกํ า ลั ง ใจในการทํ า งาน อี ก ทั้ ง หั ว หน า ควร มอบหมายงานใหตรงกับทักษะความชํานาญในแตละบุคคล ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษา EQ 1)ทําใหทราบถึงทักษะตางๆของความฉลาดทางอารมณ 2)ทําใหพัฒนาตนเองสูความเปนนําที่ดีไดในอนาคต 3)นําความรูที่ไดรับมาพัฒนาบุคลากรใน องค ก รเพื่ อ ให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลในการทํ า งาน และเป น จุ ด เริ่ ม ต น ในการก า วขึ้ น ไปสู ตํ า แหน ง ผูบริหาร4).สอนใหรูจักเขาใจในการทํางานรวมกับผูอื่นและนําพาทีมงานใหบรรลุวัตถุประสงค ขององคกร อุปนิสัยที่ 6 หลักการรวมมืออยางสรางสรรค TEAM THAT WORKS TEAM กลุมคนที่มารวมตัวกันอยางมีความหมาย เพื่อสราง ผลงานรวมกัน ซึ่งหมายถึง Targeting Empowering Accelerating Motivating หลักสําคัญ ของการทํางานแบบทีมเวิรค คือ trust(ความคาดหวังเชิงบวกวาคนอื่นจะไมปฎิบัติการใดๆที่เปน การฉวยโอกาส) การประสานสัมพันธ สมานสามัคคี เปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน มีความคิด ทัศนะ มุมมองที่สอดคลองกัน มุงไปในทิศทางเดียวกันอยางสรางสรรคและจรรโลง เพื่อความสําเร็จ รวมไมใชความสําเร็จของฝายใดฝายหนึ่ง ซึ่งเหมาะสมกับภาวะการแขงขันและรูปแบบการ ทํางานในโลกยุคปจจุบัน การทํางานเปนทีมจึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งในการที่จะนําทีมงาน ไปสูความสําเร็จ ดังนั้นการศึกษาเรื่องการทํางานเปนทีมจึงเปนเรื่องที่ทุกองคกรควรให ความสําคัญ เพื่อใหสมาชิกในทุกระดับสามารถนําไปปฏิบัติงานไดจริงเพื่อจะนําองคกรไปสูการ พัฒนาอยางไมมีที่สิ้นสุด ความแตกตางระหวาง Team กับ Group A Work Group เปนกลุมที่มีปฏิสัมพันธกันในเชิงแลกเปลี่ยนขอมูล และตัดสินใจเพื่อ ชวยเหลือสมาชิกภายในหนวยงานที่รับผิดชอบ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

36

The 7 Habits of Highly Effective People A Work Team เปนกลุม หรือการรวมตัวกันที่ทําใหเกิด Positive synergy นั่นก็คือ ผลของการรวมแรงรวมใจกันของแตละคน ทําใหเกิดประสิทธิภาพที่มากกวาผลที่เกิดจากแตละ คนรวมกัน ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษาเรือ ่ ง Team work การทํางานเปนทีม ทําใหสมาชิกในทีมสามารถประสบความสําเร็จและบรรลุเปาหมายใน การทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก สมาชิกทุกคนจะตองนําทักษะความรูทม ี่ ีอยูมาใช ในการทํางานรวมกัน ซึ่งทําใหเกิดความสามัคคีภายในทีม นอกจากนี้ยังชวยใหสามารถทํางาน ไดมากขึ้นในเวลาเทาเดิม การทํางานเปนทีม ชวยทําใหสมาชิกแตละคนในทีมสามารถแสดง ความคิดเห็นของตัวเองออกมา เพื่อใชในการปรับปรุงแกไขในการทํางานไดอยางหลากหลาย นอกจากนี้ยังทําใหสมาชิกแตละคนสามารถควบคุมอารมณในการทํางานไดอีกดวย เราสามารถ ประยุกตใชการทํางานแบบ Virtual Team เพื่อชวยใหสมาชิกแตละคนสามารถทํางานรวมกัน โดยไมมีปญหาเรื่องระยะทาง ถึงแมวาสมาชิกแตละคนอยูกันคนละพื้นที่ก็สามารถทํางาน รวมกันไดโดยไมมีอุปสรรค การประยุกตใชกับทีมของเรา สถานการณกอนการศึกษาเรื่อง Team That Work คิดเอง วิธีการประยุกตใชของทีมเรา เมื่อไดรับงาน ทีมจะมีการทบทวนความเขาใจในงานนั้น เพื่อใหสมาชิกมีความเขาใจตรงกันใน วัตถุประสงค,มีการประชุมวางแผนและกําหนดแนวทางในการทํางาน แลวมีการมอบหมายงาน ใหสมาชิกแตละคนอยางชัดเจน พรอมทั้งกําหนดวันสงงานที่แนนอน,สมาชิกแตละคนในทีมมี ความไววางใจซึ่งกันและกัน เชื่อมั่นในศักยภาพในการทํางานของสมาชิก,ในทีมมี Coordinator คอยติดตามความคืบหนาของงานในแตละคนที่ไดรับมอบหมาย หากใครมีปญหา สมาชิกในทีม ก็จะระดมสมองชวยกันหาทางออก,สมาชิกในทีมใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันทั้งในเรื่องการ ทํางานและปญหาสวนตัว,มีการเปลี่ยนหนาที่ของสมาชิกในแตละงาน เชน การแปล , การทํา Presentation เปนตน,มีการชื่นชมกันเองระหวางสมาชิกในทีม (และเปดโอกาสใหแตละคน สามารถชมตัวเองได) สถานการณภายหลังการศึกษาเรื่อง Team That Work ความเกรงใจ ยังคงมีอยูจา แตเรากลาแสดงความคิดเห็นมากขึ้น,มีการแบงงานที่ชัดเจนใหกับสมาชิกแตละ คน ทําใหทํางานเสร็จเร็วขึ้น,ความหลงใหลในอํานาจถูกบั่นทอนลง จากความเชื่อใจที่มีมากขึ้น ,รับฟงความคิดเห็นของสมาชิกในทีม และเริ่มปฎิบัติตามดวยความเต็มใจมากขึ้น,มีการผนึก กําลังภายในของสมาชิกในทีม กอใหเกิด Synergy ทําใหสามารถทํางานใหเสร็จไดทันเวลาที่ กําหนด

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

37

The 7 Habits of Highly Effective People ขอเสนอแนะเกี่ยวกับ Team That Work 1. หัวหนาเปนตัวอยางของลูกนอง บทบาทของหัวหนาคือการเปนผูนําที่ดีนั่นเอง หัวหนาที่ดี ไมเพียงแตจําเปนจะตองมีเหตุผล (บางครั้งอารมณขันยังเปนสวนที่จําเปนในการชวยดึงดูด ใหลูกนองกลาที่จะเขาหาหัวหนา) แตยังตองรูจักรับฟงความเห็นของผูรวมงานและมีใจเปน กลาง ประกอบกับความสามารถที่จะมองเห็นปญหาชัดเจน จนนําออกมาบอกใหทุกคนได รวมกันแกไขไดดวย สําคัญที่สุดคือตองไมลืมที่จะปฏิบัติใหเปนตัวอยางที่ดีสําหรับลูกนอง ดวย 2. ลูกนองตองทําใหนายชม ลูกนองเองยังตองหัดรูจักสังเกตธรรมชาติในการทํางานของ หัวหนาทีมดวย ทั้งนี้อาจขึ้นอยูกับลักษณะของงานที่แตละความรับผิดชอบดวย อาจจะใชวิธี หัดสังเกตลักษณะนิสัยในการทํางานของเจานาย นั่นไมไดมีความหมายถึงการพยายามที่จะ ประจบประแจง แตการทํางานเปนทีมใหเกิดความสงบสุขนั้น คงไมตางไปจากการอยูรวมกัน ภายใตชายคาเดียวกัน ดังนั้นเรื่องเล็กๆ นอยๆ อยางเชนการแตงกายใหเรียบรอย การแสดง ความคิดเห็นในสวนที่ตนสามารถทําได เปนตนนั้น อาจเปนสิ่งที่จะชวยใหทํางานรวมกันได อยางเปนสุข โดยไมนามองขามไปเปนอยางยิ่ง 3. "เรา" คือคําสําคัญของ "ทีม" พยายามสรางคําวา "ทีม" ขึ้นในจิตสํานึกของการทํางาน รวมกันสําหรับแตละคนใหได จะชวยใหการทํางานรวมกันมีความชัดเจนยิ่งขึ้น การทํางาน ของทุกคนนั้นเปนการทํางานเพื่อทีม เราเหนื่อย...ทีมก็เหนื่อยเชนกัน ทั้งนี้พยายามแยกแยะ คําวา "สวนตัว" ใหออกจาก "สวนรวม" ใหได เนื่องจากการทํางานมีทั้งสวนของความ รับผิดชอบสวนบุคคล และการชวยกันทํางานในขอบเขตของสวนรวม บอยครั้งที่คนในทีม ปลอยใหคําวา "สวนตัว" ครอบงําความคิดมากกวา "สวนรวม" ปญหาจึงมักเกิดขึ้นในการ ทํางานอยูเสมอ 4. รูจักวางแผนการทํางาน การวางแผนมีบทบาทเปนตัวชวยใหเกิดการทํางานที่กาวไป ขางหนาอยางมีระบบแบบแผน และชัดเจนในทิศทางที่จะรวมกันเดินไปของทีมอยางยิ่งเลย ทีเดียว ซึ่งนั่นมีสวนอยางมากที่จะทําใหการทํางานรวมกันงายขึ้นสําหรับทุคนในทีมได 5. ระดมความคิดเปนสวนสําคัญ เนื่องจากหลายความคิดเห็น จะชวยใหทีมไดขอมูลที่จําเปนใน การทํางานที่หลากหลายและคอนขางที่จะครอบคลุมกวา จากความคิดของใครเพียงคนใด คนหนึ่งเทานั้น การชวยกันมีความคิดเห็นระหวางคนทํางานในทีม คืออีกสิ่งหนึ่งที่จําเปน สําหรับทํางานรวมกัน 6. ตองมีความชัดเจน สรางความชัดเจนใหกับคนในทีมสําหรับทุกๆ เรื่องที่เกี่ยวของกับการ ทํางาน เริ่มตั้งแตขอบเขตและความรับผิดชอบในการทํางานของแตละสวนและหนาที่ของ

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

38

The 7 Habits of Highly Effective People แตละคนในทีม นอกจากจะไมทําใหเกิดความสับสน อันจะนําพาใหเกิดสิ่งที่ตกหลนไปใน การทํางานแลว ยังจะชวยไมใหเกิดความขัดแยงในลักษณะของการกระทบความรูสึกกันโดย ไมตั้งใจอีกดวย 7. อยาใชอารมณ อารมณนับเปนสิ่งตองหามสําหรับการทํางานรวมกัน ถาระเบิดอารมณเขาใส กัน ปญหาที่เกิดขึ้นก็จะไมพบกับทางออกของการแกไข อีกทั้งยังเสียเวลาในการทํางานไป เสียเปลาๆ ดวย 8. ตองรูจักผอนคลาย การทํางานรวมกันเปนการปรับตัวเขาหากันของคนในทีม นอกจากนั้น การยืดหยุนสําหรับทุกๆ เรื่องยังนับเปนคุณสมบัติในการทํางานรวมกับความชัดเจนในขอ ปฏิบัติตางๆ คือสวนที่ทุกคนจะตองยึดเอาไวเปนหลักสําคัญ นั่นไมไดหมายความวาให สามารถหยอนยานในการทํางานได แตบางครั้งความตึงเครียดและกฎระเบียบที่ตายตัว ก็ อาจจะไมใชทางออกที่ดีเสมอไป สิ่งที่จําเปนที่สุดคือความสมดุลของทั้งสองขั้วที่กลาวมา ตางหาก 9. เขาใจทีมและรูจักคู เนื่องจากจะทําใหการทํางานรวมกันนั้นเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน อีกทั้ง เมื่อบางครั้งเกิดความขัดแยง ความราบรื่นในการทํางานจะเกิดขึ้นไดดวยความเขาใจกันของ คนในทีม 10. คนหาปญหาใหพบ การทํางานอาจจะไมราบรื่นไปเสียหมด ปญหาเปนสิ่งธรรมดาที่สามารถ เกิดขึ้นในการทํางานทุกอยาง ดังนั้นสิ่งที่ทีมควรทําคือหาใหพบวาอะไรบางเปนปญหาใน การทํางานสําหรับทีม เปนหนาที่ของทุกคนอีกขอหนึ่งที่จะตองชวยกัน หยิบยกปญหาที่ เกิดขึ้นในการทํางาน ออกมารวมดวยชวยกันแกไข เพื่อชวยใหการทํางานไดเคลื่อนที่เขา ใกลเปาหมายและความสําเร็จไดงายยิ่งขึ้นในที่สุดนั่นเอง

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

39

The 7 Habits of Highly Effective People OB Tree link habit

ความเห็นกลุม วิธีการเรียนรูเพื่อใหมีประสิทธิภาพ (How we learn?) •

ทาทายตนเอง (Self Challenging)



คนหาตัวเอง (Self Searching)



เปดใจ (Be Open)



การจดบันทึกถึงสิ่งที่จะทํา (Take Note for Action)



มีสวนรวมอยางกระตือรือรน (Active Participation)



การรักษาสัญญา (Commit to Exercise)



การแบงปนกับสวนรวม (Share with All)



ถามเมื่อไมแนใจ/ไมเขาใจ (Ask if not clear)



สนุกสนาน (Fun and Enjoyable)

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

40

The 7 Habits of Highly Effective People ประโยชนจากการมีอุปนิสัยทั้งเจ็ด7 Habits Application •

มีความสุขในชีวิต (Life Happiness)



รูวาจะประสบความสําเร็จอยางไร (How to achieve)



มีพัฒนาการทางดานอาชีพ (Career Improvement)



เกิดความสมดุลของชีวิต (Life Balance)



คนพบตัวเอง (Self Discovery)



รูจักคุณคาตน (Self Value)

ตัวอยางที่ 1

"อาจารย ป ว ย เป น คนโชคร า ยที่ สุ ด คนหนึ่ ง พ อ แม ข องท า น อบรมสอนสั่ ง ให ท า นเป น คนที่ ซื่อสัตยที่สุด ในประเทศที่เต็มไปดวยความทุจริต ผลที่ตามมา ก็คือ ทานตองตอกรกับผูทุจริตที่ ทรงอํานาจมาตลอด ทานเคยตอกรกับ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต แตเมื่อจอมพลสฤษดิ์ ขอรอง ทานใหชวยเหลือในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ทานก็รับปากและทํางาน อยางไมเห็นแก เหนื่อยยาก แตทานไมเคยขายตัว เดินหนาตอตาน การทุจริตฉอฉล ทุกรูปแบบ สงผลใหทาน มี ศัตรูหนาใหม เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในหมูผูทรงอิทธิพล... ทานมีบทบาทสําคัญในการเสริมสรางความ แข็งแกรงใหแกเศรษฐกิจทุนนิยมไทย แตทานกลับถูกกลาวหาวา เปนคอมมิวนิสต" ดร. อัมมาร สยามวาลา Proactive -- ทานเปนคนที่ซื่อสัตย Begin with the End in Mind – ทานมีเปาหมายที่จะพัฒนาประเทศ และตอสูกับความทุจริต Think Win/Win – แมวาทานเคยตอกรกับจอมพลสฤษดิ์ แตเมื่อจอมพลสฤษดิ์ขอรองใหทาน ชวยเหลือดานเศรษฐกิจ ทานก็มีความใจกวางและเห็นแกประโยชนสวนรวม สวนตัวทานก็ถือได วาบรรลุวัตถุประสงคที่จะตอบสนองประเทศ ประเทศชาติก็มีความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจดวย Be understand, To be understood – แนวทางของ มูลนิธิบูรณะชนบทฯ คือ

" ไปหาชาวบาน อยูกับเขา เรียนรูจากเขา วางแผนกับเขา ทํางานกับเขา เริ่มจากสิ่งที่เขารู สรางจากสิ่งที่เขามี สอนโดยชี้ใหเห็น เรียนจากการทํา..." Synergize – การรวมมือกับจอมพลสฤษดิ์ในการพัฒนาประเทศ เปนสวนหนึ่งของการรวมพลัง ประสานความตาง

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

41

The 7 Habits of Highly Effective People ตัวอยางที่ 2 ความคิดเห็นที่ : 86 คนดีในดวงใจทานหนึ่งที่ดิฉันอยากบอกเลา ณ ที่นี้ ทานสอนหนังสือดวยหัวใจของความเปนครูแท มิใชเพียงการ ทํ า งานตามหน า ที่ การทุ ม เท ค น คว า การพยายามหากุ ศ โลบายให นั ก ศึ ก ษาเข า ใจเรื่ อ งที่ ย ากๆ ให เ ข า ใจง า ยๆ และสนุ ก ไม เ ครี ย ด ไม กดดันนักศึกษา แตก็ไดเนื้อหาสาระเต็มที่ ทานคอยสังเกตพฤติกรรม และหาวิธีพัฒนานักศึกษาเปนรายคน โดยนักศึกษาไมรูตัว แมจะโดนกดดันจากผูบริหารหลาย เรื่อง ทานก็อดทน ไมเคยทอถอย ไมเคยทําใหประสิทธิภาพในการสอนลดลง ทานย้ําใหนักศึกษามองโลกในแงดีอยูเสมอ และทานก็ทําใหดูเปนตัวอยางที่เยี่ยมยอด อัญชลี อุชชิน 509 ถนนสาทรใต เขตสาทร กทม. 10120 คําอวยพร :- ขอใหสันติสุขจงมีแดทุกทาน โดยคุณ : อัฐชลี เมื่อ 6 สิงหาคม 2547, 14:30 น. www.budpage.com/budboard/show_content.pl?b=1&t=4128

ดร.มณีวรรณ : Proactive – แมวามีปญหา แตทานก็อดทน ไมเคยทําใหประสิทธิภาพในการสอนลดลง Begin with the End in Mind – ครูแท Be understand, To be understood – สังเกตพฤติกรรมและหาวิธีพัฒนานักศึกษารายคน Synergize – การพยายามหากุศโลบายใหนักศึกษาเขาใจเรื่องยากไดงาย โดยอาจใหนักศึกษา มีสวนรวมใน workshop

BA 610 Organization Behavior and Human resource Management

42

Related Documents

7-7-7
November 2019 103
7-7
May 2020 63
7
October 2019 35
7
April 2020 16
7
November 2019 27
7
November 2019 34