4r

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 4r as PDF for free.

More details

  • Words: 481
  • Pages: 24
Rethink, Reduce, Reuse และ Recycle นำำกลับมำใช้

แปรสภำพกลับมำใช้ใหม่

เริ่มใช้เป็นครั้งแรกในประเทศเยอรมัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520

green label หรือ eco-label

คณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมไทย (Thailand Business Council for Sustainable Development, TBCSD) ร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรม สำานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้ริเริม่ โครงการฉลากเขียว เมื่อพ.ศ. 2536

เป็นฉลากที่มอบให้แก่ผลิตภัณฑ์ที่มีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า เมื่อนำามาเปรียบเทียบกับ ผลิตภัณฑ์ที่ทำาหน้าทีอ่ ย่างเดียวกัน โดยที่คุณภาพ ยังอยู่ในระดับมาตรฐานที่กำาหนด ผลิตภัณฑ์เหล่านี้หมายถึงสินค้าและบริการหลายประเภท ยกเว้น ยา เครือ่ งดื่มและอาหาร ข้อกำาหนดของผลิตภัณฑ์ โดยทั่วไปจะคำานึงถึง - การจัดการทรัพยากรทั้งที่สามารถนำากลับมาใช้ได้ใหม่ (renewable resources) และ ที่ไม่สามารถนำากลับ มาใช้ได้ใหม่ (non-renewable resources) อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด - การลดมลพิษทางสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาที่สำาคัญของประเทศ โดยส่งเสริมให้มกี ารผลิต การขนส่ง การบริโภค และการกำาจัดทิ้งหลังใช้แล้วอย่างมีประสิทธิภาพ - การนำาขยะมูลฝอยทัว่ ไปและขยะอันตรายกลับมา reuse หรือ recycle

ผลิตภัณฑ์เป้าหมายที่อยู่ในโครงการฉลากเขียว ได้แก่ 1. กระดาษรีไซเคิล ( กระดาษพิมพ์ เขียน และกระดาษอนามัย ) 2. ผลิตภัณฑ์สำาเร็จรูปที่ทำาจากพลาสติกที่ใช้แล้ว แปรรูปกลับมาใช้ใหม่ 3. หลอดฟลูออเรสเซนซ์ประหยัดพลังงาน 4. สีอิมัลชันไม่ผสมสารตะกั่วและสารปรอท 5. ตู้เย็นประหยัดพลังงานไฟฟ้า 6. เครื่องสุขภัณฑ์ประหยัดนำ้า 7. เครื่องปรับอากาศประหยัดพลังงานไฟฟ้า 8. ถ่านไฟฉายสูตรไม่ผสมปรอท 9. สเปรย์ไม่มีสารซีเอฟซี Fresh air packaging 10. สารซักฟอกที่ไม่ทำาลายสิ่งแวดล้อม

การนำาพลาสติกกลับมา แปรสภาพใช้ใหม่

พลาสติกโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1) เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastics) 2) เทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting)

1) เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastics) เป็นพลาสติกทีอ่ ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน และแข็งตัวเมื่อเย็นลง พลาสติกประเภทนี้สามารถนำามาหลอมและขึ้นรูปใหม่ได้ •

เทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting) เป็นพลาสติกทีเ่ กิดปฎิกริยาเคมีเมื่อนำาไปขึ้นรูป พลาสติกประเภทนี้ไม่สามารถนำาไปหลอมเพื่อนำามาใช้ใหม่ เช่น โพลียูเรเธน (PUR) อีพอกซี่ (Epoxy) ฟีโนลิค (Phenolic) เมลามีน (Melamine)

การจำากัดขยะพลาสติกสามารถทำาได้หลายวิธี เช่น การนำาไปฝัง (Burial) หรือนำาไปถมดิน (Landfill) การนำาไปเผาเป็นเชื้อเพลิง (Incineration) และการนำากลับมาใช้ใหม่ (Recycle)

กระบวนการ Recycle พลาสติก

cleaning

ลดขนาดของวัสดุ (size reduction) บดหรือตัดโดยเครื่อง Shreder และ Granulator การแยกกระดาษ (paper separation) โดยใช้หลักการของ Gravimetric หรือ Densitometric

วิธีทนี่ ิยม Fluidize bed หรือ Cyclone

การแยกส่วนที่เป็นโลหะ (metal removal) โดยใช้หลักการของ Gravimetric หรือ Densitometric กรณีเหล็ก: แยกโดยใช้แม่เหล็ก โลหะอื่นๆ: แยกโดยใช้ไฟฟ้าสถิตย์

วัสดุทเี่ ป็นตัวนำาไฟฟ้า จะสูญเสียประจุได้รวดเร็วกว่า วัสดุฉนวน (มีการวิ่งของ e- ) ดังนั้นเมื่อผ่านขยะพลาสติกในไฟฟ้าสถิตย์ วัสดุที่เป็นฉนวน จะถูกดึงดูดไว้ (เนือ่ งจากมีประจุตกค้างอยู่มากกว่า)

การลอยตัวในของเหลว (direct flotation) การแยกวัสดุโดยใช้ตัวทำาละลาย

หลังจากแยกประเภทพลาสติกแล้ว - ทำาความสะอาด - นำากลับมาหลอมและขึน้ รูปใหม่ (อาจมีการผสมเม็ดพลาสติกใหม่เข้าไป) - นำามาทำาพลาสติกผสม (polymer blend)

Batteries to Recycle:

ถ่านแบตเตอรีเป็นวัสดุก่อมลพิษ ดังนั้นต้องมีวิธกี ำาจัดที่ดี •

ตัวอย่างของ Rechargeable/recyclable batteries: Nickel-Cadmium (Ni-Cd) ใช้กบั มือถือ laptops notebook PCs กล้องถ่ายรูป ไฟแฟลช FAX, remote controls, portable TVs, CD and tape players

2. Nickel Metal Hydride (Ni-MD) ใช้กบั มือถือหรืออุปกรณ์ทตี่ ้องใช้พลังงาน ความเร็วสูงและมีขนาดเล็กๆ 3. Lithium (Li-ion) ใช้กบั computer memory และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

พิษของแบตเตอรี -มีโลหะและไอโลหะ (Hg, Cd, Ni, Pb) ที่เป็นพิษ -มีปริมาณของกรดสูง -เป็นอันตรายต่อตา ผิวหนังและสิ่งแวดล้อม การกำาจัดแบตเตอรี -ฝังกลบ (secure landfill) -เผา (incineration)

ประเทศไทยมีการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างไร สำานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเป็น 3 หน่วยงาน คือ 1. กรมควบคุมมลพิษ 2. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 3. สำานักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

4 ธันวาคม วันสิ่งแวดล้อมไทย

พระราชดำารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันสิ่งแวดล้อมไทย 4 ธันวาคม 2547

“.... ปัญหาสำาคัญคือ เรือ่ งสิ่งแวดล้อม เรือ่ งนำ้าเสียกับขยะ ได้ศึกษามาแล้วเหมือนกันทำาไม่ยากนัก ในทางเทคโนโลยีทำาได้ และในเมืองไทยเองก็ทำาได้ ... แต่ทที่ ี่ทำานั้น ต้องมีที่สัก 5,000 ไร่ ขอให้ผู้เชีย่ วชาญต่างๆ มาช่วย ร่วมกันทำา ทำาได้แน่ ! ....”

5 มิถุนายน วันสิ่งแวดล้อมโลก

คำาขวัญในวันสิ่งแวดล้อมโลก ปี 2547 “ร่วมพิทักษ์ ร่วมรักษ์ทะเลไทย”

กระบวนการบำาบัดกากของเสีย • กระบวนการทำาให้เสถียร (Stabilization) - ผสมสารเคมีกับกากของเสีย เพื่อป้องกันการปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม

2. การฝังกลบ (Secure Landfill) - ขุดหลุมฝังกากของเสีย ต้องมีการออกแบบหลุมอย่างดี

• Fuels Blending

- เป็นพลังงานทางเลือก (alternative source of energy) ใช้กากของเสียที่เข้ากันได้จากหลากหลายโรงงาน มาผสมกัน และใช้เป็น เชื้อเพลิงของโรงงาน cement manufacturing.

4. Chemical-Physical Treatment

- กระบวนการบำาบัดนำ้าเสียของโรงงานและกากตะกอน (sludge) นำ้าที่ถูกบำาบัดจะต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐาน กากตะกอน จะถูกนำาไปทำาให้เสถียร ก่อนฝังกลบ

อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000 มาตรฐานว่าด้วยระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการจัดการระบบโครงสร้างองค์กร ระเบียบปฏิบัติกระบวนการ และทรัพยากร เพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000 แบ่งออกเป็น 3 กลุม่ ได้แก่ 1. ระบบการบริหาร 2. การตรวจวัดและประเมิน 3. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มของผลิตภัณฑ์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ก. การปิดฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม ข. การประเมินวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์

การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม Environmental Impact Assessment - จะช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ประเทศมีจำากัดอย่างระมัดระวังและ มีประโยชน์สูงสุด ประเทศไทยเริม่ ใช้ระบบการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524

พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้กำาหนดประเภทและขนาดของโครงการจำานวน 22 ประเภท ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ต่อสำานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม เพื่อพิจารณาประกอบการอนุญาตหรืออนุมัติโครงการ การใช้หลักวิชาการในการทำานายหรือคาดการณ์เกี่ยวกับผลกระทบทั้งในทางบวกและทางลบ ของการดำาเนินโครงการพัฒนาทีจ่ ะมีตอ่ สิ่งแวดล้อมในทุกๆด้าน ทัง้ ทางทรัพยากรธรรมชาติและทางเศรษฐกิจสังคม เพือ่ หาทางป้องกัน และใช้ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งส่วนใหญ่ไม่สามารถฟื้นกลับมาได้ อย่างมีประโยชน์ มีประสิทธิภาพสูงสุดและคุม้ ค่าทีส่ ุด ตลอดจนการเสนอแนะมาตรการในการแก้ไขผลกระทบ (Mitigation Measure) และแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม(Monitoring Plan) ทั้งในระหว่างการก่อสร้างและดำาเนินการโครงการ

ประโยชน์ของ EIA เป็นหลักประกันในการใช้ทรัพยากรที่ยาวนาน ( long - term sustainable development ) วางแผนการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้หลักวิชาการเลือกมาตรการที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติและค่าใช้จา่ ยน้อย หามาตรการในการป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นนั้น อย่างเหมาะสมก่อนดำาเนินการ เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในการลงทุนหรือพัฒนาโครงการ วางแผนกำาหนดแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบต่างๆ ทั้งทีอ่ าจเกิดขึ้น

ศึกษาเพิ่มเติมจาก

ตัวอย่างรายงาน

http://www.oepp.go.th/eia โครงกำรเหมืองแร่ทองคำำ บริษัท ทุ่งคำำ จำำกัด บทนำำ •รำยละเอียดเกี่ยวกับโครงกำร •สถำนภำพสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน •ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมำตรกำรป้องกันและแก้ไข •สรุปมำตรกำรติดตำมตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม

ก่อตั้งเมื่อ 4 กรกฎาคม 2546

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ส่งเสริมการคัดแยกขยะ - ลดปริมาณขยะ - เพิ่มรายได้ - ลดมลภาวะและปัญหาสิง่ แวดล้อม - ประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ

ขอให้นักศึกษาทุกคน โชคดีและตั้งใจค้นคว้า และเป็นบัณฑิต มข. ที่ดีในอนาคต

Related Documents

4r
November 2019 2
Mpi 4r
June 2020 5
Ucmas 1/2d - 3/4r
November 2019 10