42th Tistr Hydroponic Present2

  • Uploaded by: owen
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 42th Tistr Hydroponic Present2 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,797
  • Pages: 71
เทคโนโลยีการปลูกพืชไรดิน (Soilless Culture Technology)

ราเชนทร วิสุทธิแพทย ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)

การปลูกพืชไรดิน คือ ? การปลูกพืชไรดินหมายถึง วิธีการใดก็ตามที่ทําใหการปลูกพืช ไดโดยไมตองใชดิน แตจะใชวัสดุอื่นๆ แทน เชน การปลูกพืชใหรากลอย อยูในอากาศ การปลูกพืชในสารละลาย หรือการปลูกพืชในวัสดุปลูกเชน ทราย แกลบ และวัสดุอื่นๆ โดยใหสารละลายธาตุอาหารที่จําเปนตอการ เจริญเติบโตแกรากโดยตรง ในปริมาณที่เหมาะสมแทนธาตุอาหารที่มีอยู ในดิน ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาการปลูกในสวนที่เกี่ยวของกับดิน เชน ดินมีคุณภาพต่ํา มีความเค็มสูงหรือมีโรคระบาด อีกทั้งการปลูกพืชไรดิน นี้ยังสามารถควบคุมคุณภาพและปริมาณของผลผลิตใหไดตามตองการ

ประวัติการปลูกพืชไรดิน ป 372-287 กอนคริสตกาล : สวนลอยฟาของบาบิโลน หนึ่งในเจ็ดสิ่ง มหัศจรรยของโลก ป 100 กอนคริสตกาล : ชาวอียิปตมีการปลูกพืชในน้ํา ป ค.ศ. 1600 นายเฮลมอนท นักวิทยาศาสตรเบล เบลเยี่ยม ปลูกตนไม หนัก 5 ปอนด ในดินแหง 200 ปอนด แลวรดดวยน้ําฝนเปนเวลา 5 ป พบวาตนไมหนัก เพิ่มขึ้นถึง 169 ปอนด ในขณะที่น้ําหนักดินหายไปนอยกวา 2 ออนซ สรุปวาพืชไดรับสารประกอบจากน้ําเพื่อใชในการเจริญเติบโต แต ไม ไ ด ส รุ ป ว า พื ช ต อ งการก า ซคาร บ อนไดออกไซด แ ละออกซิ เ จนจาก อากาศดวย

ประวัติการปลูกพืชไรดิน ป ค.ศ. 1699 นายวูดวอรด ชาวอังกฤษไดพิสูจนวา สามารถปลูกพืชในน้ําที่ใช ละลายดิน ซึ่งน้ํานี้จะมีธาตุอาหารพืชตางๆ จากดินละลายอยู กลางศตวรรษที่ 19 นายบูซิงเกาล ไดทําการปลูกพืชในทราย หิน และถาน โดยมีการให สารละลายธาตุอาหารพืช ป ค.ศ. 1860 นายแชคส คิดคนสารละลายธาตุอาหารพืชมาตรฐานขึ้นเปนคนแรก

ประวัติการปลูกพืชไรดิน ป ค.ศ. 1979 ดร. คูเปอร เปอร ไดพัฒนาการปลูกแบบ “ Nutrient Film Technique หรือ NFT ” หลั ง จากนั้ น ระบบการปลู ก พั ฒ นาอย า งรวดเร็ ว มี ร ะบบใหม ๆ เกิดขึ้นอยางมากมาย จากการสํารวจพื้นที่การปลูกพืชไรดิน ป พ.ศ. 2535 มีพื้นที่ปลูกถึง 52,406 ไร

พื้นที่การปลูกพืชไรดินในประเทศตางๆ (ที่มา : International Congress on Soilless Culture. 1993.) ประเทศ เนเธอรแลนด อิสราเอล ฝรั่งเศส สเปน สหราชอาณาจักร เบลเยี่ยม ญี่ปุน แอฟริกาใต เยอรมันนี

พื้นที่ปลูก (ไร) 22,500 4,063 3,750 3,125 3,125 2,500 2,500 2,500 1,563

ประเทศ ออสเตรเลีย แคนาดา รัสเซีย นิวซีแลนด สวีเดน อิตาลี สหรัฐอเมริกา โปรตุเกส ไตหวัน

พื้นที่ปลูก (ไร) 1,250 1,250 938 625 625 313 313 250 219

รูปแบบของการปลูกพืชไรดิน I. การปลูกพืชโดยใชวัสดุปลูก (Substrate Culture) แผนฟองน้ํา ทราย กรวด ขี้เลือ่ ย แกลบ ขุยมะพราว

I. การปลูกพืชโดยใชวัสดุปลูก (Substrate Culture)

รูปแบบของการปลูกพืชไรดิน II. การปลูกพืชในสารละลาย (Water Cultures, Hydroponics) ไมใชวัสดุปลูก คือ ปลูกพืชลงบน สารละลายธาตุอาหารโดยตรง Hydro = Water (น้ํา) Ponos = Work (งาน) Hydroponic = Water-working หมายถึง การทํางานของสารละลายผานทางรากพืช

II. การปลูกพืชในสารละลาย (Water Cultures, Hydroponics)

รูปแบบของการปลูกพืชไรดิน II. การปลูกพืชในละอองสารละลาย (Aeroponics) ให ส ารละลายธาตุ อ าหารพื ช ในรู ป ของ การพ น เป น หมอกหรื อ ละอองไปยั ง ราก พืชที่ถูกแขวนอยูในอากาศในที่มืด ใชศึกษาเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืช รากแพร ก ระจายได ดี เ พราะไม มี สิ่ ง กี ด ขวางและไดรับอากาศเต็มที่

II. การปลูกพืชในละอองสารละลาย (Aeroponics)

ความเหมือนของการปลูกใชดิน และการปลูกพืชไรดิน แสง น้ํา ธาตุอาหาร คารบอนไดออกไซด ชนิดพืช อุณหภูมิ ความเปนกรดดาง

ความตางของการปลูกใชดิน และการปลูกพืชไรดิน ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ

ใชดิน การควบคุมสมดุลธาตุอาหาร ยาก ขอจํากัดดานพื้นที่ จํากัด การควบคุมปริมาณอากาศบริเวณราก ยาก การใชน้ํา สิ้นเปลือง การปองกันโรคราก ยาก ผลผลิต ไมสม่ําเสมอ แรงงาน มาก การลงทุน ต่ําถึงปานกลาง ทักษะ จําเปนนอย

ไรดิน งาย ไมจํากัด งาย ประหยัด งาย สม่ําเสมอ นอย สูง จําเปนมาก

การปลูกพืชไรดิน ในสถานีอวกาศ

ขอดีของการปลู ของการปลูกพืชไรดิน วางแผนการผลิตไดแนนอนตามความตองการของตลาด สามารถปลูกพืชไดในสภาพดินที่ไมเหมาะสม สถานที่ที่มีพื้นดินนอยหรือ ชุมชนในเมือง ควบคุมธาตุอาหารพืชไดแนนอนกวาการปลูกพืชในดิน ควบคุมปญหาโรคพืชและแมลงไดงาย ใชพื้นที่เพาะปลูกนอยกวา ใหผลตอบแทนสูงกวาการปลูกพืชในดิน สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได รวดเร็วและสม่ําเสมอ ลดปริมาณน้ําที่ตองใหกับพืชลงไมนอยกวา 10 เทาตอพื้นที่ปลูกเดียวกัน สามารถปลูกไดใกลแหลงตลาด ลดคาขนสง ระยะเวลาในการนําไปสูตลาด

ขอดอยของการปลูกพืชไรดิน คาใชจายในการลงทุนครั้งแรกคอนขางสูง : อุปกรณและโรงเรือน ตองมีความรูพื้นฐานทางดานการจัดการดานปุยเคมี น้ํา สรีรวิ รวิทยา ของพืช รวมทั้งเทคนิคการควบคุมเครื่องมือและอุปกรณไดเปนอยางดี มิฉะนั้นจะเกิดขอจํากัดในการบริหารจัดการการปลูกพืชไรดิน ตองดูแลบํารุงรักษาอยางสม่ําเสมอตอเนือ่ ง วัสดุปลูกบางชนิดสลายตัวยาก เมื่อเลิกใชกลายเปนขยะที่สรางปญหา ใหกับสิ่งแวดลอม

ปจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโตของการปลูกพืชไรดิน ปจจัยทางดานพันธุกรรม ปจจัยทางดานสิ่งแวดลอม ƒ แสง : กระบวนการสังเคราะหแสง ƒ อากาศ : กาซออกซิเจน และคารบอนไดออกไซด ƒ น้ํา

: องคประกอบของพืช & ละลายธาตุอาหารพืช

ƒ วัสดุปลูก :

อนินทรียสาร – อินทรียสาร – สังเคราะห

ค้ําจุน – เก็บอาหาร – กักน้ํา – แลกเปลี่ยนอากาศ ƒ สารละลายธาตุอาหารพืช : Macro & Micro

ธาตุอาหารสําหรับการปลูกพืชไรดิน ธาตุอาหารที่พืชไดจากน้ําและอากาศ คารบอน (C) ธาตุอาหารหลักที่ตองจัดหาใหกับพืช ไฮโดรเจน (H) ไนโตรเจน (N) ออกซิเจน (O) ฟอสฟอรัส (P) โปแตสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) กํามะถัน (S)

ธาตุอาหารสําหรับการปลูกพืชไรดิน ธาตุอาหารรองที่ตองจัดหา คลอรีน (Cl) ทองแดง (Cu) โบรอน (B) เหล็ก (Fe) สังกะสี (Zn) โมลิบดินัม (Mo)

ธาตุอาหารเสริมพิเศษ โคบอลต (Co) ซิลิกอน (Si) โซเดียม (Na) อลูมิเนียม (Al) พืชจะดึงดูดธาตุอาหารจากทางรากและใบ ไดในสภาพของไอออนซึ่งมี 2 ประเภท คือ ƒ ไอออนลบ เชน NO3-, SO42-, PO4ƒ ไอออนบวก เชน Ca2+, Mg 2+, K +, NH 4+

ปริมาณธาตุอาหารที่มีผลตอพืช สารเคมี

ขาดแคลน

พอเพียง เปนพิษ

ชวงที่ใชในการ ผสมสูตรสารอาหาร

.......................... ppm 1 .........................

ไนโตรเจน ในรูปของ NO3ในรูปของ NH4+

0.14 - 10 0.007 - 5

3.0 - 70 0.03 - 25

โปแตสเซียม เมื่อมี NH4+ เมื่อไมมี NH4+

0.4 - 6 0.04 - 4

10 - 39 1.1 - 5

แมกนีเซี่ยม แคลเซี่ยม ฟอสฟอรัส

0.05 - 6 0.02 - 22 0.003 – 4

0.2 - 9 0.24 40 0.007 - 2.6

20.0 – 200 0.4 - 100 0.03 - 4

49 - 210 0 - 154 59 - 390 24 - 60 80 - 200 15 - 195

ลักษณะเฉพาะของธาตุอาหาร ƒ ไนโตรเจน : สงเสริมการเจริญเติบโตทางตนและใบ อาการขาดธาตุ : ใบแกมีสีเหลือง ไมเจริญ และตายในเวลาตอมา และใบออนไมเจริญ

ƒ ฟอสฟอรัส : อาการขาดธาตุ :

สงเสริมการติดดอกและออกผล การเจริญลดลง ลดการเกิดใจผัก

ƒ โปแตสเซียม

: สงเสริมคุณภาพของผลผลิต ปริมาณแปงและน้ําตาล อาการขาดธาตุ : ใบแหงและมีสีน้ําตาลบริเวณขอบใบ

ƒ แคลเซียม

: สงเสริมการแตกยอด และการเจริญเติบโตดาน โครงสรางของพืช และความตานทานตอโรคและ แมลง อาการขาดธาตุ : การตายของใบออน บริเวณยอดตาย (Tip burn)

ƒ แมกนีเซียม

: ชวยในการสรางอาหารเพราะเปนสวนประกอบ ของคลอโรฟล อาการขาดธาตุ : เกิดลายบริเวณใบแก

การควบคุม pH และ EC ในสารละลายธาตุอาหารพืช pH : คาความเปนกรด – ดางของสารละลาย พืชดูดอาหารไดดีหรือไมขึ้นกับคาความเปนกรด – ดาง หรือคาของ pH EC : คาการนําไฟฟาของสารละลาย เพื่อใหปริมาณสารอาหารเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืช จึง จําเปนตองควบคุมปริมาณธาตุอาหาร โดยตรวจวัดทางออมจากคาการนํา ไฟฟาของสารละลาย คือ น้ํากับธาตุอาหารทั้งหมด มิใชปริมาณที่แทจริงของ ธาตุใดธาตุหนึ่ง ดังนั้นจึงตองมีการเปลี่ยนสารอาหารเปนระยะทุก ๆ 3 สัปดาห

การควบคุม pH ในสารละลาย สาเหตุการเปลี่ยนแปลง เมื่อพืชดูดอาหารผานเขาทาง ราก พืชจะปลอย H3O+ หรือ OHออกมา H3O+ ทําให pH ลดลง (เปนกรด) OH- ทําให pH เพิ่มขึ้น (เปนดาง) pH ที่เหมาะสม คือ 5.5-7.0

การควบคุม pH ในสารละลาย

ไนโตรเจน โปแตสเซียม ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม เหล็ก แมงกานีส โบรอน สังกะสี ทองแดง

การปรับลด – เพิ่มคา pH ของสารละลาย ลดคา pH ของสารละลาย กรดกํามะถัน กรดดินประสิว กรดเกลือ กรดน้ําสม

H2SO4 HNO3 HCl CH3COOH

เพื่อเพิ่มคา pH ของสารละลาย โซดาไฟ เถา ผงฟู

NaOH KOH NaHCO3

การควบคุม EC ในสารละลาย คาปกติของ EC จะอยูในชวง 2.0-4.0 milliMhos/cm การแปลงคา EC ของสารละลาย 1 milliMhos/cm = 1 millisiemen/cm = 650 ppm EC ที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืช ตระกูลแตง

1.5-2.0 mMho/cm

มะเขือเทศ

2.5-3.5 mMho/cm

พืชผัก

1.8-2.0 mMho/cm

สูตรสารละลายธาตุอาหารที่นิยมใช Knop’s formula (พ.ศ. 2408) • Potassium nitrate

• Calcium nitrate • Monopotassium phosphate • Magnesium sulphate รวม น้ํา

20 g 80 g 20 g 20 g 140 g 100 l

ปริมาณธาตุอาหารสําหรับการเตรียม Stock solutions Solution 1 ผสมในน้ํา 100 ลิตร ƒ Calcium nitrate 7.5 kg Solution 2 ผสมในน้ํา 100 ลิตร ƒ Potassium nitrate 9.0 kg ƒ Potassium dihydrogen phosphate 3.0 kg ƒ Magnesium sulphate 6.0 kg ƒ Iron chelate EDTA 300 g ƒ Manganese sulphate 40 g ƒ Borax 37 g ƒ Copper sulphate 8g ƒ Zinc sulphate 4g ƒ Ammonium molybdate 1g

ปริมาณธาตุอาหารที่ใชกันในสหรัฐอเมริกา

• สูตรสําหรับใชในฤดูรอน (Summer formula)

สูตรปุย กรัมตอน้าํ 100 ลิตร ƒ Potassium nitrate 110 ƒ Calcium sulphate (Gypsum) 76 ƒ Magnesium sulphate 52 ƒ Monopotassium phosphate (Treble supers) 31 ƒ Ammonium sulphate 14 รวม 283 ppm สูตรนี้จะใหธาตุอาหารดังนี้ ƒ N 180 ƒ P 63 ƒ K 410 ƒ Ca 220 ƒ Mg 50

• สูตรสําหรับใชในฤดูหนาว ( Winter formula) สูตรปุย กรัมตอน้าํ 100 ลิตร ƒ Potassium nitrate 88 ƒ Magnesium sulphate 55 ƒ Monopotassium phosphate (Treble supers) 47 ƒ Calcium nitrate (Gypsum) 85 รวม 275 สูตรนี้จะใหธาตุอาหารดังนี้ ppm ƒ N 100 ƒ P 95 ƒ K 380 ƒ Ca 220 ƒ Mg 50

ปริมาณธาตุอาหารที่ใชในประเทศอังกฤษ

• สูตรที่ 1

สูตรปุย กรัมตอน้าํ 100 ลิตร ƒ Potassium nitrate 55 ƒ Sodium nitrate 64 ƒ Ammonium sulphate 12 ƒ Monopotassium phosphate (Treble supers) 44 ƒ Magnesium sulphate (Epsom salt) 52 ƒ Calcium sulphate (Gypsum) 86 รวม 283 สูตรนี้จะใหธาตุอาหารดังนี้ ppm ƒ N 180 ƒ P 63 ƒ K 410 ƒ Ca 220 ƒ Mg 50

• สูตรที่ 2 สูตรปุย ƒ Monopotassium phosphate ƒ Calcium nitrate ƒ Magnesium sulphate (Epsom salt) ƒ Ammonium sulphate รวม สูตรนี้จะใหธาตุอาหารดังนี้ ƒ N ƒ P ƒ K ƒ Ca ƒ Mg

กรัมตอน้าํ 100 ลิตร 31 107 58 9 205 ppm 145 70 90 180 58

• สูตร T-Four ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ

สูตรปุย Ca(NO3)2 KNO3 Iron-chelate KH2PO4 MgSO4 H3BO3 ZnSO4 MnSO4 CuSO4 (NH4)6 Mo7O24 (NH4)SO4

กรัมตอน้าํ 1000 มิลลิลิตร 177.20 177.70 10.00 21.95 253.55 1.43 1.09 0.76 0.058 0.028 8.85

อุปกรณที่จําเปนสําหรับการปลูกพืชไรดิน โรงเรือน โรงเรือนปลูก โรงอนุบาล โรงเรือนเพาะกลา ƒ คมนาคม, ไฟฟา, แหลงน้ําที่มีคุณภาพ ภาชนะและวัสดุที่ใชในการปลูก ƒ ราง , แผนพลาสติก, รางไมบุดวยแผนพลาสติก วัสดุปลูก ƒ วัสดุปลูกที่เปนของแข็ง, วัสดุปลูกที่เปนของเหลว อุปกรณตรวจวัด pH meter, EC meter

อุปกรณที่จําเปนสําหรับการปลูกพืชไรดิน ปุยหรือธาตุอาหารพืช น้ํา ปม ไฟฟา เมล็ดพันธุ วัสดุอุปกรณตา งๆ ที่เกี่ยวของ ƒ ถังใสสารละลาย ƒ ถุงมือ ƒ เครื่องชั่ง ƒ วัสดุผูกมัด

การเพาะตนกลา ƒ ƒ ƒ

การเพาะในกระบะเพาะกลา การเพาะกลาในแผนฟองน้ํา การเพาะกลาในวัสดุปลูก

การปลูกพืชไรดินระบบ NFT (Nutrient Film Technique) ƒ รากแชในสารละลายในระบบฟลมน้ํา ƒ สารละลายธาตุอาหารไหลเปนแผนฟลม ƒ ความกวางราง 5 - 35 ซม. สูง 5 ซม. ยาว 5 - 20 ม. ƒ อัตราการไหลของสารละลาย 1 – 2 ลิตร/นาที/ราง ƒ วัสดุใชทําราง plastic, PVC, สังกะสีเคลือบ, อลูมิเนียมบุภายในดวยพลาสติก ƒ ถังเก็บสารละลาย ปมหมุนเวียนสารละลาย

การปลูกพืชไรดินระบบ NFT (Nutrient Film Technique)

การปลูกพืชไรดินระบบ NFT (Nutrient Film Technique)

การปลูกพืชไรดินระบบ DRFT (Dynamic Root Floating Technique) ƒ ƒ ƒ

รากแชสารละลายในระบบน้ําลึก ระบบถาดน้ําปลูกพืช ระบบเพิ่มอากาศใชแบบ air compressor

การปลูกพืชไรดินระบบ DRFT (Dynamic Root Floating Technique)

การจัดการการผลิตพืชโดยการปลูกพืชไรดิน ƒ องคประกอบทีส่ ําคัญของการผลิต ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ

อุปกรณ สูตรธาตุอาหาร สายพันธุ สภาวะแวดลอม ตลาด สิ่งแวดลอม ฯลฯ

ปญหาหลักๆ ที่พบในประเทศไทย 1. สภาพอากาศไมอํานวย ลดการเจริญเติบโตของราก ออกซิเจนละลายในสารละลายลดลง การเจริญเติบโตของโรคพืชที่เกิด จากราและแบคทีเรีย

อุณหภูมิทเี่ หมาะสมเพื่อการปลูกพืชชนิดตางๆ

* อุณหภูมิที่เหมาะสมของรากพืช ประมาณ 20-30 องศาเซลเซียส

2. ขาดรูปแบบโรงเรือนที่เหมาะสม การถายเทอากาศ การถายเทอุณหภูมิ ระดับความชื้น (ไมควรต่ํากวา 50%) 3. ขาดสูตรสารอาหารที่เหมาะสม พืชแตละชนิดใชอาหารไมเหมือนกัน 4. ตลาดไมมีความชัดเจน 5. ขาดพันธุพืชที่ตองการ พืชสวนใหญที่ปลูกในระบบนี้ จะเปนผักสลัด ซึ่ง เมล็ดมีราคาสูง

6. ขาดความรูในการจัดการ ตองมีประสบการณ มีการฝกปฏิบัติ กอนทําจริง 7. ขาดวัสดุปลูกที่เหมาะสม วัสดุปลูกจากตางประเทศราคาสูง 8. ขาดแหลงน้ําที่มีคุณภาพ

การวิเคราะหธาตุอาหารในพืช (จากน้ําหนักแหง) ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ

คารบอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม กํามะถัน คลอรีน โซเดียม

30.0-45.0 % 6.0 % 30.0-50.0 % 0.2-4.0 % 0.3-3.0 % 0.3-3.5 % 0.1-10.0 % 0.05-1.0 % 0.2-2.0 % 0.2 - 1.0 % 0.1 - 1.0 %

ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ

เหล็ก โบรอน สังกะสี ทองแดง แมงกานีส ฟลูออไรด โมลิบดินัม นิเกิ เกิล ซิลิกอน

20.0 - 100.0 ppm 10.0 - 100.0 ppm 5.0 - 75.0 ppm 1.0 - 25.0 ppm 5.0 - 50 ppm 0 - 1.0 ppm นอยมาก นอยมาก นอยมาก

การเพิ่มความเขมขนคารบอนไดออกไซด แหลงของ CO2

ถังบรรจุ

ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ ƒ

ไมระเบิด ไมยุงยาก ถูก งาย, ปลอดภัย, มีถัง แพงมาก นอย 100% ขึ้นอยูกับผูจําหนาย ถังเก็บกาซ, ตัวควบคุม เครื่องมือวัดอัตราการไหล

ความปลอดภัย การติดตั้ง ารใชงาน การลงทุน การซอมบํารุง ประสิทธิภาพ คุณภาพของแกส อุปกรณที่จําเปน

การเผาไหม Propane

การเผาไหมแกสธรรมชาติ

Burner, CO Burner, CO งาย, ราคาปานกลาง มีความซับซอน, แพง มีถังแกส งายที่สุด, ไมมีถัง ปานกลาง ถูกที่สุด ปานกลาง มืออาชีพ อยูในเกณฑดี คอนขางต่ํา, มีไอน้ํามาก ดีมาก มีกํามะถันปน ถังเก็บกาซ, ตัวควบคุม ขอตอตางๆ ตองดีเยี่ยม เครื่องปนไฟและหัวฉีด ตัวควบคุม, เครื่องปน ไฟแบบพิเศษ

คุณภาพของน้ําที่สามารถใชในการปลูกพืชไรดิน สารเจือปนในน้ํา จํานวนสูงสุดที่มีได (ppm) • โซเดียม 11 • คลอรีน 35 80 • แคลเซียม • แมกเนเซียม 12 • กํามะถัน 48 • ไบคารบอเนต 245 • เหล็ก 28 • แมงกานีส 600 • ทองแดง 65 • สังกะสี 325 • โบรอน 270 • ฟลูออรีน 475 • คาการนําไฟฟา 0.5 mS/cm

คุณสมบัติ กําจัดยาก มีมากเปนพิษ กําจัดยาก มีมากเปนพิษ เปนธาตุที่พืชตองการ เปนธาตุที่พืชตองการ พืชใชไมมาก กําจัดยาก มีผลตอ pH และ EC มีมากตกตะกอน เปนธาตุที่พืชตองการ เปนธาตุที่พืชตองการ เปนธาตุที่พืชตองการ เปนธาตุที่พืชตองการ มีมากเปนพิษ กําจัดยาก

การเตรียมน้ําเพื่อการปลูกพืชไรดินแบบอุตสาหกรรม แหลงน้ํา

กรองทราย ตกตะกอน

วิเคราะหน้ําดิบ

Reverse Osmosis แมเหล็กแรงสูง

ปรับ อุณหภูมิน้ํา

ปรับ pH

ถังเก็บ

ถังเติม OZONE และ Chlorine

ผสมสารละลาย ธาตุอาหาร

กรองละเอียด

จายไปตามระบบตางๆ มีการปมอากาศอยางตอเนื่อง

การทําสารละลายธาตุอาหารขึ้นอยูกับปจจัย ? ƒ อายุของพืช ƒ ระยะของการเจริญเติบโต การเพาะเมล็ด ระยะเจริญเติบโตชวงแรก ระยะติดผล ระยะออกดอก

ƒ ชนิดของพืช พืชกินใบ : พืชใหผล : รากสะสมอาหาร : ไมดอก : ไมประดับ : ไมยืนตน : ไมเลื้อย :

คะนา, สลัด มะเขือเทศ, แตงเทศ แครอท, เทอนิป เยอบีรา แคกตัส, ฟโลเดนดรอน สม องุน

ƒ อะไรที่เราตองการใหพืชผลิต ƒ น้ํามันหอม ƒ สีของใบพืช (แคโรทีน : สีแดงสด)

ƒ สถานที่เพาะปลูกพืช ƒ กลางแจง ƒ โรงเรือนเพาะปลูก ƒ ภายในอาคารโดยใชแสงจากหลอดไฟ

ƒ พืชโตชาหรือแทบไมโตเลย ƒ อากาศหนาวจัด ƒ ใหธาตุอาหารนอย ƒ รดน้ํามากไป ƒ เหี่ยว ƒ แหงเกินไป ƒ รอนมาก ƒ ดินขาดน้ําหรือพืชขาดน้ํา ƒ ไมออกดอก, แตกตา ƒ รอนมาก ƒ รดน้ํามากเกินไป ƒ ทิ้งใบทันที ƒ ชอค ƒ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ƒ การยายที่ปลูก ƒ การเปลี่ยนแปลงแสงไฟ ƒ อากาศหนาว ƒ อากาศแหง ƒ รดน้ํามากไป ƒ เสนใบและกาน ƒ โรคจากเชื้อรา ƒ รดน้ํามากไป ƒ ความชื้นในอุณหภูมิสูงไป

ƒ ใบซีด ยืดยาว ƒ ƒ ƒ ƒ

แสงนอย รอนจัด ความชื้นมาก ใหอาหารนอย

ƒ ใบ Variegated เปลี่ยนเปนสีเขียว ƒ แสงนอยมาก

ƒ ใบเหลืองและตามดวยใบรวง ƒ รดน้ํามาก ƒ อากาศแหง ƒ ลมเย็นจัดพัด

ƒ ขอบใบเปนสีน้ําตาลหรือเปนจุดบน ใบ ƒ ƒ ƒ ƒ

รอน อากาศแหง ไหมจากแสงแดด ใหสารละลายธาตุอาหารเขมขนสูง

ƒ ใบเหลืองแตยังดูแข็งแรง

ƒ น้ําหรือวัสดุปลูกเปนดางมากไป ƒ ใชน้ํากระดางในการเตรียม สารละลาย

สิ่งที่ผูปลูกพืชไรดินควรปฏิบัติ สภาพแวดลอม การไหลของอากาศ , การถายเทอากาศ อุณหภูมิ อากาศ วัสดุปลูก สารละลาย ความชื้น ความเปนกรด - ดาง คาการนําไฟฟาของสารละลาย

ตนพืช สี ขนาด รูปราง การแสดงออกของใบ ƒ ขาดธาตุอาหาร ƒ ปกติ

การเจริญของดอก ƒ ผสม ƒ ชวยผสม

การติดผล ƒ มาก ƒ นอย (ตองปลิดผลทิ้ง?)

กาวดักแมลง อุปกรณ ปม ทอ หัวฉีด , หัวจาย ( ลม และสารละลาย ) เครื่องตั้งเวลา ทอจายสารละลาย การรัว่ ไหล กรอง ระดับของสารละลายในถังเก็บ การปนเปอนเชื้อจุลินทรีย

หลักในการตัดสินใจผลิตพืชไรดิน ศักยภาพของตลาด ศักยภาพทางการผลิต ศักยภาพของเทคโนโลยี ศักยภาพของบุคลากร ศักยภาพทางการเงิน

I. ศักยภาพของตลาด เปนสิ่งสําคัญที่สุดในการตัดสินใจผลิต ซึ่งตองคํานึงถึง ลักษณะของตลาด ขนาดของตลาด แนวโนมของตลาด มาตรฐานและคุณภาพ คูแขงขันและลูกคา อุปทานและอุปสงค พฤติกรรมของผูบริโภค

II. ศักยภาพทางการผลิต สภาพแวดลอมและสภาพภูมิอากาศ ปริมาณผลผลิต ตนทุนการผลิต จุดคุมทุน ประสิทธิภาพของการผลิตและคูแขงขัน

III. ศักยภาพทางเทคโนโลยี เทคโนโลยีการใชพันธุพืช เทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตพืช : การขยายพันธุพืช การคัดเลือก การปรับปรุงพันธุ เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการเกษตรกรรม : การปลูก การปฏิบัติ ดูแลรักษา เทคโนโลยีการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว เทคโนโลยีโทรคมนาคม : เทคโนโลยีไฟฟา เทคโนโลยีระบบขอมูล เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการจัดการ

IV. ศักยภาพทางบุคลากร คุณสมบัติของบุคลากร มีความรอบรูเกี่ยวกับศาสตรของการจัดการในเชิงธุรกิจ มีความคิดและเขาใจการผลิตแบบนักธุรกิจ มีความรูหลากหลายทางวิชาการ มีจิตใจที่จะพัฒนาอาชีพเกษตร มีมนุ มนุษยสัมพันธดี มีความขยันหมั่นเพียร มีความตรงตอเวลา

V. ศักยภาพทางการเงิน แหลงเงินทุน : ในระบบ นอกระบบ การจัดการเงิน : พิจารณาความคุมทุนระหวางคาใชจาย และรายไดที่เกิดขึ้น

แนวทางการแกปญหาการปลูกพืชไรดิน ในประเทศไทย 1. ดานการผลิต ƒ วัสดุปลูก : ตองปรับสภาพวัสดุปลูกใหเปนกลาง ƒ วัสดุปลูกที่ลดอุณหภูมิของน้ํา : ระดับอุณหภูมิที่รากพืชแช อยูที่ 20-30 OC ƒ รางวัสดุปลูกที่ลดอุณหภูมิของน้ํา 2. ดานการตลาด หาตลาดรองรับทั้งในและตางประเทศ เพื่อกระตุนการผลิตของ ภาคเอกชน

แนวทางการแกปญหาการปลูกพืชไรดิน ในประเทศไทย 3. ดานการสงเสริม สรางความเขาใจของผูบริโภค สงเสริมการคนควาวิจัยดานการผลิต ลดตนทุนการผลิต เชน ลดราคา-ภาษีวัสดุอุปกรณที่ใช สงเสริมการรวมกลุมผูผลิต รักษาคุณภาพผลผลิต

T h a n k y o u

Related Documents


More Documents from ""

May 2020 19
June 2020 22
May 2020 12
June 2020 13
Ftp Server
October 2019 35