2530

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 2530 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,935
  • Pages: 20
ระเบียบกรุงเทพมหานคร วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนําสงเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ.2530 ---------อาศัยอํานาจตามความในขอ 18 (2) แหงขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2529 ผูวา ราชการกรุงเทพมหานครกําหนดระเบียบวาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การเก็บรักษา เงิน การนําสงเงิน และการตรวจเงิน ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา `ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การ เก็บรักษาเงิน การนําสงเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ.2530' ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิก (1) ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บ รักษาเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ.2519 ลงวันที่ 29 กันยายน 2519 (2) ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บ รักษาเงิน และการตรวจเงิน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2520 ลงวันที่ 18 สิงหาคม 2520 (3) ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บ รักษาเงิน และการตรวจเงิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2521 ลงวันที่ 17 มกราคม 2521 (4) ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บ รักษาเงิน และการตรวจเงิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2521 ลงวันที่ 8 มีนาคม 2521 บรรดาระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่งอื่นใดในสวนทีก่ ําหนดไวแลวในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือ แยงกับระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน หมวด 1 ขอความทั่วไป ขอ 4 ในระเบียบนี้ `หนวยงาน' หมายความวา หนวยงานตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 และสวนราชการตามประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง การแบงสวนราชการ ภายในหนวยงานและการกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการของกรุงเทพมหานครที่ไมต่ํากวาระดับกอง `หัวหนาหนวยงาน' หมายความวา หัวหนาหนวยงานตําแหนงปลัดกรุงเทพมหานคร ผูอํานวยการสํานัก หัวหนาสํานักงานคณะกรรมการขาราชการกรุงเทพมหานคร เลขานุการผูวาราชการ กรุงเทพมหานคร เลขานุการสภากรุงเทพมหานคร ผูอํานวยการโรงพยาบาล ผูอํานวยการกอง หัวหนากอง

เลขานุการสํานัก ผูอํานวยการเขต หรือหัวหนาหนวยงานที่ดํารงตําแหนงเทียบไดไมต่ํากวานี้ `หนวยการคลัง' หมายความวา หนวยงาน ซึ่งมีหนาที่เกีย่ วกับการรับเงิน การเบิกจายเงิน การ ถอนเงิน การนําสงเงิน การฝากเงิน และการเก็บรักษาเงิน และใหหมายความรวมถึงงานการคลังของ สํานักและงานการคลังของสํานักงานเขตดวย `หัวหนาหนวยการคลัง' หมายความวา หัวหนาหนวยงาน ซึ่งมีหนาที่เกี่ยวกับการรับเงิน การ เบิกจายเงิน การถอนเงิน การนําสงเงิน การฝากเงิน และการเก็บรักษาเงิน ทั้งนี้ ใหรวมถึงหัวหนางานคลัง ของสํานักงานเลขานุการสํานัก และหัวหนางานคลังสํานักงานเขตดวย `เจาของงบประมาณ' หมายความวา หนวยงานที่ไดรับงบประมาณรายจาย ไมวาจะเปน งบประมาณรายจายทีต่ ั้งไวสาํ หรับหนวยงานนั้น ๆ โดยเฉพาะ หรือเปนงบประมาณรายจายทีต่ ั้งไวใน งบกลางและใหหมายความรวมถึงหนวยงานที่ทําการเบิกและจายเงินแทนเจาของงบประมาณดวย `ขาราชการ' หมายความวา ขาราชการกรุงเทพมหานคร `เงินประจํางวด' หมายความวา เงินประจํางวดที่เจาของงบประมาณไดรับอนุมัติใหเบิกกับ หนวยการคลัง `อนุมัติฎีกา' หมายความวา อนุญาตใหจายเงินจากหนวยการคลัง `หลักฐานการจาย' หมายความวา หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตาม ขอผูกพันถูกตองแลว และใหรวมตลอดถึงใบนําสงเงินตอหนวยการคลังดวย `ใบสําคัญคูจาย' หมายความวา หลักฐานการจายเงินทีเ่ ปนใบเสร็จรับเงิน ใบรับรองการจายเงิน หลักฐานของธนาคารแสดงการจายเงินแกเจาหนี้ หรือหลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ ธนาคาร ทั้งนี้ รวมถึงใบนําสงเงินตอหนวยการคลัง `เงินยืม' หมายความวา เงินทีห่ นวยงานจายใหแกบุคคลใดยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทาง ไปราชการที่เกี่ยวของกับกรุงเทพมหานคร หรือปฏิบัติราชการอื่นใดในหนาที่ของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ไมวาจะจายจากงบประมาณรายจาย เงินทดรองราชการ หรือเงินอื่นใดของกรุงเทพมหานคร `ป' หมายความวา ปงบประมาณ `งบเงินรายรับรายจาย' หมายความวา งบรายรับรายจายที่เกิดขึ้นในรอบปงบประมาณ โดย แสดงรายรับจริงและรายจายจริง ขอ 5 บรรดาแบบพิมพ แบบรายงานการเงิน เอกสาร สมุดบัญชี และทะเบียนตาง ๆ ที่ใชในการ เบิกจายเงินและรายงานทางการเงิน ตลอดจนวิธีใช ใหเปนไปตามที่ปลัดกรุงเทพมหานครกําหนด ขอ 6 ผูมีอํานาจดําเนินการตามระเบียบนี้ จะมอบอํานาจเปนหนังสือใหแกผูดํารงตําแหนงใดก็ ไดโดยใหคํานึงถึงระดับตําแหนงหนาที่และความรับผิดชอบของผูที่จะไดรับมอบอํานาจเปนสําคัญ หากเกิด การเสียหายขึน้ ผูมอบและผูรับมอบจะตองรับผิดตามกฎหมาย ขอ 7 ระเบียบนี้มิใหใชบังคับเกี่ยวกับเงินอุดหนุนเฉพาะกิจทีไ่ ดรับจากรัฐบาล

หมวด 2 การเบิกเงิน ขอ 8 การเบิกเงิน ใหหนวยงานเจาของงบประมาณ หรือหนวยงานผูทําการเบิกแทนหรือ หนวยงานเจาของเงินนอกงบประมาณ ขอเบิกจากหนวยการคลัง โดยตัง้ ฎีกาเบิกเงินตามที่กําหนดไวในขอ 9 ขอ 9 ฎีกาเบิกเงินมีดังนี้ (1) ฎีกาเบิกเงินรายจายตามงบประมาณ (ยกเวนเงินเดือนและคาจาง) (2) ฎีกาเบิกเงินเดือนและคาจาง (3) ฎีกาเบิกเงินนอกงบประมาณ (4) ฎีกาเบิกเงินนอกจาก (1) (2) และ (3) ขอ 10 การเบิกเงินกับหนวยการคลังใดใหทาํ ไดแตเฉพาะภายในวงเงินประจํางวด เวนแตกรณี การเบิกเงินที่ไมเกี่ยวกับงบประมาณ สําหรับการเบิกจายเงินที่จะตองโอนไปใหหนวยการคลังใดเบิกจายเองใหเปนไปตามที่ผูวา ราชการกรุงเทพมหานครกําหนด ขอ 11 หนวยงานเจาของงบประมาณจะมอบหมายใหหนวยงานอื่น หรือหัวหนาหนวยงานใน หนวยงานเดียวกัน หรือหัวหนางานในสํานักงานเขตเปนผูทําการเบิกแทนก็ได โดยใหสงตัวอยางลายมือชื่อ ผูเบิกเพื่อขอทําความตกลงกับสํานักการคลังกอนทําการเบิกเงิน ขอ 12 การขอเบิกเงินงบประมาณรายจายปใด ใหวางฎีกาไดจนถึงวันทําการสุดทายของปนั้น หรือวันทําการสุดทายของระยะเวลาของงบประมาณรายจายขามป ในกรณีที่ไดมกี ารกันเงินไวเบิกเหลื่อมป ใหวางฎีกาไดจนถึงวันทําการสุดทายของระยะเวลา การเบิกเงินทีก่ นั ไวเบิกเหลื่อมป ขอ 13 ฎีกาขอเบิกเงินจะตองพิมพหรือเขียนดวยหมึกที่ลบไดยากจํานวนเงินที่ขอเบิกทั้งตัวเลข และตัวอักษรจะตองพิมพหรือเขียนใหชัดเจน หามขูดลบ หากผิดพลาดก็ใหแกไขโดยวิธีขีดฆาแลวพิมพ หรือเขียนใหมทั้งจํานวน แลวใหผูเบิกลงลายมือชื่อรับรองการขีดฆานั้นดวย การพิมพหรือเขียนจํานวนเงินในฎีกาของเบิกเงินที่เปนตัวอักษร ให พิมพ หรือเขียนจํานวนที่ ขอเบิกใหชดิ คําวา `ตัวอักษร' หรือขีดเสนหนาจํานวนเงินอยาใหมีชองวางที่จะพิมพหรือเขียนจํานวน เพิ่มเติมใหสูงขึ้นได ขอ 14 การตั้งฎีกาเบิกเงินใหระบุวัตถุประสงคที่จะนําเงินนั้นไปจาย โดยตองไดรับการทวงหนี้ หรือใกลถึงกําหนดจายเงิน จึงตั้งฎีกาเบิกเงินได หามมิใหหนวยงานใดเบิกเงินไปเพื่อเตรียมจายลวงหนาและรักษาเงินไวเกินสิบหาวัน ขอ 15 การเบิกเงินโดยวิธีผัดสงใบสําคัญ กระทําไดภายในกําหนดเวลาไมเกินสิบหาวันนับแต วันรับเงิน

ถาการผัดสงใบสําคัญเกินกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ใหหนวยการคลังจัดการเตือนและให นําสงอยางชาไมเกินสามสิบวันนับแตวันรับเงิน เมื่อพนกําหนดสามสิบวันแลวหนวยงานที่ขอผัดมิไดนํา ใบสําคัญคูจายเงินสงใชอีก ใหหนวยการคลังงดการจายเงินทุกประเภทใหแกหนวยงานนั้น จนกวา หนวยงานนั้นจะไดนําใบสําคัญคูจายเงินสงใชที่ผัดสงไวกอน จึงทําการเบิกจายใหตอ ไป เวนแตการไดรับ อนุมัติจากปลัดกรุงเทพมหานครเปนการเฉพาะราย ทั้งนี้ ตองมีกําหนดไมเกินหกสิบวัน ขอ 16 ใหหนวยงานที่เบิกเงินสงเอกสารแกหนวยการคลัง เพื่อทําการตรวจสอบ ดังตอไปนี้ (1) ใบสําคัญประกอบเปนงบตามรายการในฎีกาพรอมทั้งการขอผัดสง (2) ใบสําคัญที่ขอผัดสงตามขอ 15 เมื่อไดรับใบสําคัญคูจายมาแลว ใหนําสงหนวยการคลัง พรอมดวยเงินเหลือจายและตองมีรายการแสดงวาไดผัดสงไวตามฎีกาที่เทาใด ลงวันที่เทาใด และใบสําคัญที่ เทาใดไวดว ยใหชัดเจน เมื่อสิ้นเดือนหนึ่ง ๆ ใหหนวยการคลังจัดทํางบเดือนแสดงรายการจายเงิน พรอมทั้งรวบรวม ใบสําคัญคูจาย และเอกสารอืน่ อันเปนหลักฐานแหงหนี้สง ใหสํานักงานตรวจเงินแผนดินตรวจสอบภายใน วันสิ้นเดือนของเดือนถัดไป เวนแตหนวยงานใดที่สํานักงานตรวจเงินแผนดินไดยกเวน โดยกําหนดใหสง เพียงหนางบเดือน สําหรับหลักฐานการจายใหเก็บรักษาไวที่หนวยงานนั้น จนกวาสํานักงานตรวจเงิน แผนดินจะตรวจสอบจนแลวเสร็จก็ได หนวยงานใดที่สํานักงานตรวจเงินแผนดินใหสงเพียงหนางบเดือนเพื่อตรวจสอบ ใหหนวย การคลังจัดสงสําเนางบเดือนแสดงรายการจายเงิน พรอมทั้งรวบรวมใบสําคัญคูจายและเอกสารอื่นอันเปน หลักฐานแหงหนี้สงใหหนวยงานตรวจสอบภายในสํานักปลัดกรุงเทพมหานคร ภายในวันสิ้นเดือนของ เดือนถัดไปเพือ่ ตรวจสอบและเมื่อตรวจสอบแลวใหสงคืนหนวยงานตอไป ขอ 17 การเบิกเงินคาใชจายคางเบิกขามปงบประมาณ ใหนําความในขอ 41 มาใชบังคับโดย อนุโลมและอยูภายในเงื่อนไขดังตอไปนี้ (1) เปนใบสําคัญคางเบิกไมเกินสามป (2) การกอหนี้ผูกพันตองไมเกินยอดเงินคงเหลือของงบประมาณรายจายทีไ่ ดรับอนุมัติใน ปนั้น (3) การนับวัน เดือน ป ในใบสําคัญคางเบิกนั้นใหถือ วัน เดือน ป ทีส่ งมอบวัตถุแหงหนี้ เปนสําคัญ (4) ใหทําการเบิกจายไดเฉพาะหมวดเงินเดือน และคาจางประจํา หมวดคาจางชัว่ คราว หมวดคาตอบแทน หมวดคาใชสอย หมวดคาวัสดุ และหมวดคาสาธารณูปโภค ขอ 18 คาใชจายที่เกิดขึ้นในปงบประมาณใด ๆ โดยปกติใหเบิกจายจากงบประมาณรายจายของ ปนั้น แตถามีเหตุจําเปนไมสามารถเบิกจายจากงบประมาณรายจายของปเดียวกันไดทนั ก็ใหเบิกจากงบ ประมาณรายจายในหมวดนัน้ ๆ ของปตอตอไปตามขอ 17 หรือใหเบิกจากงบประมาณรายจายในหมวดราย จายอื่นของปถดั ไปอีกปหนึ่ง ถาไมไดตั้งงบประมาณรายจายในหมวดรายจายอืน่ เพื่อใชจายตามรายการที่

คางเบิกใหดําเนินการโอนเงินงบประมาณรายจายในหมวดใดหมวดหนึ่งไปตั้งจายในหมวดรายจายอื่นตาม รายการและจํานวนเงินที่คางเบิกนั้น แลวใหทําการเบิกจายจากหมวดรายจายอื่นได แตการใชจายนั้นจะตอง ไมเปนการใชจายในหมวดคาครุภัณฑ หรือหมวดคาทีด่ นิ และสิ่งกอสราง และไมเปนการกอหนี้ผูกพันเกิน ยอดเงินคงเหลือของงบประมาณรายจายที่ไดรับอนุญาตในปที่ลวงมาแลว ขอ 19 การเบิกเงินคาใชจายคางเบิกขามป ตามขอ 17 และขอ 18 ใหแยกฎีกาเบิกเงินตางหาก จากการเบิกเงินตามปกติ โดยใหเขียนหรือประทับตราหัวฎีกาดวยตัวแดงใหชดั เจนวา `คาใชจายคางเบิก ขามป' ขอ 20 การเบิกเงินที่ไดขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมป หรือขอขยายเวลาเบิกจายเงินงบประมาณที่ได ขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมป ใหปฏิบัติเชนเดียวกับการเบิกเงินงบประมาณรายจาย และใหเขียนหรือประทับ ตราหัวฎีกา ดวยตัวแดงใหชดั เจนวา `เบิกเหลื่อมปครบกําหนดจาย.....' พรอมทั้งกรอกเลขที่ใบขอกันเงินดวย ขอ 21 การเบิกเงินซึ่งมีลักษณะเปนคาใชจา ยประจํา และมีการเรียกเก็บเงินเปนคราว ๆ หรือ คาใชจายอืน่ ๆ ตามประเภทที่ปลัดกรุงเทพมหานครกําหนด ใหถือวาคาใชจายนั้นเกิดขึ้นเมื่อเจาของงบ ประมาณไดรบั แจงใหชําระหนี้ และใหนํามาเบิกจายจากงบประมาณรายจายประจําปที่ไดรับแจงใหชําระ หนี้ได การเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการชวยเหลือบุตร เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล เงินคาเชาบาน หรือเงินสวัสดิการอื่นใดในลักษณะเดียวกันใหนํา ความในวรรคหนึ่งมาใชบังคับโดยอนุโลม ขอ 22 การซื้อพัสดุหรือจางทําของ เมื่อถึงกําหนดที่จะตองชําระเงินใหหนวยงานเจาของ งบประมาณดําเนินการตั้งฎีกาเบิกเงินโดยเร็วอยางชาตองไมเกินเจ็ดวันทําการ นับจากวันทีไ่ ดรับแจง ใหชําระหนี้ เวนแตกรณีที่มีเหตุผลอันสมควรใหหัวหนาหนวยงานผูเบิกชี้แจงประกอบไวเปนหลักฐาน ประกอบฎีกาขอเบิกเงิน ขอ 23 ในการเบิกจายเพื่อจายเปนคาซื้อพัสดุหรือจางทําของใหมีเอกสารประกอบฎีกาเบิกเงิน ดังนี้ (1) บันทึกเรื่องที่ไดรับอนุมัติใหจัดซื้อหรือจางทําของโดยวิธีใด ตามขอบัญญัติกรุงเทพ มหานครวาดวยการพัสดุ (2) สัญญาซื้อพัสดุหรือจางทําของ หรือเอกสารอื่นที่แสดงสภาพหนี้ เชน หลักฐานการ สั่งซื้อ (3) เอกสารแสดงการตรวจรับพัสดุ เอกสารแสดงการตรวจรับงานจาง หรือเอกสารการ อนุมัติจายเงิน ขอ 24 การเบิกจายเงินคาเชาบานขาราชการ ใหถือปฏิบัติดังนี้ (1) เงินคาเชาบานขาราชการใหเบิกในหมวดคาตอบแทน และใหมรี ายละเอียดแสดงรายชื่อ ขาราชการ อัตราเงินเดือน และจํานวนเงินที่ขอเบิกแตละคนแนบไปพรอมฎีกา

(2) การเบิกจายเงินคาเชาบานขาราชการครั้งแรก หรือในกรณีที่ไดมีการเปลี่ยนแปลง อัตราคาเชาบานที่ไดรับอนุมตั ิแลวใหมีคําขอรับเงินคาเชาบานแนบฎีกาดวยหนึ่งฉบับ (3) ใหสงใบเสร็จรับเงินคาเชาบานแนบฎีกาเบิกเงินเพื่อประกอบการตรวจสอบ (4) ในกรณีที่ขาราชการซึ่งอยูในขายที่จะเบิกคาเชาบานไดอยูแ ลวไดรับการแตงตั้งโอน ไปสังกัดหนวยราชการอื่น แตมีความจําเปนตองเชาบานเดิมอยูตอไปอีก และไดรับอนุมัติจากปลัดกรุงเทพ มหานครแลว ใหเบิกและจายเงินคาเชาบานไดโดยถือปฏิบัติตาม (1) (2) และ (3) แตทั้งนี้ใหเบิกจายเงิน คาเชาบานไดไมเกินสามสิบวัน นับแตวันทราบคําสั่ง ขอ 25 การเบิกเงินในหมวดคาตอบแทน ใหมีหลักฐานแสดงวาเงินจํานวนที่ขอเบิกนี้ถกู ตอง ตามวัตถุประสงคและเปนไปตามกฎหมายขอบัญญัติ ระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่งผูวาราชการ กรุงเทพมหานคร ขอ 26 การเบิกเงินงบประมาณรายจายงบกลาง ตามที่กําหนดไวในขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร วาดวย วิธีการงบประมาณ เปนคาใชจายหมวดใด ใหปฏิบัติตามกฎหมาย ขอบัญญัติ ระเบียบ ขอบังคับ หรือ คําสั่งผูวาราชการกรุงเทพมหานครกําหนดไวสําหรับคาใชจายนั้น ขอ 27 การเบิกเงินเพื่อจายเปนเงินยืมสําหรับเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการที่เกี่ยวของ กับกรุงเทพมหานคร หากเปนระยะเวลาติดตอคาบเกีย่ วไปถึงปงบประมาณใหมจะเบิกเงินลวงหนาจากป งบประมาณปจจุบันเปนคาใชจายสําหรับระยะเวลาในปงบประมาณใหมได แตกรณีจะเปนประการใดก็ตาม ตองไมเกินหกเดือนของปงบประมาณใหม ในกรณีเชนนี้ ถึงแมจะเปนการจายเงินในปงบประมาณใหม ให ถือเปนใบสําคัญคูจายของเงินที่เบิกจากปงบประมาณเกาได หมวด 3 การกันเงินไวเบิกเหลื่อมป ขอ 28 หนวยงานใดกอหนี้ผกู พันไวกอนสิ้นปงบประมาณ โดยสั่งซื้อหรือสั่งจางครั้งหนึ่ง รายหนึ่งเปนเงินตั้งแตสองหมื่นบาทขึ้นไป ถาเห็นวาจะเบิกเงินไปชําระหนี้ผูกพันนัน้ ไมทันสิ้นปใหขอกัน เงินไวเบิกเหลือ่ มปไดอีกหกเดือนปฏิทิน นับจากวันสิ้นป การเบิกจายเงินตามวรรคแรกใหขยายเวลาออกไปไดอกี ไมเกินหกเดือนของปงบประมาณ ถัดไประยะเวลาการกันเงินและการขยายเวลาเบิกจายเงิน รวมแลวตองไมเกินปงบประมาณถัดไป ขอ 29 ในกรณีที่หนวยการคลังไมสามารถเบิกจายเงินชําระหนีไ้ ดทันในวันสิ้นปงบประมาณ แตยังมีฎกี าเบิกจายคางอยู ใหหนวยการคลังกันเงินไวเบิกเหลื่อมปไดตอ ไปอีกไมเกินหนึ่งเดือนของ ปงบประมาณถัดไป ขอ 30 การขยายเวลาเบิกจายเงินงบประมาณ ตามขอ 28 เปนอํานาจของปลัดกรุงเทพมหานคร โดยใหหนวยงานดําเนินการกอนวันครบกําหนดอยางนอยสิบหาวัน ขอ 31 การขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมป ตามขอ 28 ใหหนวยงานผูเบิกยื่นใบขอกันเงินตามแบบ

หรือวิธีการทีป่ ลัดกรุงเทพมหานครกําหนดตอผูอํานวยการสํานักการคลัง เพื่อพิจารณาอนุมัติ กอนสิ้นป อยางนอยสามสิบวัน เวนแตจะมีเหตุผลสมควรผูอํานวยการสํานักการคลังจะอนุญาตใหขยายเวลายืน่ ขอกัน เงินไดเปนพิเศษ แตทั้งนีจ้ ะตองไมเกินวันทําการสุดทายของปนั้น ในการยื่นใบขอกันเงินใหแนบสัญญาซื้อ หรือสัญญาจางหรือเอกสารอื่นที่แสดงสภาพหนี้ แลวแตกรณีหลักฐานดังกลาวจะใชภาพถายหรือสําเนาซึง่ ผูเบิกหรือผูไดรับมอบหมายลงลายมือชื่อรับรอง ก็ได ในกรณีที่ยังมิไดกอหนี้ผูกพันและหนวยงานที่ยื่นใบขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมปแลว หากปรากฏ วากอหนี้ไดทนั สิ้นป ใหหนวยงานนําหลักฐานการกอหนี้ผูกพันไปประกอบใบขอกันเงินที่ไดยื่นไว โดยถือ วาเปนการกันเงินดังกลาวขางตน ไมสามารถกอหนี้ผูกพันไดทันสิ้นป ใหหนวยงานแจงสํานักการคลังขอลด รายการภายในเจ็ดวันนับแตวนั สิ้นป หมวด 4 การตรวจและอนุมัติฎีกา ขอ 32 การตรวจและอนุมัตฎิ ีกา ใหเปนอํานาจหนาที่ของผูดํารงตําแหนง ดังตอไปนี้ (1) กรณีเบิกเงินกับสํานักการคลัง รวมทั้งเงินนอกงบประมาณ การตรวจฎีกาใหเปนอํานาจ หนาที่ของผูอํานวยการกองบัญชีและตรวจสอบ และการอนุมัติฎีกาใหเปนอํานาจหนาที่ของผูอํานวยการ สํานักการคลัง (2) กรณีเบิกเงินกับหนวยการคลัง รวมทั้งเงินนอกงบประมาณ การตรวจฎีกา ใหเปน อํานาจหนาทีข่ องหัวหนาหนวยการคลัง และการอนุมัตฎิ ีกาใหเปนอํานาจหนาที่ของผูอํานวยการเขต หรือ ผูอํานวยการสํานัก แลวแตกรณี ในกรณีที่มีการจายไมถูกตองและไมสามารถเรียกเงินคืน จากผูรับเงินไดเต็มจํานวน หรือหากมี การดําเนินคดีจนถึงที่สุดแลวไมไดเงินคืนเต็มจํานวนที่เบิกไป ใหเจาหนาที่เกีย่ วของในการดําเนินการใน เรื่องนั้นรวมกันรับผิดชอบชดใชเงินจนครบ เวนแตเจาหนาที่ผูนั้นไดทกั ทวงเปนหนังสือกอนแลว ใหพน ความรับผิด การมอบหมายอํานาจหนาที่ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง หากเกิดความเสียหายขึ้นเพราะ การมอบหมายนั้นก็ไมเปนเหตุใหผูมอบหมายพนความรับผิด ขอ 33 การตรวจฎีกาเบิกเงินงบประมาณ ใหตรวจสอบในสาระสําคัญดังตอไปนี้ แลวจึงเสนอ ขออนุมัติฎีกา (1) มีลายมือชื่อพรอมวงเล็บชื่อของผูเบิกเงินครบถวนถูกตองตามตัวอยางลายมือชือ่ (2) มีหนี้สินผูกพันหรือมีความจําเปนทีจ่ ะตองจายเงินและถึงกําหนดหรือใกลถึงกําหนดทีจ่ ะ ตองจายเงินและการกอหนี้ไดเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่งของผูมีอํานาจ

(3) มีเงินประจํางวดเพียงพอ มีรายการถูกตองตรงกับงบประมาณ และมีคําสั่งของผูมี อํานาจอนุมัติโดยชอบแลว (4) มีเอกสารครบถวนถูกตอง การตรวจและขออนุมัติฎีกาเบิกเงินนอกงบประมาณใหถอื ปฏิบัติตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม ขอ 34 การอนุมัติฎีกาจะกระทําไดตอเมื่อไดดําเนินการตามขอ 33 แลว ในกรณีที่ผูมีอํานาจอนุมัติฎกี ามีเหตุผลสมควรจะอนุมตั ฎิ ีกาเปนจํานวนเงินต่ํากวาทีข่ อเบิกก็ได ขอ 35 ฎีกาเบิกเงินหรือเอกสารประกอบฎีการายใดไมถูกตองในสาระสําคัญ ใหผูตรวจฎีกา ทักทวงเปนหนังสือใหผูเบิกแกไขใหถูกตองภายในสามวันทําการนับแตวนั ถัดจากวันที่ไดรับการทักทวง หากมีเหตุผลอันสมควรที่ไมสามารถแกไขใหทันตามกําหนดได ใหขอรับอนุมัติจากผูอํานวยการสํานักการ คลัง ผูอํานวยการสํานัก หรือผูอํานวยการเขต แลวแตกรณี ในกรณีที่ฎีกามีขอผิดพลาดเล็กนอยซึ่งไมใชสาระสําคัญหรือไมใชจํานวนเงินที่ขอเบิก ผูตรวจ หรืออนุมัติฎีกาจะแกไขใหถกู ตองแลวแจงใหผูเบิกทราบหรือแจงใหผูเบิกแกไขก็ได ขอ 36 การตรวจฎีกาและการอนุมัติฎีกาเปนคาซื้อพัสดุหรือคาจางทําของ ใหดําเนินการตรวจ ฎีกาใหเสร็จภายในแปดวันทําการนับแตวนั ถัดจากวันรับฎีกา และใหอนุมัติฎีกาภายในสองวันทําการนับแต วันถัดจากวันตรวจฎีกาเสร็จ ในกรณีที่ฎีกามีเหตุทักทวงใหดําเนินการตรวจฎีกาใหเสร็จภายในสามวันทําการนับแตวนั ถัด จากที่ไดรับคืนฎีกาที่แกไขถูกตองแลว และใหอนุมตั ิฎกี าภายในสองวันทําการนับแตวนั ถัดจากวันตรวจฎีกา ที่แกไขเสร็จ ขอ 37 ในกรณีฎีกาเบิกเงินเพือ่ จายเปนคาซือ้ พัสดุหรือจางทําของ ถาผูตรวจฎีการายงานวาการ เบิกเงินนั้นไมเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่ง แตผูอนุมัติฎีกาเห็นวาเจาของงบประมาณ มีขอผูกพันตามกฎหมายที่จะตองจายเงินแกเจาหนี้ และมีเงินประจํางวดเหลือพอที่จะเบิกจายไดและมีราย การถูกตอง ใหรายงานขอบกพรองตอผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เพือ่ พิจารณาสั่งการกอนอนุมัตฎิ ีกาแลว แจงใหเจาของงบประมาณทราบเพื่อดําเนินการตอไป หมวด 5 การจายเงิน ขอ 38 เจาของงบประมาณจะกอหนี้ผูกพันหรือจายเงินไดแตเฉพาะที่มกี ฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับหรือคําสั่ง อนุญาตใหจายได ในกรณีที่สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจสงเจาหนาทีแ่ ละหรือมอบพัสดุที่ใชในการปฏิบัติ ราชการมาใหกรุงเทพมหานครปฏิบัติงานหรือดําเนินกิจการใดตามทีก่ รุงเทพมหานครขอความรวมมือ คาใชจายตาง ๆที่พึงเกิดจากการนั้นใหถือปฏิบัติตามระเบียบของสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจนั้นก็ได การไดรับเงินจากสํานักการคลังไปแลวไมปลดเปลื้องความรับผิดชอบของเจาของงบประมาณ

ที่จะตองดูแลใหมีการจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันเปนไปตามวรรคหนึ่ง ขอ 39 ในกรณีที่ใบสําคัญคูจายสูญหาย ใหปฏิบัติดังนี้ (1) ถาใบสําคัญคูจายเปนใบเสร็จรับเงินสูญหายใหใชสําเนาใบเสร็จรับเงินซึ่งผูรับเงินรับ รองแทนได (2) ถาใบสําคัญคูจายเปนใบสําคัญรับเงินสูญหายหรือไมอาจขอสําเนาใบเสร็จรับเงินตาม (1) ได ใหผูจายเงินทําใบรับรองการจายเงินโดยชีแ้ จงเหตุผลพฤติการณที่ใบสําคัญคูจายสูญหายและไม อาจขอสําเนาใบเสร็จรับเงินนั้นได พรอมทั้งคํารับรองวายังไมเคยนําใบสําคัญคูจายมาเบิกจายและถาหาก คนพบภายหลังก็จะไมนํามาเบิกจายอีก เสนอตอผูอํานวยการสํานัก ผูอ ํานวยการเขต เลขานุการผูวา ราชการกรุงเทพมหานคร เลขานุการสภากรุงเทพมหานคร หัวหนาสํานักงาน คณะกรรมการขาราชการ กรุงเทพมหานคร แลวแตกรณี เพื่อพิจารณาอนุมัติ เมื่อไดรับอนุมัติจากผูบังคับบัญชาดังกลาวแลวก็ใหใช ใบรับรองนั้นเปนใบสําคัญคูจายได กรณีการใชหลักฐานอื่นประกอบการเบิกจาย นอกเหนือจากหลักเกณฑที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ใหเสนอขออนุมัติปลัดกรุงเทพมหานครเปนราย ๆ ไป ขอ 40 เงินที่ขอเบิกจากหนวยการคลังเพื่อการใด เมื่อไดรับมาแลวใหนําไปจายไดเฉพาะเพื่อ การนั้น จะนําไปจายเพื่อการอื่นมิได ขอ 41 การกอใหเกิดหนี้และการจายเงิน ใหกระทําไดภายในวงเงินงบประมาณประจําปและ ภายในระยะเวลาของปงบประมาณนั้น เวนแตมีกฎหมายหรือระเบียบกําหนดไวเปนอยางอื่น และตองไดรับ เงินประจํางวดตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร วาดวยวิธกี ารงบประมาณ การสั่งกอหนีแ้ ละการอนุมัตจิ ายเงินใหเปนอํานาจของผูดาํ รงตําแหนงและภายในวงเงินที่ กําหนดไวในขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร วาดวย การพัสดุ ในเรื่อง การสั่งซื้อหรือสั่งจาง นอกจากวิธีพิเศษ และวิธีกรณีพิเศษ เวนแต มีกฎหมายหรือระเบียบกําหนดไวเปนอยางอื่น กรณีการกอใหเกิดหนีแ้ ละการจายเงินในหมวดเงินอุดหนุน ทีห่ นวยงานเจาของงบประมาณ มิไดดําเนินการเอง แตมีลักษณะเปนเงินอุดหนุนแกสวนราชการ หรือองคการ หรือกรณีที่กําหนดเปนอํานาจ หนาที่ของผูวาราชการกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะ ใหขอรับอนุมัติจากผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ขอ 42 เมื่อหนวยงานที่ไดรับอนุมัติจากปลัดกรุงเทพมหานคร แยกไปทําการรับจายและรักษา เงินไดรับใบแจงหนี้ หรือทํารายการคํานวณเงินคาแรงงานแลว ใหจดั แยกประเภทการจายสงหนวยการคลัง เพื่อตรวจสอบแลวจึงนําเสนอผูมีอํานาจอนุมัติจายเงิน ตามขอ 41 แลวแตกรณี เวนแตจะมีกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่งกําหนดไวเปนอยางอื่น ขอ 43 เมื่อผูมีอํานาจไดอนุมตั ิฎีกาแลว ใหหนวยการคลังการเงินใหกับคณะกรรมการรับสงเงิน ตามขอ 79 หรือเจาหนี้โดยตรง แลวแตกรณี ในเวลาที่มาขอรับเงินโดยเร็ว และเพื่อความเรียบรอยในการปด บัญชีประจําป ใหหวั หนาหนวยการคลังจัดใหเจาหนี้มารับชําระเงินกอนวันสิ้นป และใหปฏิบัติ ดังนี้

(1) การจายเงินซึ่งมีจํานวนตั้งแต 5,000 บาทขึ้นไปใหออกเช็คสั่งจายในนามเจาหนี้ หรือผูมีสิทธิรับเงินและขีดฆาคําวา `หรือตามคําสั่ง' หรือ `หรือผูถือ' ออกและจะขีดครอมหรือไมก็ได (2) การจายเงินซึ่งมีจํานวนต่ํากวา 5,000 บาท จะจายเปนเงินสดหรือออกเปนเช็คสัง่ จายในนามเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน และขีดฆาคําวา `หรือตามคําสั่ง' หรือ `หรือผูถือ' ออก (3) ในกรณีสั่งจายเพื่อขอรับเงินสดมาจายใหออกเช็คสั่งจายในนามคณะกรรมการรับสง เงินของหนวยงานและขีดฆาคําวา `หรือตามคําสั่ง' หรือ `หรือผูถือ' ออก หามมิใหออกเช็คสั่งจายเงินสด (4) การเขียนหรือพิมพจํานวนเงินในเช็คที่เปนตัวอักษรใหเขียนหรือพิมพใหชดิ คําวา `บาท' หรือขีดเสนหนาจํานวนเงิน อยาใหมีชองวางที่จะเขียนหรือพิมพจํานวนเงินเพิ่มเติมได ขอ 44 การจายเงินตองมีหลักฐานการจายเงินไวเพื่อประโยชนในการตรวจสอบ และในกรณีที่ เปนใบสําคัญคูจาย ใหหวั หนาหนวยการคลัง หรือผูอํานวยการเขต หรือผูที่ไดรับมอบหมายลงชื่อรับรอง ความถูกตองพรอมทั้งประทับตรา `จายเงินแลว' และลงวัน เดือน ป กํากับไวดวย ขอ 45 หลักฐานการจายตองพิมพหรือเขียนดวยหมึกที่ลบไดยาก และใหหนวยการคลังเก็บ รักษาไวไมนอยกวาสิบป นับจากวันสิ้นปนนั้ หามมิใหแกไขหลักฐานการจาย เวนแตกรณีจําเปนใหใชวิธีขีดฆาและพิมพหรือเขียนดวยหมึก ที่ลบไดยาก กรณีหลักฐานการจายเปนใบสําคัญคูจาย ใหผูรับเงินหรือผูออกใบสําคัญลงลายมือชื่อรับรองไว ดวยทุกแหง หากหลักฐานการจายเปนสมุดหรือทะเบียน ใหผูรับเงินและผูจายเงินลงลายมือชื่อรับรองไวดว ย ทุกแหง ขอ 46 ใบสําคัญคูจายที่เปนใบเสร็จรับเงิน ตองมีรายการดังตอไปนี้ (1) ชื่อและสถานที่อยู หรือที่ทําการของผูรับเงิน (2) วัน เดือน ปที่รับเงิน (3) ชื่อผูรับเงิน (4) รายการแสดงการรับเงินระบุวาเปนคาอะไร (5) จํานวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษรซึ่งตรงกัน (6) ลายมือชื่อผูรับเงิน ถาผูรับลงลายมือชื่อไมไดใหใชลายพิมพนิ้วมือ หามมิใหใชแกงได หรือเครื่องหมายอื่นทํานอง เชนวานั้นแทนการลงลายมือชื่อ ใบเสร็จรับเงินเปนภาษาตางประเทศ ใหมคี ําแปลเปนภาษาไทยใหไดความตามรายการใน วรรคหนึ่ง ในกรณีที่ใบเสร็จรับเงินที่ไมอาจปฏิบัติใหเปนไปตามระเบียบนี้ได ใหมีคําชี้แจงประกอบไว เปนหลักฐาน ขอ 47 ในการจายเงินตองปฏิบัติดังนี้ (1) เจาหนาที่ผูจายเงินตองมีหลักฐานการจายเงินทุกราย เชน ตองเรียกใบเสร็จรับเงิน

จากผูรับเงิน เวนแตจะไดลงชื่อรับเงินในทะเบียนจายเงินเดือน หรือเงินอื่นไวอีกทางหนึ่งแลว (2) การจายเงินดังตอไปนี้ ผูจายอาจทําใบรับรองการจายเงินได ก. การจายเงินรายหนึ่ง ๆ เปนจํานวนไมเกิน 100 บาท ข. การจายเงินเปนคารถหรือเรือนั่งรับจาง ค. การจายเงินเปนคาโดยสารรถไฟ รถยนตประจําทาง หรือเรือยนตประจําทาง ง. การจายเงินคาไปรษณียากร ใหผูจา ยเงินทําใบรับรองการจายเงินโดยแสดง จํานวนและเลขที่ของหนังสือหรือไปรษณียภัณฑที่สง และจํานวนเงินคาไปรษณียากรที่จาย (3) การจายเงินรายใด ซึ่งตามลักษณะไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูชําระเงินได และมีจํานวนเงินไมเกิน 1,000 บาท ใหผูจา ยเงินทําใบรับรองการจายโดยใหบันทึกชี้แจงเหตุที่ไมอาจ เรียกใบเสร็จรับเงินได นําเสนอผูอํานวยการสํานัก ผูอํานวยการเขต เลขานุการผูวาราชการกรุง เทพมหานคร เลขานุการสภากรุงเทพมหานคร หัวหนาสํานักงานคณะกรรมการขาราชการกรุงเทพมหานคร แลวแตกรณี เพื่ออนุมัติ หากจํานวนเงินเกิน 1,000 บาท ใหนําเสนอปลัดกรุงเทพมหานคร เพื่ออนุมตั ิ (4) การจายเงินเปนคาแรงงานจางเหมา ไมวาจะเบิกจายจากงบประมาณหมวดใดหรือ เงินอื่นใดของกรุงเทพมหานคร ตองมีรายงานรับรองของเจาหนาที่ผูรับผิดชอบวาผูรับจางไดกระทําการ ไปแลวเพียงใด ประกอบการเบิกจายเงินทุกครั้ง สําหรับการจายเงินเปนคากอสรางปรับปรุงตาง ๆ ไมวาจะเบิกจายจากงบประมาณหมวดใด หรือเงินอื่นใดของกรุงเทพมหานคร ตองมีรายงานรับรองผลงานของเจาหนาที่ผูควบคุมงานวาผูรับจางได กระทําการนัน้ ๆ ไปแลวเพียงใด ประกอบการเบิกจายเงินทุกครั้ง (5) หามมิใหเรียกใบสําคัญคูจายเงินจากเจาหนี้ หรือผูรับเงินกอนการจายเงินใหแกเจาหนี้ หรือผูรับเงิน ขอ 48 การเบิกจายเงินในหมวดคาใชสอย ใหทําการเบิกจายไดตามงบประมาณที่ไดรับอนุญาต เวนแตการเบิกจายเปนคาบํารุงรักษาซอมแซมถนน สะพาน หรือพัสดุ แมจะไดมีงบประมาณที่ไดรับอนุญาต ไวในขอบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปหรือขอบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม แตมิไดจําแนกราย ละเอียดไว หากวงเงินเกิน 5,000 บาท ตองทําประมาณการรายละเอียดเพื่อใหผูมีอํานาจสั่งจางตามขอ บัญญัติกรุงเทพมหานครวาดวยการพัสดุ อนุมัติเสียกอน ขอ 49 ประมาณการรายละเอียดที่ตองจัดทําประกอบในการกอหนี้ตามความในขอ 48 ให หัวหนาหนวยงานหรือวิศวกรเปนผูลงนาม โดยใหมีรายการอยางนอยดังนี้ (1) ประเภทงานที่จัดทํา ตองแสดงจํานวนประเภทวัสดุที่ใชในการดําเนินการรวมทั้งคา แรงงาน (2) จํานวนเงินงบประมาณที่อนุมัติ (3) จํานวนเงินที่ประมาณวาจะตองจาย (4) รายการอื่น ๆ ที่ควรชี้แจงประกอบการพิจารณา

ขอ 50 การเบิกจายเงินในหมวดคาครุภณ ั ฑ หมวดคาทีด่ ินและสิ่งกอสราง หรือรายจายอื่นใดที่ ถือจายในลักษณะเดียวกันจะจายไดเมื่อถึงกําหนดจาย ถามีสัญญาระบุการปฏิบัติไว ตองมีใบรับรองแสดงวา ผูขอรับเงินไดปฏิบัติถูกตองตามสัญญาแลวดวย ขอ 51 การจายเงินใหแกผูรับเงินทุกรายการ ตองมีการบันทึกรายการจายเงินนั้นไวในบัญชีเงิน สดหรือบัญชีเงินฝากธนาคาร หรือ ทะเบียนอื่นใด แลวแตกรณีในวันทีจ่ ายเงินนั้น ขอ 52 การจายเงินทุกกรณี ถาผูจายมีหนาทีต่ ามกฎหมายที่ตองหักภาษีใด ๆ ไว ณ ที่จา ยเพื่อ นําสงสวนราชการใด ใหดําเนินการตามกฎหมายนัน้ หมวด 6 การจายเงินยืม ขอ 53 การจายเงินยืมใชในราชการจะกระทําไดเฉพาะกรณีที่ผูยืมไดทําสัญญาการยืมเงินและ รับรองวาจะปฏิบัติตามระเบียบหรือขอบังคับของทางราชการ และจะนําใบสําคัญคูจายที่ถูกตอง รวมทั้งเงิน เหลือจายสงใชคืนตามที่กําหนดในขอ 61 ถาไมสงตามกําหนดก็จะชดใชเงินหรือยินยอมใหทางราชการ หักเงินเดือน คาจาง เบี้ยหวัด บําเหน็จบํานาญ หรือเงินอื่นใดอันจะพึงไดรับจากทางราชการชดใชเงินยืมนัน้ และผูมีอํานาจไดอนุมัติใหจายเงินยืมตามสัญญาการยืมเงินนั้นแลวเทานั้น ขอ 54 การจายเงินยืมในกรณีที่ผูยืมไมมีเงินใด ๆ อันจะพึงไดรับจากกรุงเทพมหานครทีจ่ ะหัก สงใชคืนเงินยืมได ใหผูใหยมื กําหนดใหผูยืมหาหลักทรัพยมาวางเปนประกัน หรือหาบุคคลที่มีหลักฐานมา ทําสัญญาค้ําประกันไวตอผูใหยืม และจะกระทําไดโดยไดรับอนุมัติจากผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ขอ 55 สัญญาการยืมเงิน สัญญาวางหลักทรัพย และสัญญาค้ําประกัน ใหเปนไปตามแบบที่ ปลัดกรุงเทพมหานครกําหนด ขอ 56 ใหผูดํารงตําแหนงตอไปนี้เปนผูมีอํานาจอนุมัตกิ ารจายเงินยืม (1) ผูอํานวยการเขต ครั้งหนึ่งไมเกิน 10,000 บาท (2) ผูอํานวยการสํานัก ครั้งหนึ่งไมเกิน 20,000 บาท (3) ปลัดกรุงเทพมหานคร ครั้งหนึ่งไมเกิน 50,000 บาท (4) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เกินกวา 50,000 บาท ขอ 57 สัญญาการยืมเงิน ใหผูยืมยื่นตอผูมอี ํานาจอนุมัตติ ามขอ 56 ผานหัวหนาหนวยการคลัง สองฉบับ โดยแสดงประมาณการคาใชจายและกําหนดเวลาใชคืน ทั้งนี้จะตองมีงบประมาณเพื่อการนั้นอยู แลวและใหหวั หนาหนวยการคลังเสนอความเห็นตามลําดับชนตอผูมอี ํานาจดังกลาวอนุมัติ ขอ 58 การอนุมัติใหยืมเงิน ใหผูมีอํานาจอนุมัติใหยืมเฉพาะเทาที่จําเปน เพื่อใชในราชการ และ หามมิใหอนุมตั ิใหยืมเงินรายใหมในเมื่อผูย ืมมิไดชําระเงินยืมรายเกาใหเสร็จสิ้นไปกอน เวนแตจะไดรับ อนุมัติจากผูว าราชการกรุงเทพมหานคร

ขอ 59 การจายเงินยืมเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ใหจายไดสําหรับ ระยะเวลาไมเกินหกสิบวัน หากจําเปนจะตองจายเกินกวากําหนดดังกลาว ตองไดรบั อนุมัติจากผูว าราชการ กรุงเทพมหานคร ขอ 60 เมื่อผูยืมไดรับเงินตามสัญญาการยืมเงินแลว ใหลงลายมือชื่อรับเงินในสัญญาการยืมเงิน ทั้งสองฉบับ มอบใหหนวยงานเจาของเงินยืมเก็บรักษาไวเปนหลักฐานหนึ่งฉบับ ใหผูยืมเก็บไวหนึง่ ฉบับ และใหหนวยงานเจาของเงินยืมสงสําเนาใหสํานักการคลังเพื่อลงทะเบียนดวยหนึ่งฉบับ เมื่อผูยืมสงใชเงินยืม ใหเจาหนาที่ผูรับคืนเงินยืมบันทึกการรับคืนในสัญญาการยืมเงิน พรอมทั้ง ออกใบเสร็จรับเงิน และหรือใบรับใบสําคัญ ใหผูยืมไวเปนหลักฐาน ใหหนวยงานเจาของเงินยืมเก็บรักษาสัญญาการยืมเงินทีย่ งั มิไดชําระคืนเงินยืมใหเสร็จสิ้นไวใน ที่ปลอดภัยอยาใหสูญหาย และเมื่อผูยืมไดชําระคืนเงินยืมเสร็จสิ้นแลว ก็ใหเก็บเชนเดียวกับหลักฐานการจาย ทั้งนี้ โดยใหหนวยงานเจาของเงินยืมจัดทําทะเบียนเงินยืมไวดว ย ขอ 61 เงินที่ยมื ไป ใหผูยืมสงใบสําคัญคูจายและเงินเหลือจายภายในกําหนดระยะเวลาดังนี้ (1) กรณียืมไปเปนคาใชจา ยในการเดินทาง ใหสงตอหนวยงานเจาของเงินยืมภายในสิบหา วันนับจากวันกลับมาถึง (2) การยืมเงินเพื่อปฏิบัตริ าชการนอกจาก (1) ใหสงตอหนวยงานเจาของเงินยืมภาย ในสามสิบวันนับจากวันไดรับเงิน ในกรณีที่ผูยืมไดสงใบสําคัญคูจายลางเงินยืมแลวมีเหตุตองทักทวง ใหหนวยงานเจาของเงิน ยืมแจงขอทักทวงใหผูยืมทราบโดยดวน แลวใหผูยืมปฏิบัติตามคําทักทวงภายในสิบหาวันนับจากวัน ที่ไดรับคําทักทวงหากผูยืมมิไดดําเนินการตามคําทักทวงและไมไดชี้แจงเหตุผลใหหนวยงานเจาของ เงินยืมทราบ ก็ใหหนวยงานดําเนินการตามขอเงื่อนไขในสัญญาการยืมเงิน โดยถือวาผูยืมยังมิไดสงใชเงิน ยืมเทาจํานวนที่ทักทวงนัน้ ขอ 62 ในกรณีที่ผูยืมมิไดชําระคืนเงินยืมภายในกําหนดตามขอ 61 ใหหวั หนาหนวยการคลัง เรียกชดใชเงินยืมตามเงื่อนไขในสัญญาการยืมเงินใหเสร็จสิ้นไปโดยเร็ว อยางชาไมเกินสามสิบวันนับแตวัน ครบกําหนด หากผูยืมมิไดสงใชเงินยืมตามกําหนดในวรรคหนึ่ง ใหหนวยงานเจาของเงินยืมรายงานใหปลัด กรุงเทพมหานครทราบเพื่อพิจารณาสั่งการใหเปนไปตามสัญญาการยืมเงินตอไป หากจําเปนก็ใหดําเนิน คดีแกผูยมื นั้นโดยดวนภายในกําหนดอายุความ ถาปรากฏวาผูอนุมัติใหยืมไดอนุมัติใหยืมเงินไปโดยฝาฝนตอระเบียบ ผูอนุมัติใหยืมและผูยืม ตองรวมกันรับผิดชอบชดใชเงินคืนแกกรุงเทพมหานครจนครบถวน ถาไมยอมชดใชคืนใหนําความในวรรค สองมาใชบังคับโดยอนุโลม ขอ 63 ในกรณีที่ผูยืมจะพนจากตําแหนงหนาที่ ใหหัวหนาหนวยงานและหัวหนาหนวยการคลัง ของผูยืมตรวจสอบทะเบียนเงินยืมของบุคคลผูพนจากตําแหนงหนาที่ และเรงรัดเงินยืมคางชําระใหเสร็จสิ้น

ในทันทีก่ อนที่ผูยืมจะพนจากตําแหนงหนาที่ไป ในกรณีที่ผูยืมถึงแกกรมใหหักจากเงินเดือนครั้งสุดทายหรือ เงินอื่นใดที่ผูนนั้ มีสิทธิไดรับจากกรุงเทพมหานครเพื่อชดใชเงินยืม ถายังไมพอใหดําเนินการขอรับชดใชจาก กองมรดกหรือทายาทของผูยืม หากไมไดรับชดใชใหดําเนินคดีเรียกคืนภายในกําหนดอายุความ ถาปรากฏวาหัวหนาหนวยงานและหัวหนาหนวยการคลังของผูยืมมิไดดาํ เนินการเรงรัดใหผูยมื สงใชเงินยืมดังกลาวขางตน หัวหนาหนวยงานและหัวหนาหนวยการคลังของผูยืมตองชดใชเงินยืมแก กรุงเทพมหานครแทนผูยืมจนครบ หมวด 7 การเบิกและจายเงินเดือน ขอ 64 การเบิกเงินเพื่อจายเปนเงินเดือน ใหเบิกไดตามอัตราในบัญชีถือจายเงินเดือนที่ หนวยงานซึ่งรับผิดชอบจัดทําขึ้นตามแบบที่ปลัดกรุงเทพมหานครกําหนด ขอ 65 การเบิกเงินเพื่อจายเปนเงินเดือนประจําเดือนใด โดยปกติใหวางฎีกาภายในวันที่สิบหา ของเดือนนั้น และใหเบิกจายไดเดือนละครั้ง และจายในวันสิ้นเดือน ถาวันสิ้นเดือนเปนวันปดสํานักงาน ก็ใหจายไดในวันเปดสํานักงานกอนวันสิ้นเดือน เวนแตกรณีที่เปนเงินเดือนคางเบิกจะเบิกจายเมื่อใดก็ได กรณีมีเหตุจําเปนไมสามารถจายเงินเดือนตามกําหนดในวรรคหนึ่งใหปลัดกรุงเทพมหานคร เปนผูเปลี่ยนแปลงกําหนดวันจายเงินเดือนได ขอ 66 การเบิกเงินเดือนในกรณีบรรจุใหม กลับเขารับราชการใหม เลื่อนระดับ เลื่อนเงินเดือน พักราชการ ยาย โอน ถูกลงโทษพนจากราชการ หรือขอรับเงินเดือนทางหนวยงานอืน่ ในสังกัดเดียวกันหรือ การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทุกกรณี ใหมีสําเนาคําสั่งหรือเอกสารหลักฐานในกรณีนั้น ๆ แนบฎีกาในการเบิกดวย ขอ 67 ในกรณีขาราชการไดรับการเลื่อนระดับ หรือเลื่อนขั้นเงินเดือน ซึ่งตองเบิกเงินเดือนยอน หลังใหใชวิธีเบิกเพิ่ม ในกรณีขาราชการที่ไดรับการเลื่อนระดับโดยเปลี่ยนอัตราเงินเดือนใหใชวิธีเบิกหักผลักสงฎีกา แตในกรณีเลื่อนระดับโดยไมเปลี่ยนอัตราเงินเดือน ถาไดรับเงินเดือนสูงขึ้นใหใชวิธีเบิกเพิ่มเชนเดียวกับ วรรคหนึ่ง ขอ 68 การเบิกเงินเดือนขาราชการ ในกรณียายหรือโอนใหหมายเหตุในฎีกาวาไดยายจาก ตําแหนงใด หรือรับโอนจากสวนราชการหรือองคการบริหารสวนทองถิ่นใด และไดรับเงินเดือนเดิมใน ระดับและขั้นใด ถึงเดือนใด หมวด 8 การเบิกและจายคาจาง ขอ 69 การเบิกเงินเพื่อจายเปนคาจาง ใหเบิกไดตามอัตราในบัญชีถือจายคาจางที่หนวยงานซึ่ง รับผิดชอบจัดทําขึ้นตามแบบที่ปลัดกรุงเทพมหานครกําหนด

ขอ 70 การเบิกจายเปนคาจาง ประจําเดือนใด โดยปกติใหวางฎีกาภายในสิบหาวันของเดือนนัน้ และใหเบิกจายไดเดือนละครั้งและจายในวันสิ้นเดือน ถาวันสิ้นเดือนเปนวันปดสํานักงาน ก็ใหจายไดในวัน เปดสํานักงานกอนวันสิ้นเดือน เวนแตการเบิกคาจางที่จายเปนรายวันหรือรายชั่วโมง ใหวางฎีกาและจายเงิน ตามระยะเวลาที่ปลัดกรุงเทพมหานครกําหนด ขอ 71 การเบิกเงินเพื่อจายเปนคาจางในกรณีบรรจุใหม เปลี่ยนอัตรา เพิ่มคาจาง ยาย ถูกลงโทษ เลิกจาง หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทุกกรณี ใหมีสําเนาคําสั่ง หรือเอกสารหลักฐานในกรณีนั้น ๆ แนบฎีกา ในการเบิกดวย ขอ 72 ในกรณีลูกจางไดรับคาจางเพิ่มขึ้นซึง่ ตองเบิกคาจางยอนหลัง ใหใชวิธีเบิกเพิ่ม ในกรณีที่ไดรบั คาจางเพิ่มโดยเปลี่ยนอัตราคาจาง ใหใชวิธีเบิกหักผลักสงฎีกา ขอ 73 การเบิกและการจายเงินคาจางนอกจากที่กําหนดไวขางตนใหปฏิบัติตามวิธีการเกี่ยวกับ การเบิกและจายเงินเดือนโดยอนุโลม หมวด 9 การรับเงิน การนําสงเงิน และการเก็บรักษาเงิน ขอ 74 การรับเงินทุกประเภทตองออกใบเสร็จรับเงินใหแกผูนําเงินมาชําระทุกราย และตองมี ตนขั้วหรือคูฉบับใบเสร็จรับเงินนั้นรักษาไวดว ย แตในกรณีที่มีการจําหนายตัว๋ ฉีกแทนใบเสร็จรับเงินนั้น แลวไมตองออกใบเสร็จรับเงินอีก แตใหมีทะเบียนคุมการจําหนายตั๋วไวเปนหลักฐานการรับเงินทุกรายการ ตองมีการบันทึกรายการรับเงินไวในบัญชีเงินสดหรือทะเบียนอื่นใด แลวแตกรณี ในวันที่ไดรับเงินโดยให มีหลักฐานประกอบใหครบถวนทุกราย ขอ 75 ใหหนวยงานซึ่งไดแยกออกไปทําการรับจายและรักษาเงินนําเงินรับทั้งสิ้นสงหนวยการ คลังทุกวัน พรอมดวยใบนําสงเงินและสําเนาคูฉีกอยางนอยสองฉบับ และตองมีสําเนาเปนหลักฐานเก็บ รักษาไว ณ หนวยงานดวย ถาสงไมทันในวันนั้นก็ใหนาํ สงในวันรุงขึน้ หรือวันเปดสํานักงาน และใหระบุ เหตุผลที่นําสงไมทันในใบนําสงไวดว ย ใบนําสงตองลงชื่อหัวหนาหนวยงานเปนผูส ง หัวหนาหนวยการคลังหรือหัวหนาหนวยงาน ผูรับเงินและเจาหนาที่ผูไดรบั มอบหมายในหนวยการคลัง เปนผูลงชื่อรับไวเปนหลักฐาน ขอ 76 จํานวนเงินที่เก็บรักษาไวในหนวยการคลังตองไมเกิน 50,000 บาท และหนวยการคลัง ของสํานักงานเขตไมเกิน 10,000 บาท เวนแตในกรณีจําเปน ใหปลัดกรุงเทพมหานครอนุมัติขยายวง เงินที่เก็บรักษาในหนวยการคลังนั้นได ขอ 77 บรรดาเงินรายรับตามขอ 74 ถามีวงเงินเกินจํานวนที่เก็บรักษาไวตามขอ 76 ใหนําฝาก ธนาคารตามที่มีมติของคณะรัฐมนตรีกําหนดไว โดยไดรับความเห็นชอบจากผูวาราชการกรุงเทพมหานคร การนําฝากเงินธนาคารตามวรรคหนึ่ง ในใบนําฝากนั้นตองลงชื่อหัวหนาหนวยการคลังเปน ผูฝากโดยใหมหี ลักฐานการนําฝากเก็บรักษาไว ณ หนวยงานนัน้ ดวย

ในกรณีวนั ใดมีจํานวนเงินเกินอํานาจทีเ่ ก็บรักษาไวได ใหหนวยการคลังหรือหนวยงานที่แยก ไปทําการรับจายและรักษาเงิน นําเงินฝากใหเสร็จภายในวันนัน้ ถาฝากในวันนั้นไมทนั ใหจัดการนําฝากใน วันรุงขึ้น หรือวันเปดทําการ และใหระบุเหตุผลที่นําฝากไมทันไวในใบนําฝากดวย ขอ 78 การถอนเงินฝากตามขอ 77 ใหเปนหนาที่ของปลัดกรุงเทพมหานคร กับผูอํานวยการ สํานักการคลัง หรือผูอํานวยการสํานักกับเลขานุการสํานัก ลงชื่อถอนรวมกัน กรณีของสํานักงานเขตใหเปน หนาที่ของผูอํานวยการเขตและหัวหนางานคลังสํานักงานเขตลงชื่อถอนรวมกัน ขอ 79 ในการไปรับหรือสงเงินที่ธนาคาร หรือ ณ สถานที่รับเงินแหงอืน่ ใด รวมตลอดถึงตาง หนวยงานในสํานักงานเดียวกัน หามมิใหเจาหนาทีไ่ ปรับหรือสงเงินแตลําพังผูเดียว ตองมีกรรมการไปรับ หรือสงเงินรวมกันรับผิดชอบเปนคณะ ใหถือปฏิบัติดังนี้ (1) จํานวนที่ไปรับหรือสงไมเกิน 50,000 บาท โดยไมคิดรวมจํานวนเงินในเช็คขีดครอม ใหมีกรรมการไปรับหรือสงรวมกันอยางนอยสามคน โดยใหมีขาราชการไมต่ํากวาระดับ 2 รวมไปดวย อยางนอยหนึ่งคน (2) จํานวนเงินที่รับหรือสงเกิน 50,000 บาทขึ้นไป โดยไมคิดรวมจํานวนเงินในเช็คขีด ครอม ใหมีกรรมการไปรับหรือสงรวมกันอยางนอยสามคน โดยมีขาราชการไมต่ํากวาระดับ 3 รวมไป ดวยอยางนอยหนึ่งคน ในกรณีที่มีขาราชการระดับ 3 หรือมีแตไมสามารถทําหนาที่ดังกลาวได ใหรายงาน ของอนุมัติปลัดกรุงเทพมหานครแตงตั้งขาราชการระดับ 2 แทนโดยใหทําเปนหนังสือ (3) กรรมการแตละคนมีหนาที่รับผิดชอบรวมกันในจํานวนเงินทีไ่ ปรับหรือนําสงในขณะ ที่เงินยังอยูในความอารักขา หามมิใหแยกยายกัน และความรับผิดชอบรวมกันนี้ใหหมายรวมถึงการที่ กรรมการแตละคนตองรวมกันชดใชจาํ นวนเงินที่ขาดหายและรวมกันรับผิดทางวินยั หรือทางอาญาอีก โสดหนึ่งดวย (4) ในกรณีการรับหรือสงเงินตามขอนี้ ใหกรรมการผูมอบหรือเจาหนาที่ผูรับมอบเงินทํา บันทึกการรับมอบหรือการสงมอบกับกรรมการผูนําสงหรือผูรับมอบไวเปนหลักฐาน (5) ใหปลัดกรุงเทพมหานครเปนผูสั่งแตงตั้งกรรมการตาม (1) และ (2) โดยทําเปนคําสั่ง ขอ 80 ใหปลัดกรุงเทพมหานคร ผูอํานวยการสํานัก ผูอํานวยการเขต แลวแตกรณีแตงตั้ง กรรมการรับผิดชอบรักษาเงินไว ณ หนวยการคลังไมนอยกวาสามคน และในจํานวนนี้ตองมีผูอํานวยการ กองการเงินหรือหัวหนาหนวยการคลังแลวแตกรณีรวมอยูดวย ขอ 81 กรรมการรักษาเงินตามขอ 80 มีหนาที่ดังนี้ (1) ทําการตรวจรับเงินสดคงเหลือใหถกู ตองตรงกับรายการคงเหลือในบัญชีเงินสด ประจําวัน (2) ทําการตรวจสอบบรรดาหลักฐานการรับและการจายเงินใหตรงกับราบการในบัญชีเงิน สดเมื่อสิ้นการรับและจายเงินในวันหนึ่ง ๆ เปนประจํา

(3) ทําการตรวจสอบการคํานวณตัวเลขในการรับและการจายเงินใหมียอดเงินคงเหลือถูก ตองเปนประจําวัน (4) ทําการเก็บรักษาเงินตามกําหนดวงเงินและระยะเวลาที่ไดรับอนุมัติใหเก็บรักษาไวได (5) ควบคุมดูแลใหมกี ารนําเงินที่เกินวงเงินที่กําหนดและเกินระยะเวลาที่เก็บรักษาสงฝาก สํานักการคลัง หรือธนาคารทันที ขอ 82 หนวยงานใดมีการเก็บรักษาเงิน ใหหัวหนาหนวยงานนั้นจัดใหมีตูนิรภัยสําหรับเก็บ รักษาเงินของทางราชการ ตูนิรภัยใหมกี ญ ุ แจอยางนอยสองดอก แตละดอกมีลักษณะตางกัน โดยใหมีกรรมการเก็บรักษา เงินถือกุญแจคนละดอก กุญแจตูนิรภัยตูหนึ่ง ๆ โดยปกติใหมีอยางนอยสองสํารับใหหวั หนาหนวยงานมอบให กรรมการเก็บรักษาเงินเก็บรักษาหนึ่งสํารับนอกนั้นใหนําฝากสํานักการคลังเก็บรักษาไว ขอ 83 ใหกรรมการเก็บรักษาเงินเปนผูถือกุญแจตูนิรภัยในกรณีที่ตูนิรภัยมีทใี่ สกุญแจสามดอก และมีกรรมการสามคน ก็ใหกรรมการถือกุญแจคนละดอก แตถาตูนิรภัยมีที่ใสกุญแจสองดอกแตมกี รรมการ สามคนก็ใหกรรมการที่มีอาวุโสตามระเบียบราชการถือกุญแจคนละหนึ่งดอก และใหกรรมการอีกหนึ่งคนมี หนาที่ประจําตราตูนิรภัยแตเพียงอยางเดียว ถากรรมการเก็บรักษาเงินผูใดไมสามารถปฏิบัติหนาที่กรรมการได ใหปลัดกรุงเทพมหานคร ผูอํานวยการสํานัก ผูอํานวยการเขต แลวแตกรณี พิจารณาแตงตั้งขาราชการไมต่ํากวาระดับ 3 ใหเปน กรรมการแทนชั่วคราวใหครบจํานวน การแตงตั้งผูที่จะเปนกรรมการแทนจะแตงตั้งไวเปนการประจําเพื่อ ปฏิบัติหนาที่แทนชั่วคราวก็ได ขอ 84 การสงมอบและการรับมอบกุญแจระหวางกรรมการผูที่ไดรับมอบหมาย ใหทําหนาที่ กรรมการแทนชั่วคราวตามขอ 83 ใหกรรมการสงมอบและกรรมการผูรับมอบตรวจนับตัวเงิน และหลักฐาน แทนตัวเงินซึ่งเก็บรักษาไวในตูนิรภัยใหถูกตองตามรายงานเงินคงเหลือประจําวัน แลวบันทึกการสงมอบ และรับมอบพรอมกับลงลายมือชื่อกรรมการทุกคนไวในรายงานเงินคงเหลือประจําวันนั้นดวย หามมิใหกรรมการมอบกุญแจใหผูอื่นทําหนาที่กรรมการแทน เวนแตเปนการมอบใหกรรมการ ซึ่งไดรับแตงตัง้ เปนกรรมการแทนชั่วคราวตามขอ 83 กรรมการจะตองเก็บรักษากุญแจไวในที่ปลอดภัย อยาใหสูญหาย หรือใหผูใดลักลอบนําไป พิมพแบบกุญแจได หากปรากฏวากุญแจหายหรือมีกรณีสงสัยวาจะมีผูปลอมแปลงกุญแจ ใหหวั หนา หนวยงานสอบสวนแลวรีบรายงานใหปลัดกรุงเทพมหานครเพื่อพิจารณาสั่งการโดยดวน ขอ 85 เมื่อสิ้นเวลารับจายเงิน ใหเจาหนาทีก่ ารเงินนําเงินทีจ่ ะเก็บรักษาและรายงานเงินคง เหลือประจําวันสงมอบตอคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน ใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงินรวมกันตรวจสอบตัวเงินและหลักฐานแทนตัวเงินกับรายงานเงิน

คงเหลือประจําวัน เมื่อปรากฏวาถูกตองแลวใหนําเงินเขาเก็บรักษาในตูน ิรภัย และใหกรรมการทุกคนลง ลายมือชื่อในรายงานเงินคงเหลือประจําวันไวเปนหลักฐาน รายงานเงินคงเหลือประจําวัน เมื่อกรรมการเก็บรักษาเงินไดลงลายมือชื่อแลว ใหหวั หนาหนวย การคลังเสนอหัวหนาหนวยงานเพื่อทราบ ในกรณีที่ปรากฏวาเงินทีไ่ ดรับมอบใหเก็บรักษาไมตรงกับจํานวนซึ่งแสดงไวในรายงานเงิน คงเหลือประจําวัน ใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงินและเจาหนาที่การเงินผูนําสงรวมกันบันทึกจํานวนเงินที่ ตรวจนับไดนนั้ ไวในรายงานเงินคงเหลือประจําวันและลงลายมือชื่อกรรมการทุกคนพรอมดวยเจาหนาที่ การเงินผูนําสงแลวนําเงินเขาเก็บรักษาในตูนิรภัย แลวใหกรรมการเก็บรักษาเงินรายงานใหหัวหนา หนวยงานทราบทันทีเพื่อพิจารณาสั่งการตอไป ขอ 86 เมื่อนําเงินเขาเก็บในตูน ิรภัยแลว ใหกรรมการใสกญ ุ แจตูนิรภัยใหเรียบรอยแลวลง ลายมือชื่อบนกระดาษปดทับหรือประจําตราครั่งหรือดินเหนียวของกรรมการแตละคนไวบนเชือกผูกมัดตู นิรภัยในลักษณะที่ตราประจําครั่งดินเหนียว หรือแผนกระดาษปดทับจะตองถูกทําลายเมื่อมีการเปดตูนิรภัย ในกรณีที่ตูนิรภัยตั้งอยูในหองมั่นคง หรือกรงเหล็ก การลงลายมือชื่อบนกระดาษปดทับหรือ ประจําตราครั่งของกรรมการจะกระทําที่ประตูหองมั่นคงหรือกรงเหล็กแตเพียงแหงเดียวก็ได ในวันทําการถัดไปหากจะตองนําเงินออกจาย ใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงินมอบเงินเก็บรักษา ทั้งหมดใหหวั หนาหนวยการคลังหรือเจาหนาที่การเงินรับไปจาย โดยใหลงลายมือชือ่ รับเงินไวในรายงาน เงินคงเหลือประจําวันกอนวันทําการที่รับเงินไปจายนั้น ขอ 87 สําหรับหนวยงานทีไ่ ดรับอนุมัติจากปลัดกรุงเทพมหานครแยกออกไปทําการรับจาย และรักษาเงิน ใหปลัดกรุงเทพมหานครตั้งคณะกรรมการรักษาเงินไว ณ หนวยงานไมนอยกวาสามคน และ ตองเปนขาราชการกรุงเทพมหานครไมต่ํากวาระดับ 3 และคนหนึ่งในจํานวนนั้นตองเปนหัวหนาหนวยการ คลังหรือเจาหนาที่การเงินโดยตําแหนงในกรณีที่ไมมีขาราชการระดับ 3 หรือมีแตไมสามารถทําหนาที่ ดังกลาวไดใหรายงานขออนุมัติปลัดกรุงเทพมหานครแตงตั้งขาราชการระดับ 2 แทน โดยใหทําเปนคําสั่ง ใหหนวยงานตามวรรคหนึ่งมีอํานาจเก็บรักษาเงินไวที่สาํ นักงานไดไมเกิน 10,000 บาท ความขางตนมิใหใชบังคับแกหนวยงานทีม่ ีขอบัญญัติหรือระเบียบใชบังคับโดยเฉพาะกับ หนวยงานนั้น ขอ 88 บรรดาเงินที่หนวยงานไดรับเปนกรรมสิทธิ์ ไมวาจะไดรับตามกฎหมายหรือระเบียบ ขอบังคับ หรือไดรับชําระตามอํานาจหนาที่ หรือสัญญา หรือไดรับการใหใชทรัพยสิน หรือเก็บดอกผล จากทรัพยสินของทางราชการ ใหหนวยงานที่ไดรับเงินนั้นนําสงเปนรายไดของกรุงเทพมหานครทั้งสิ้น เวน แตจะมีกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับกําหนดเปนอยางอื่น หนวยงานใดไดรับเงินที่มีผูมอบใหโดยมีวตั ถุประสงคเพื่อใหจายในกิจการของหนวยงานนั้น หรือไดรับเงินที่เกิดจากทรัพยสินซึ่งมีผูมอบใหเพื่อหาดอกผลใชจายในกิจการของหนวยงานนั้น ให หนวยงานดังกลาวจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันภายในวงเงินที่ไดรับได โดยไมตองนําสงเปนรายรับของ

กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ใหถอื ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับที่กรุงเทพมหานครกําหนด แต เมื่อไดดําเนินการตามวัตถุประสงคแลวมีเงินเหลือจายเทาใดใหนําสงเปนรายรับของกรุงเทพมหานครตอไป ขอ 89 เมื่อปรากฏวาหนวยงานใดปฏิบัติเกีย่ วกับการเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงเปนรายได ของกรุงเทพมหานครไมถูกตองตามระเบียบ ใหปลัดกรุงเทพมหานครสั่งการใหปฏิบัติใหถูกตองโดยดวน หากปรากฏวาเงินในความรับผิดชอบของหนวยงานใดขาดบัญชีหรือสูญหายเพราะการทุจริต หรือมีพฤติการณที่สอไปในทางไมสุจริต หรือเพราะเหตุหนึ่งเหตุใดซึง่ มิใชกรณีปกติ ใหหวั หนาหนวยงาน รีบรายงานพฤติการณใหปลัดกรุงเทพมหานครทราบโดยดวน ในกรณีที่เห็นวาเปนความผิดอาญาแผนดินก็ ใหฟองรองดําเนินคดีแกผูกระทําผิด และใหแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นดําเนินการสอบสวนเพื่อพิจารณาหา ตัวผูรับผิดในทางแพงโดยดวน หมวด 10 การตรวจเงิน ขอ 90 ใหหนวยงานแตละแหงมีบัญชีและทะเบียนรับจาย รวมทั้งสรรพบัญชี หรือทะเบียนอื่น ใดเทาที่จําเปน หรือตามที่ปลัดกรุงเทพมหานครกําหนด ขอ 91 ทุกวันที่มีการรับจายเงิน ใหหัวหนาหนวยการคลังรายงานจํานวนเงินรับจาย ตลอดจน เงินคงเหลือและเงินฝากตาง ๆ ใหหวั หนาหนวยงานทราบเปนประจําทุกวัน และใหหวั หนาหนวยงาน รายงานจํานวนเงินรับจาย ตลอดจนเงินคงเหลือและเงินฝากตาง ๆ ใหปลัดกรุงเทพมหานครทราบเปน ประจําทุกเดือน ขอ 92 เมื่อสิ้นปงบประมาณ ใหหนวยงานจัดใหมกี ารสํารวจรายละเอียดลูกหนี้และเจาหนี้วา มีจํานวนเงินคงคางชําระหนีอ้ ยูกี่ราย เปนเงินทั้งสิ้นรายละเทาใด รวมเปนจํานวนรายและจํานวนเงินทั้งสิ้น เทาใด และแจงสํานักการคลังทราบเพื่อประกอบการทํารายงานการรับจายเงินประจําป ขอ 93 ภายในหกสิบวันนับตั้งแตวนั สิ้นปงบประมาณ ใหหนวยงานทีม่ ีหนาที่รับและจายเงิน จัดทํางบเงินรายรับรายจายในรอบปงบประมาณเสนอปลัดกรุงเทพมหานครทราบโดยผานหนวยงาน ตรวจสอบภายในสํานักปลัดกรุงเทพมหานคร และสําเนาสงสํานักการคลังกับสํานักงานตรวจเงินแผนดิน แหงละหนึ่งชุด ใหสํานักการคลังจัดทํางบเงินรายรับรายจายในรอบปงบประมาณเปรียบเทียบกับงบประมาณ กับจัดทํารายงานการรับจายเงินประจําปงบประมาณที่สิ้นสุดลง เสนอปลัดกรุงเทพมหานครเพื่อดําเนินการ ตอไป (ตามมาตรา 120 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528) ขอ 94 ใหหนวยงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร มีหนาที่ตรวจสอบบัญชี การเงินการรับจายเงิน การพัสดุ และการกอหนี้ผูกพันงบประมาณรายจาย หรือตรวจสอบอื่นใด ตามที่ปลัด กรุงเทพมหานครมอบหมาย และตามหลักเกณฑและวิธีการที่ปลัดกรุงเทพมหานครกําหนด

ขอ 95 ในการตรวจสอบบัญชีและหลักฐานการรับจายเงิน ใหหัวหนาหนวยงานผูเบิกหรือรับ เงินและหรือหัวหนาหนวยการคลังมีหนาที่ใหคําชี้แจงและอํานวยความสะดวกแกเจาหนาที่หนวยงาน ตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร หรือสํานักงานตรวจเงินแผนดิน แลวแตกรณี เมื่อมีเหตุทักทวงใหเจาหนาที่หนวยงานตรวจสอบภายในสํานักปลัดกรุงเทพมหานคร แจง โดยตรงกับหัวหนาหนวยงานที่เกีย่ วของ หรือกรณีเจาหนาที่สํานักงานตรวจเงินแผนดินไดแจงโดยตรงกับ หัวหนาหนวยงานที่เกีย่ วของ ใหหนวยงานนั้นปฏิบัติตามคําทักทวงภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับแจง หากหัวหนาหนวยงานไมปฏิบัติตามคําทักทวงของหนวยงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัด กรุงเทพมหานคร ตามกําหนดโดยไมมเี หตุผลสมควร ใหหนวยงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัด กรุงเทพมหานครรายงานใหปลัดกรุงเทพมหานครทราบเพื่อสั่งการ หมวด 11 เบ็ดเตล็ด ขอ 96 ในกรณีที่มีเหตุพิเศษสมควรปฏิบัติเปนอยางอื่น หรือที่ไมมีกําหนดไวในระเบียบนี้ ให เสนอผูวาราชการกรุงเทพมหานครพิจารณาสั่งการเปนคราว ๆ ไป หมวด 12 บทเฉพาะกาล ขอ 97 การรับ การเบิกจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนําสงเงิน และการตรวจเงินที่อยูใน ระหวางการดําเนินการและยังไมแลวเสร็จในวันที่ระเบียบนี้ใชบังคับ ใหดําเนินการตามระเบียบกรุงเทพ มหานคร วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ.2519 ตอไปจนกวาจะดําเนินการแลวเสร็จ หรือจนกวาจะสามารถดําเนินการตามระเบียบนีไ้ ด ทั้งนี้ ให หมายความรวมถึงบรรดาแบบพิมพ เอกสาร สมุดบัญชี และทะเบียนตาง ๆ ที่ใชในการเบิกและจายเงิน

ประกาศ ณ วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.2530 พลตรี จําลอง ศรีเมือง ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร

Related Documents

2530
November 2019 12
2530
June 2020 0
2530
June 2020 1