หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทย (หลักสูตรใหม) ฉบับป พ.ศ.2552
คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
1
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทย (หลักสูตรใหม) ฉบับป พ.ศ. 2552 คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี 1. ชื่อหลักสูตร 1.1 ภาษาไทย : 1.2 ภาษาอังกฤษ :
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทย Bachelor of Science Program in Veterinary Technology
2. ชื่อปริญญา 2.1 ชื่อเต็มภาษาไทย ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ 2.2 ชื่อยอภาษาไทย ชื่อยอภาษาอังกฤษ
: : : :
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการสัตวแพทย) Bachelor of Science (Veterinary Technology) วท.บ. (เทคนิคการสัตวแพทย) B.Sc. (Veterinary Technology)
3. หนวยงานที่รับผิดชอบ คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี โทรศัพท : 0-3259-4037 โทรสาร: 0-3259-4037 e-mail address:
[email protected] 4. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร 4.1 ปรัชญา การพัฒนาประเทศที่ผานมา การเกษตรเปนรากฐานทางสังคมและเศรษฐกิจที่แทจริงของประเทศ ประเทศไทยเปนประเทศที่มีความอุดสมบูรณเปนอูขาวอูน้ําเปนครัวของโลก จึงนับวาเปนโอกาสสําคัญของ ประเทศไทย ในการเปนแหลงผลิตอาหารเลี้ยงประชากรของโลก สินคาอาหารที่มีตนกําเนิดมาจากสัตวเปน สินคาสงออกของประเทศที่สามารถแขงขันกับตลาดโลกได ซึ่งมีความจําเปนตองยกระดับมาตรฐาน ปริมาณ และคุณภาพของการผลิตและผลผลิต โดยตองยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาหารใหมีมาตรฐานเทา เทียมในระดับสากล และเปนที่ยอมรับของตลาดโลก โดยตองกระทําตั้งแตกอนการเก็บเกี่ยวผลผลิตตลอดจน หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต และรวมถึงตองยกระดับมาตรฐานและคุณภาพการเลี้ยงสัตวของประเทศให
2
ทัดเทียมกับอารยะประเทศ นอกจากนั้นในสถานการณโลกปจจุบัน นอกจากมาตรฐานและคุณภาพของการ เลี้ยงสัตวดังกลาว ประเทศยังตองการมาตรฐานดานหองปฏิบัติการชันสูตรโรคสัตวและมาตรฐานดานสวัสดิ ภาพสัตว เพื่อใหอาหารมีความปลอดภัย เปนที่ยอมรับตามกติกาของการคาระหวางประเทศ และสามารถ สรางความเชื่อมั่นใหกับประเทศคูคาได ดังนั้นจึงสมควรสงเสริมการผลิตบุคลากรใหมีความรูความสามารถ ในการจัดการดูแลสัตว มีทักษะการตรวจชันสูตรโรคสัตวโดยอาศัยหองปฏิบัติการทางสัตวแพทย โดยมีความ เขาใจทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ พรอมทั้งมีความเขาใจเกี่ยวกับการพยาบาลสัตวดวย เพื่อการเชื่อมโยงสู การวิเคราะหขอมูล และการสังเคราะหความรูและวิธีปฏิบัติสําหรับการจัดการดูแลสัตวใหไดผลผลิตที่มีทั้ง ปริมาณและคุณภาพ เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและการแขงขันของประเทศ การปฏิบัติงานทางสุขภาพสัตวใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้นนั้น ตองอาศัยการทํางานเปนคณะ เฉกเชน การปฏิบัติงานทางการแพทยและการสาธารณสุข การปฏิบัติงานทางสุขภาพสัตว ตองประกอบดวยสัตว แพทยและนักเทคนิคการสัตวแพทย เพื่อปฏิบัติหนาที่การพยาบาลสัตว (Veterinary Nursing) และการวินิจฉัย ทางคลินิก (Clinical Laboratory) ดังนั้นการพัฒนาบุคลากรจึงเปนสิ่งสําคัญยิ่ง เนื่องจากวิทยาการและ เทคโนโลยี มีการเปลี่ยนแปลงกาวหนาอยูตลอดเวลา และมีความสลับซับซอนมากยิ่งขึ้น กอปรกับ สถานการณโลกและสถานการณโรคมีพลวัตรอยูเสมอเชนกัน นักเทคนิคการสัตวแพทย เปนบุคลากรวิชาชีพ ทางสุขภาพสัตวที่สามารถปฏิบัติหนาที่ไดหลากหลาย (Multi-functional Profession) โดยที่ทํางานใกลชิด และเกี่ยวของกับสัตวแพทย โดยมุงเนนสนับสนุนการปฏิบัติงานของสัตวแพทย ทั้งดานการพยาบาลสัตว การ ปฏิบัติงานในดานชันสูตรทางสุขภาพสัตวและดานสัตวแพทยสาธารณสุข เพื่อใหสัตวแพทยสามารถ ปฏิบัติงานภายในสถานพยาบาลสัตว หองปฏิบัติการทางสัตวแพทย ฟารมเลี้ยงสัตว สถานที่เลี้ยงสัตวทดลอง สวนสัตวหรือสถานประกอบการอื่นๆ ที่เกี่ยวของไดโดยสะดวก และมีความคลองตัวมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้น นักเทคนิคการสัตวแพทยยังเปนวิชาชีพที่มีศักยภาพ ในการพัฒนาดานการเลี้ยงสัตวและการสาธารณสุขของ ประเทศ โดยมุงเนนการประเมิน การวิเคราะหและการตรวจชันสูตรดานสุขภาพสัตวทั้งสัตวมีชีวิต (Live Animals) ซากสัตว (Animal Carcass) และผลผลิตจากสัตว (Animal Products)โดยอาศัยหองปฏิบัติการทาง สัตวแพทย ซึ่งจะกอประโยชนทั้งในดานสุขภาพสัตวและดานสุขภาพของผูบริโภค ใหกับเกษตรกรผูเลี้ยง สัตวและประชาชนของประเทศ คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร มีความมุงมั่นที่จะผลิตบุคลากร ทางเทคนิคการสัตวแพทย โดยเนนการผลิตบัณฑิตใหมีคุณลักษณะที่มีพื้นฐานความรูทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ โดยมุงเนนพัฒนาบุคลากรนักเทคนิคการสัตวแพทย ที่มีทักษะทางเทคนิคการสัตวแพทย โดย สงเสริมการเรียนรูและการปฏิบัติไปสูการบูรณาการองคความรูเปนสําคัญ รวมทั้งการฝกทักษะการ ปฏิบัติงานใหเกิดความชํานาญทั้งในหองปฏิบัติการทางสัตวแพทยและสถานที่เลี้ยงสัตวของหนวยงานทั้ง ภาครัฐ ภาคเอกชนและของเกษตรกร ตลอดจนเสริมสรางประสบการณการทํางานโดยตรง เพื่อใหบัณฑิตมี
3
ความสามารถในการใชเครื่องมือและอุปกรณที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน และเตรียมบัณฑิตใหมีความพรอม ที่จะปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและปฏิบัติงานไดจริง สามารถประกอบอาชีพเปนนักเทคนิคการสัตว แพทย ตามแผนการเรียนที่จัดไวในหลักสูตรอยางผูที่มีความรู มีปญญา มีความพรอมที่จะคนควาและ ประยุกตความรูไปแกปญหาและสงเสริมปรับปรุงการทํางานอยางมีระบบและมีประสิทธิภาพ พรอมถึงซึ่ง คุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ มีจิตสํานึก ตระหนักรูในบุญคุณของแผนดินไทย และ สอดคลองกับมาตรฐานวิชาชีพเทคนิคการสัตวแพทยและการพยาบาลทางสัตวแพทยในระดับสากล 4.2 วัตถุประสงค 1. เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรูแบบบูรณาการ สามารถมองปญหาแบบองครวมและเห็นความ สัมพันธเกี่ยวโยงกับความรูและทักษะการปฏิบัติงานในดานชันสูตรสุขภาพสัตว การพยาบาลสัตวและการ จัดการดูแลสัตวเพื่อสนับสนุนการผลิตสัตวและผลผลิตจากสัตวที่มีความปลอดภัยของอาหาร พรอมทั้งมี ทักษะดานสวัสดิภาพและสิทธิของสัตว 2. มุงหวังสรางองคคณะทํางานในทางวิชาชีพใหเกิดการประสานประโยชนครอบคลุมในการจัดการ วิชาชีพใหสนองประโยชนตอสุขภาพผูบริโภคโดยการสรางเสริมใหสัตวมีสุขภาพดี ทั้งนี้เพื่อการยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนดวยการมีอาหารบริโภคที่มีคุณภาพและความปลอดภัยดวยการปฏิบัติหนาที่ดาน การบริบาลสัตวเลี้ยงในฟารม และเพื่อการสรางคุณภาพทางจิตใจและการนันทนาการของประชาชนดวยการ ปฏิบัติหนาที่ดานการบริบาลสัตวเลี้ยงเปนเพื่อน 3. มุงเนนผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรดานสัตวและ วิทยาศาสตรสุขภาพมนุษยเชิงเปรียบเทียบ โดยเนนความเขาใจในวิทยาศาสตรดานสัตวกับความเชื่อมโยงสู ระบบสุขภาพมนุษย เพื่อการใชประโยชนจากสัตวทางดานปจจัยสี่ ไดแก อาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม ยา รักษาโรค ซึ่งรวมถึงการควบคุมปองกันโรคในมนุษยและสัตว โดยมุงหวังใหบัณฑิตมีทักษะและความรู พื้นฐานสําหรับศึกษาตอในระดับปริญญาโทและเอก และการคนควาวิจัยทางแนวลึกในอนาคต 4. มุงเนนสงเสริมความตระหนักรูซึ้งถึงความจําเปนในการพัฒนาคุณภาพและทุนความรู ทั้งของ ตนเอง ของวิทยาการ และของวิชาชีพ ใหสามารถปฏิบัติกิจกรรมที่รองรับและกําหนดไวตามพันธะกิจและ ภารกิจ เพื่อบรรลุวัตถุประสงคและเจตนารมณที่กําหนดไวเปนหลักฐานแหงบุคลากรในสายวิชาชีพ โดย มุงเนนใหบัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคม โดยยึดเอาความกตัญูตอประเทศชาติ และยึดประโยชนของประชาชนเปนที่ตั้ง 5. กําหนดการเปดสอน ตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2552
4
6. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา โดยไดรับการคัดเลือกเขาศึกษาใน มหาวิทยาลัยศิลปากร 7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา คัดเลือกนักศึกษาเขาศึกษา 4 วิธี คือ (1) การรับสมัครผานระบบคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาโดยสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2) การรับสมัครตรงผานระบบโควตาพิเศษของมหาวิทยาลัยศิลปากร (3) การรับสมัครผานระบบคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาดวยวิธีพิเศษโดยคณะสัตวศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร และ (4) การรับสมัครผานระบบคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาดวยวิธีอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยศิลปากรกําหนด 8. ระบบการจัดการศึกษา 8.1 การจัดการศึกษาโดยใชระบบทวิภาค โดย 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห และอาจจะจัดการศึกษาภาคพิเศษภาคฤดูรอน ตอจากภาคการศึกษาปลายอีก 1 ภาคก็ได โดยมีระยะเวลาศึกษาประมาณ 8 สัปดาห 8.2 การคิดหนวยกิต 8.2.1 รายวิชาภาคทฤษฏี ที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหาไมนอยกวา 15 ชั่วโมงตอ ภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค 8.2.2 รายวิชาภาคปฏิบัติการ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา 30 ชั่วโมงตอภาค การศึกษาปกติ และเมื่อรวมกับการศึกษานอกเวลาเรียน (ถามี) แลว ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษา ปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค 8.2.3 การฝกงานหรือการฝกภาคสนาม ที่ใชเวลาฝกไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาค การศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค 8.2.4 การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ไดรับมอบหมายที่ใชเวลาทํา โครงงานหรือกิจกรรมนั้นๆ ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต ระบบ ทวิภาค
5
8.3 เกณฑในการกําหนดหนวยกิต ในแตละรายวิชากําหนดเกณฑในการกําหนดคาของหนวย กิต จากจํานวน ชั่วโมงบรรยาย (บ) ชั่วโมงปฏิบัติ (ป) และชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอกเวลา เรียน (น) ตอ 1 สัปดาห แลวหารดวย 3 ซึ่งมีวิธีคิดดังนี้ จํานวนหนวยกิต = บ + ป + น 3 การเขียนหนวยกิตในรายวิชาตางๆ ประกอบดวย ตัวเลขสี่ตัว คือ ตัวแรกอยูนอกวงเล็บเปนจํานวน หนวยกิตของรายวิชานั้น ตัวที่สอง สาม และสี่ อยูในวงเล็บ บอกจํานวนชั่วโมงบรรยาย ปฏิบัติการและศึกษา ดวยตนเองนอกเวลาเรียน ตามลําดับ 9. ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรเทียบเทากับ 4 ปการศึกษา และใหเปนไปตามขอบังคับของ มหาวิทยาลัยศิลปากรวาดวยการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต พ.ศ. 2551 และ/หรือ ที่มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงภายหลัง 10. การลงทะเบียนเรียน จํานวนหนวยกิตที่นักศึกษาปกติสามารถลงทะเบียนเรียนในแตละภาคการศึกษา ใหเปนไปตาม ขอบังคับของมหาวิทยาลัยศิลปากรวาดวยการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต พ.ศ. 2551 และ/หรือ ที่มีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง 11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา ระเบียบการเรียนและการวัดผลใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัยศิลปากรวาดวยการศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิต พ.ศ. 2551 และ/หรือที่มีปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง และขอกําหนดเพิ่มเติมของ คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรสําหรับการจบหลักสูตรเปนดังนี้ 11.1 สอบไดหนวยกิตสะสมตามหลักสูตร ไมนอยกวา 138 หนวยกิต และ 11.2 สอบไดคาระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไมต่ํากวา 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน และ 11.3 สอบไดคาระดับเฉลี่ยสะสมของรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะไมต่ํากวา 2.00 จากระบบ 4 ระดับ คะแนน และ 11.4 สอบผานการสอบรวบยอดความรูเชิงบูรณาการ (Integrated Comprehensive Examination)
6
12. จํานวนและคุณวุฒิของอาจารย 12.1 อาจารยประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล ตําแหนงทางวิชาการ 1. นายสัตวแพทยเกรียงศักดิ์ พูนสุข (รองศาสตราจารย)
2. นายสัตวแพทย ดร. นรินทร ปริยวิชญภักดี (อาจารย)
3. นายสัตวแพทยศิริชัย เอียดมุสิก (อาจารย)
4. นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล (อาจารย)
5. สัตวแพทยหญิงจารุณี เกษรพิกุล (อาจารย)
คุณวุฒิ สาขาวิชา ชื่อสถาบันที่จบการศึกษา ปที่จบการศึกษา สพ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2514) F.R.V.A.C.(Microbiology and Food Hygiene) Denmark (1973) Cert. in Anaerobic Bacteriology Virginia Polytechnic Institute, USA (1980) สพ.บ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2538) ปร.ด. (พยาธิชีววิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล (2550) วท.บ. (วิทยาศาสตรสุขภาพสัตว) เกียรตินิยม อันดับ 2 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (2539) สพ.บ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร (2543) สพ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2543) กษ.ม. (สงเสริมการเกษตร) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2548) สพ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2543) ส.ม. มหาวิทยาลัยมหิดล (2546)
ตัวอยางผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย 1. การพัฒนาจุลินทรียสิ่งเติมใน อาหารสําหรับปศุสัตว (2548)
ภาระงานสอนเฉลี่ย (ชั่วโมง/สัปดาห/ปการศึกษา) ปจจุบัน หลักสูตรใหม 35
งานวิจัย 1. Distribution of 28.5 kDa antigen in the tegument of adult Fasciola gigantica (2006)
-
35
งานวิจัย 1. การเกิดภาวะกระดูกบางและ แตกหักงายจากความผิดปกติที่ เกี่ยวของกับโรคเมตาบอลิซึมของ กระดูกในลูกชาง (2546)
-
35
งานวิจัย 1. การศึกษาเบื้องตนทางโลหิต วิทยาและคาเคมีเลือดของ ตะพาบน้ําพันธุไตหวันเพศผู, (2544) งานวิจัย 1. ผลของยาอามิทราสตอระดับ น้ําตาลกลูโคสและฮอรโมน อินซูลินในกระแสเลือดของสุนัข, (2544)
-
35
-
35
7
12.2 อาจารยผูสอนประจําคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ชื่อ-สกุล ตําแหนงทางวิชาการ 1. นายพิเชษฐ ศรีบุญยงค (อาจารย)
2. นายพิรวิทย เชื้อวงษบุญ (อาจารย)
3. น.ส.ภัทราพร ภุมรินทร (อาจารย)
4. น.ส.สุภาวดี มานะไตรนนท (อาจารย)
5. น.ส.กฤติยา เลิศชุณหะเกียรติ (อาจารย)
6. นายศรัณยพงศ ทองเรือง (อาจารย)
7. น.ส.วัชราภรณ รวมธรรม (อาจารย)
คุณวุฒิ สาขาวิชา ชื่อสถาบันที่จบการศึกษา ปที่จบการศึกษา วท.บ. (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2537) วท.ม. (สัตวศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2544) ศศ.บ. (รัฐศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง (2540) วท.บ. (เทคโนโลยีการเพาะขยายพันธุสัตว) มหาวิทยาลัยมหิดล (2541) วท.ม. (สัตวศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2544) วท.บ. (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2541) วท.ม. (สัตวศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2545) วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2542) วท.ม. (เทคโนโลยีการผลิตสัตว) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (2545) วท.บ. (สัตวศาสตร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง (2541) วท.ม. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2546) วท.บ. (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2541) วท.ม. (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2546) วท.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2542) วท.ม. (สัตววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2545)
ตัวอยางผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย 1. การศึกษาผลของการใชกลูโคแมนแนน ในรูปแปงบุกเพื่อลดโคเลสเตอรอลในไก เนื้อ (2544) งานวิจัย 1. การตัดแบงตัวออนแบบงายและการ ตัดสินเพศโดยใชปฏิกิริยาลูกโซของ เอนไซมโพลิเมอเรส (2544)
ภาระงานสอนเฉลี่ย (ชั่วโมง/สัปดาห/ปการศึกษา) ปจจุบัน หลักสูตรใหม 8 8.5
7
15
งานวิจัย 1. การประเมินคาคํานวณเชิงโภชนาการ ของเอนไซมไฟเตสในอาหารลูกสุกรหยา นม (2545) งานวิจัย 1. การปรับปรุงพันธุกรรมสัตวเศรษฐกิจ ใหตานทานโรคโดยใชวิธี Molecular genetics เขาชวย (2545) งานวิจัย 1. อิทธิพลของสารไตรฟลูราลินที่มีตอ สารชีวเคมีเลือดกุงกุลาดํา (2545)
12
8.5
5
15
11
5.5
งานวิจัย 1. การใชฮอรโมน Bovine somatotropin และการใหความเย็นในโรงเรือนเปดตอ การเพิ่มผลผลิตน้ํานมของโคนมใน ประเทศไทย (2546) งานวิจัย 1. Detoxification mechanisms of the golden apple snail against nut grass extracts containing 4, 11- Selinnadien-3one and extract toxicity to some nontarget species. (2545)
5
5.5
7
5.5
8 ชื่อ-สกุล ตําแหนงทางวิชาการ 8. น.ส.พรพรรณ แสนภูมิ (อาจารย)
9. นายอนันท เชาวเครือ (อาจารย)
คุณวุฒิ สาขาวิชา ชื่อสถาบันที่จบการศึกษา ปที่จบการศึกษา วท.บ. (เกษตรศาสตร) เกียรตินิยม อันดับ 2 มหาวิทยาลัยขอนแกน (2542) วท.ม. (สัตวศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2546) วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตสัตว) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (2540) วท.ม. (สัตวศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2546)
10. น.ส.วิไลวรรณ สิริโรจนพุฒิ วท.บ. (เศรษฐศาสตรเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2538) (อาจารย) วท.ม. (เศรษฐศาสตรเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2542) 11. ดร.ศิวพร แพงคํา วท.บ. (สัตวบาล) เกียรตินิยมอันดับ1 (อาจารย) สถาบันราชภัฎบุรีรัมย (2539) วท.ม. (สัตวศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2543) ปร.ด. (สัตวศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2549) 12. นายภูธฤทธิ์ รักษาศิริ คอ.บ. (เทคโนโลยีการเกษตร) (อาจารย) เกียรตินิยม อันดับ 2 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง (2544) วท.ม. (สัตวศาสตร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง (2548) 13. น.ส.ดาวรุง ศิลาออน วท.บ. (ชีววิทยา) (อาจารย) มหาวิทยาศาสตรเกษตรศาสตร (2545) วท.ม. (กายวิภาคศาสตรทางสัตวแพทย) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2550) 14. นายภวพล คงชุม วท.บ.(ประมง) (อาจารย) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (2535) M.S.(Aquaculture) Central Luzon State University, Philippines (1997)
ตัวอยางผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย 1. ผลของการใชอาหารขนรวมกับฟาง แหงและฟางหมักตอสมรรถนะการ เจริญเติบโต ลักษณะซากและการยอมรับ ของการบริโภคเนื้อแพะและแกะ (2545) งานวิจัย 1. ชีววิทยาของเนื้อทราย (Cervus porcinus): การเจริญเติบโต ปริมาณการ กินได (2545)
ภาระงานสอนเฉลี่ย (ชั่วโมง/สัปดาห/ปการศึกษา) ปจจุบัน หลักสูตรใหม 9.5 5.5
7
5.5
งานวิจัย 1. การวิเคราะหการจัดการดูแลไหมเพื่อ การผลิตอุตสาหกรรมเสนไหมของ ประเทศไทย ปการผลิต 2539 (2542) งานวิจัย 1. การศึกษาเปรียบเทียบสัดสวนของ อาหารหยาบตออาหารขนที่มีผลตอจุลิน ทรียในกระเพาะหมัก และผลผลิตสุดทาย จากกระบวนการหมักในโคและกระบือ ปลัก (2544) งานวิจัย 1. คุณภาพและการยอมรับของผูบริโภค ตอไสกรอกแฟรงเฟอรเตอร ที่ใชไขมัน ปาลมเปนองคประกอบ (2551)
4
10
5
6.5
5
5.5
งานวิจัย 1. การศึกษาความสัมพันธของไตที่เกิด วิการจุดขาว (White spot) กับการเกิดโรค Leptospirosis ในโค (2550) งานวิจัย 1. Salinity tolerance of different strains of genetically improved tilapia (Oreochromis niliticus), (2542)
5
15
26.5
3.5
9 ชื่อ-สกุล ตําแหนงทางวิชาการ 15. นายชนม ภูสุวรรณ (อาจารย)
16. น.ส.สมฤดี ศิลาฤดี (อาจารย)
17. นายสาธิต บุญนอม (อาจารย)
18. นายอนวัช บุญญภักดี (อาจารย)
คุณวุฒิ สาขาวิชา ชื่อสถาบันที่จบการศึกษา ปที่จบการศึกษา วท.บ.(วาริชศาสตร) มหาวิทยาลัยบูรพา (2538) M.Sc.(Biological Sciences), Brock University, Canada (1997) วท.บ.(ประมง) มหาวิทยาลัยขอนแกน (2540) วท.ม.(วิทยาศาสตรการประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2546) วท.บ.(ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยรามคําแหง (2537) วท.ม.(เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2545) วท.บ.(การประมง) มหาวิทยาลัยแมโจ (2539) วท.ม.(วาริชศาสตร) มหาวิทยาลัยบูรพา (2542)
19. นายมานะ กาญจนมณีเสถียร วท.บ. (เกษตรศาสตร) (รองศาสตราจารย) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2511) วท.ม. (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2514) M.Appl.Sc. (Microbiology) Lincoln University, New Zealand (1994) 20. นายกฤษณะ เรืองฤทธิ์ วท.บ.(เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2542) (อาจารย) วท.ม.(เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2546) 21. น.ส.พฤฒิยา นิลประพฤกษ วท.บ.(เทคโนโลยีการอาหาร) (อาจารย) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2542) วท.ม.(เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี (2545) 22. น.ส.อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ วท.บ.(เกษตรศาสตร) (ผูชวยศาสตราจารย) ม.สงขลานครินทร (2542) วท.ม.(การจัดการทรัพยากรดิน) ม.สงขลานครินทร (2545)
ตัวอยางผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย 1. Structure and Condition of Choaloa Coral Reef, Chanthaburi 3 years after 1997-98 El Nino. (2544) งานวิจัย 1. การศึกษาปริมาณแพลงกตอน แบคทีเรียและคุณภาพน้ําในนาเกลือ, (2545) งานวิจัย 1.ผลกระทบของการเลี้ยงกุงกุลาดําใน ระดับความเค็มต่ําตอคุณสมบัติของดิน (2545) งานวิจัย 1. Genetic diversity and speciesdiagnostic markers of Mud Crab (Genus Scylla) in eastern Thailand determine by RAPD analysis (1999) งานวิจัย 1. การคัดเลือกสายพันธุและการศึกษาเพื่อ จําแนกเชื้อราปฏิปกษ Trichoderma Spp. ที่มีศักยภาพในการควบคุมเชื้อราสาเหตุ (2543)
ภาระงานสอนเฉลี่ย (ชั่วโมง/สัปดาห/ปการศึกษา) ปจจุบัน หลักสูตรใหม 25 3.5
23.5
3.5
10
3.5
11
3.5
-
10
งานวิจัย 1. การเปรียบเทียบลานพิมพดีเอ็นเอในไม โตคอนเดียเพื่อการจําแนกพันธุไหมไทย พื้นเมือง (2545) งานวิจัย 1. การผลิตซอสปรุงรสกลิ่นเนื้อยางโดย กระบวนการใหความรอน (2541)
16
2.5
16
2.5
งานวิจัย 1. ศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและทาง กายภาพของกากตะกอนของเสีย (2542)
10
2.5
10 ชื่อ-สกุล ตําแหนงทางวิชาการ 23. ดร.พรรณธิภา ณ เชียงใหม (ผูชวยศาสตราจารย)
24. น.ส.ยุภา ปูแตงออน (อาจารย)
25. น.ส.ศิรินทรนภา พุมแจ (อาจารย)
26. น.ส.อรอุมา ทองหลอ (อาจารย)
27. น.ส.สุวิมล ชินกังสดาร (อาจารย)
28. นายพิสิษฐ สุวรรณแพทย (อาจารย)
29. น.ส.ฌานิกา จันทสระ (อาจารย)
30. นายทวีศักดิ์ เตชะเกรียงไกร (อาจารย)
คุณวุฒิ สาขาวิชา ชื่อสถาบันที่จบการศึกษา ปที่จบการศึกษา วท.บ.(เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2540) วท.ม.(เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2542) ปร.ด.(พืชไร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2548) วท.บ.(เคมี) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2543) วท.ม.(เคมีอินทรีย) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2548) วท.บ.(ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (2544) วท.ม.(สัตววิทยา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2548) วท.บ.(คณิตศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2544) วท.ม.(สถิติ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2546) วท.บ.(วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2547) วท.ม.(ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2550) วท.บ.(ฟสิกส) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2548) วท.ม.(ฟสิกส) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2550) วท.บ.(เคมี) เกียรตินิยม อันดับ 1 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (2543) วท.ม.(เคมีศึกษา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (2549) วท.บ. (สัตวศาสตร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง (2540) วท.ม.(เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2543)
ตัวอยางผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย 1. ระดับปุยและชวงเวลาการกําจัดวัชพืชที่ มีผลตอการผลิตขาวไร (2539)
ภาระงานสอนเฉลี่ย (ชั่วโมง/สัปดาห/ปการศึกษา) ปจจุบัน หลักสูตรใหม 1 2.5
งานวิจัย 1. การศึกษาองคประกอบทางเคมีของ เปลือกผลสุกของสารภี (2548)
12.5
12.5
งานวิจัย 1. จุลพยาธิวิทยาของตับและไตปลานิล ภายหลังไดรับสุราขาว 30 ดีกรี ระดับ ความเขมขนต่ําเปนระยะเวลานาน (2548) งานวิจัย 1. การใชโปรแกรมเชิงเสนในการจัดสรร เงินกูของธนาคารพานิชย กรณีศึกษา ธนาคารกรุงเทพ จํากัด(มหาชน) (2546) งานวิจัย 1. สําเนียงถิ่นของนกกะรางหัวหงอก (Garrulax leucolophus) (2550)
12.5
12.5
12.5
12.5
12.5
12.5
งานวิจัย 1. ศักยภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงาน แสงอาทิตยระบบความรอนแบบรวมแสง กรณีศึกษาสําหรับจังหวัดรอยเอ็ด (2550) งานวิจัย 1. การหาปริมาณแอนไอออนและแคต ไอออนในน้ําฝนโดย เทคนิคไอออนโคร มาโทรกราฟ (2548) งานวิจัย 1. ผลของการเสริมแบซิทราซิน เมทีลีน ไดซาลิไซเลท รวมกับคลอเตตราซัยคลิน หรือไทโลซีน-ซัลฟาเม็ทธาซีน ในอาหาร สุกรระยะหยานมและสุกรรุนขุน (2543)
12.5
12.5
12.5
12.5
12.5
15
11
12.3 คณาจารยพิเศษจากมหาวิทยาลัยศิลปากร และจากหนวยงานราชการภาครัฐ ภาคเอกชนและผูที่ มีประสบการณเกี่ยวกับสาขาวิชาที่เปดสอนในหลักสูตรตามที่มหาวิทยาลัยประกาศแตงตั้ง 13. จํานวนนักศึกษา ชั้นปที่ ชั้นปที่ 1 ชั้นปที่ 2 ชั้นปที่ 3 ชั้นปที่ 4 รวม จํานวนที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษา
ป 2552 40 40 -
จํานวนนักศึกษา (คน) ป 2553 ป 2554 ป 2555 40 40 40 40 40 40 40 40 40 80 120 160 40
ป 2556 60 40 40 40 180 40
14. สถานที่และอุปกรณการสอน 14.1 สถานที่ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี 14.2 อุปกรณการสอน ครุภัณฑของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 15. หองสมุด สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร มีสื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาศาสตรการแพทยและเกษตรศาสตร เปนหนังสือจํานวนประมาณ 5,000 เลม และวารสารจํานวน ประมาณ 30 รายการ 16. งบประมาณ 16.1 งบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผนดินที่ไดรับจัดสรร และงบประมาณอื่นๆ ตามที่ ไดรับจัดสรรประจําปตามแผนงาน 16.2 ใชงบประมาณของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ทั้งนี้โดย การใชหลักการของการจัดสรรและการใชสอยทรัพยากรรวมกัน
12
17. หลักสูตร 17.1 จํานวนหนวยกิตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 138 หนวยกิต 17.2 โครงสรางหลักสูตร ประกอบดวย 4 หมวดวิชา ดังตาราง หมวดวิชา 1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 1.1 กลุมวิชาภาษา 1.2 กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 1.3 กลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาแกน 2.2 กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพและวิชาชีพ 2.3 กลุมวิชาประสบการณวิชาชีพ 2.4 กลุมวิชาเฉพาะดาน 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 4. การสอบรวบยอดความรูเชิงบูรณาการ รวมหนวยกิตสะสมตองไมนอยกวา 17.3
จํานวนหนวยกิต 30 15 8 7 102 30 54 6 12 6 ไมนับหนวยกิต 138
คําอธิบายรหัสวิชา กําหนดรหัสวิชาไวเปน 6 หลัก โดยแบงเลขออกเปน 2 กลุม กลุมละ 3 หลัก 17.3.1 เลขสามหลักแรก เปนเลขประจําหนวยงานที่รับผิดชอบรายวิชานั้น ๆ 080 มหาวิทยาลัยศิลปากร 700 คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 710 สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 711 สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตวน้ํา คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 712 สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 713 สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
13
17.3.2 เลขสามหลักหลัง (เฉพาะรายวิชาที่มีรหัส 713) เลขตัวแรก หมายถึง ระดับชั้นปที่นักศึกษาปกติควรเรียนไดคือ 1 = ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิต ชั้นปที่ 1 หรือ ชั้นปที่ 2 2 = ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิต ชั้นปที่ 2 3 = ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิต ชั้นปที่ 3 4 = ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิต ชั้นปที่ 4 เลขตัวที่สองและสาม หมายถึง อนุกรมของรายวิชา รายละเอียดโครงสรางหลักสูตร 1) หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป นักศึกษาสาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทยตองศึกษารายวิชาในหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต ประกอบดวย
080 176 080 177 080 178 700 207 713 201
1.1) กลุมวิชาภาษา จํานวนไมนอยกวา 15 หนวยกิต ประกอบดวยรายวิชาตอไปนี้ ภาษากับการสื่อสาร 3(3-0-6) (Language and Communication) ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2-5) (English I) ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2-5) (English II) ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร 1 3(3-0-6) (Scientific English I) ศัพทวิทยาการสัตวแพทย 3(3-0-6) (Veterinary Medical Terminology) หรือเลือกเรียนจากรายวิชาที่ไดรับอนุมัติใหเปดสอนเพิ่มเติม
14
700 202 700 203 700 303
080 101 080 107 080 114 080 127 080 140 080 141 080 145 080 146 700 206 700 208
1.2) กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร จํานวนไมนอยกวา 8 หนวยกิต ประกอบดวย รายวิชาตอไปนี้ แคลคูลัส 3(3-0-6) (Calculus) ชีวสถิติเบื้องตน 3(2-3-4) (Basic Biostatistics) หองสมุดดิจิตอลและสารสนเทศเพื่อการวิจัย 2(1-3-2) (Digital Library and Information for Research) 1.3) กลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร จํานวนไมนอยกวา 7 หนวยกิต มนุษยกับการสรางสรรค 3(3-0-6) (Man and Creativity) ดนตรีวิจักษ 2(2-0-4) (Music Appreciation) ศิลปวิจักษ 2(2-0-4) (Art Appreciation) จิตวิทยาเบื้องตน 2(2-0-4) (Introduction to Psychology) กีฬาศึกษา 2(1-2-3) (Sport Education) หลักนันทนาการ 1(1-0-2) (Principles of Recreation) การจัดการทั่วไป 3(3-0-6) (Introduction to Management) มนุษยและสัตวในสังคม 3(3-0-6) (Humans and Animals in Society) กฎหมายการเกษตร 2(2-0-4) (Agricultural Laws) ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร 2 3(3-0-6) (Scientific English II)
15
700 271 700 272 700 281 700 301 700 471 712 271 712 382 712 481 713 102 713 209
หลักสหกรณและการสงเสริมการเกษตร (Principles of Cooperatives and Agricultural Extension) เศรษฐกิจพอเพียง (Self Sufficient Economy) ภูมิปญญาไทยทางการเกษตร (Thai Wisdom in Agriculture) เศรษฐศาสตรการเกษตร (Agricultural Economics) การตลาดสินคาเกษตรและอาหาร (Food and Agricultural Marketing) ธุรกิจเกษตร (Agribusiness) ลอจิสติกสและหวงโซอุปทาน (Logistics and Supply Chain) การจัดอบรมเพื่อการถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร (Training for Agricultural Technology Transfer) พันธภาพมนุษยและสัตวเลี้ยงเปนเพื่อน (Human – Companion Animal Bond) กฎหมาย สิทธิและการคุมครองสัตว (Animal Laws, Rights and Protections) หรือเลือกเรียนจากรายวิชาที่ไดรับอนุมัติใหเปดสอนเพิ่มเติม
2(2-0-4) 1(1-0-2) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 2(2-0-4) 2(2-0-4)
2) หมวดวิชาเฉพาะ 2.1) กลุมวิชาแกน จํานวน 30 หนวยกิต ประกอบดวยรายวิชาตอไปนี้ 700 181 เคมีเบื้องตน 3(3-0-6) (Fundamental Chemistry) 700 182 ปฏิบัติการเคมีเบื้องตน 1(0-3-0) (Fundamental Chemistry Laboratory) 700 183 เคมีอินทรียเบื้องตน 3(3-0-6) (Fundamental Organic Chemistry)
16
700 184 700 185 700 186 700 187 700 188 700 201 700 204 700 205 700 206 700 302
713 101 713 202 713 203 713 204
ปฏิบัติการเคมีอินทรียเบื้องตน (Fundamental Chemistry Laboratory) ชีววิทยา 1 (Biology I) ปฏิบัติการชีววิทยา 1 (Biology Laboratory I) ชีววิทยา 2 (Biology II) ปฏิบัติการชีววิทยา 2 (Biology Laboratory II) จุลชีววิทยาสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร (Microbiology for Agricultural Science Students) ชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร (Biochemistry for Agricultural Science Students) ปฏิบัติการชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร (Biochemistry Laboratory for Agricultural Science Students) ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics) พันธุศาสตรการเกษตร (Agricultural Genetics)
1(0-3-0) 3(3-0-6) 1(0-3-0) 3(3-0-6) 1(0-3-0) 3(2-3-4) 3(3-0-6) 1(0-3-0) 4(4-0-8) 3(3-0-6)
2.2) กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพและวิชาชีพ จํานวน 51 หนวยกิต ประกอบดวยรายวิชาตอไปนี้ ความรูเบื้องตนทางเทคนิคการสัตวแพทย 1(1-0-2) (Introduction to Veterinary Technology) วิทยาเซลลและมิชญวิทยาทางสัตวแพทย 2(1-2-3) (Veterinary Cytology and Histology) สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย 4(3-4-5) (Veterinary Physiology and Applied Anatomy) โลหิตวิทยาและวิทยาภูมิคุมกันทางสัตวแพทย 2(1-2-3) (Veterinary Hematology and Immunology)
17
713 205 713 206 713 207 713 208 713 301 713 302 713 303 713 304 713 305 713 306 713 307 713 308 713 309 713 310 713 311
จุลชีววิทยาทางสัตวแพทย (Veterinary Microbiology) พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย (Veterinary Pathology) เภสัชวิทยาและพิษวิทยาทางสัตวแพทย (Veterinary Pharmacology and Toxicology) โภชนศาสตร อาหารและการใหอาหารสัตว (Animal Nutrition, Feed and Feeding) ปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางสัตวแพทย (Veterinary Parasitology and Entomology) การปฏิบัติงานสถานพยาบาลสัตวและวิธีทางคลินิก (Veterinary Hospital Procedures and Clinical Methods) เทคโนโลยีทางสัตวที่ใชวิจัย 1 (Research Animal Technology I) การถายภาพรังสีและเครื่องมือวินิจฉัยทางสัตวแพทย (Veterinary Radiography and Diagnostic Instruments) การพยาบาลสัตวเล็กและการจัดการสุขภาพ (Small Animal Nursing and Health Management) การปรับปรุงพันธุและการสืบพันธุสัตว (Animal Breeding and Reproduction) การพยาบาลสัตวเลี้ยงในฟารมและการจัดการสุขภาพ (Farm Animal Nursing and Health Management) เทคโนโลยีการวินิจฉัยทางสัตวแพทย 1 (Diagnostic Technology in Veterinary Medicine I) เทคโนโลยีการวินิจฉัยทางสัตวแพทย 2 (Diagnostic Technology in Veterinary Medicine II) เทคโนโลยีหองปฏิบัติการตรวจอาหารทางสัตวแพทย (Laboratory Technology in Veterinary Food Inspection) วิธีการวิจัยและการสื่อสาร (Methods in Research and Communication)
4(3-4-5) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 3(2-3-4) 4(3-4-5) 3(2-3-4) 2(1-2-3) 2(1-2-3) 2(1-2-3) 3(2-3-4) 2(1-2-3) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 2(1-2-3) 2(2-0-4)
18
713 312 713 313 713 499
การจัดการปฏิบัติงานทางสัตวแพทย (Veterinary Practice Management) สัมมนาทางเทคนิคการสัตวแพทย Seminar in Veterinary Technology จุลนิพนธ (Senior Project)
2(2-0-4) 1(0-3-0) 2(0-6-0)
2.3) กลุมวิชาประสบการณวิชาชีพ จํานวน 6 หนวย โดยเลือกฝกประสบการณวิชาชีพกลุม ใดกลุมหนึ่ง โดยไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและเปนไปตามตามขอกําหนดของ คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
713 491 713 492 713 493 713 494 713 495 713 496 หรือ 713 497
2.3.1) การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 1 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation I) การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 2 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation II) การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 3 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation III) การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 4 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation IV) การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 5 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation V) การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 6 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation VI) 2.3.2) สหกิจศึกษาทางเทคนิคการสัตวแพทย สหกิจศึกษาทางเทคนิคการสัตวแพทย (Cooperative Education in Veterinary Technology)
6(0-18-0)
19
ดังตอไปนี้ 700 231 700 381 713 401 713 402 713 403 713 404 713 405 713 406 713 407 713 408 713 409 713 410 713 411 713 412
2.4) กลุมวิชาเฉพาะดาน จํานวนไมนอยกวา 12 หนวยกิต โดยเลือกเรียนจากรายวิชา สวัสดิภาพสัตวและจรรยาบรรณการทดลองในสัตว (Animal Welfare and Ethics on Animal Experimentation) การเตรียมความพรอมสําหรับสหกิจศึกษา (Preparation for Co-operative Education) เทคโนโลยีและการจัดการสัตวใหนมและผลผลิต (Technology and Management of Dairy Animals and Products) เทคโนโลยีและการจัดการสัตวใหเนื้อและผลผลิต (Technology and Management of Meat Animals and Products) เทคโนโลยีและการจัดการการสัตวปกและผลผลิต (Technology and Management of Avian and Products) เทคโนโลยีและการจัดการสัตวใหขนและผลผลิต (Technology and Management of Fur Animals and Products) เทคโนโลยีและการจัดการสัตวน้ําและผลผลิต (Technology and Management of Aquatic Animals and Products) เทคโนโลยีและการจัดการผึ้งและผลผลิต (Technology and Management of Bee and Products) เทคโนโลยีและการจัดการโรงฆาสัตว (Technology and Management of Slaughterhouse) เทคโนโลยีและการจัดการโรงฟก (Technology and Management of Hatchery) เทคโนโลยีการสืบพันธุและการเพาะขยายพันธุเทียม (Reproductive Technology and Artificial Breeding) เทคโนโลยีหองปฏิบัติการโภชนศาสตรประยุกต (Laboratory Technology in Applied Nutrition) เทคโนโลยีหองปฏิบัติการเภสัชกรรม (Laboratory Technology in Pharmaceutics) เทคโนโลยีหองปฏิบัติการพิษวิทยาสิ่งแวดลอม (Laboratory Technology in Environmental Toxicology)
2(2-0-4) 2(1-2-3) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4)
20
713 413
การจัดการและมาตรฐานหองปฏิบัติการทางสัตวแพทย 3(3-0-6) (Veterinary Laboratory Management and Standardizations) 713 414 เทคโนโลยีทางสัตวที่ใชวิจัย 2 3(2-3-4) (Research Animal Technology II) 713 481 เรื่องคัดเฉพาะทางเทคนิคการสัตวแพทย 1 3(2-3-4) (Selected Topics in Veterinary Technology I) 713 482 เรื่องคัดเฉพาะทางเทคนิคการสัตวแพทย 2 3(2-3-4) (Selected Topics in Veterinary Technology II) 713 498 การฝกงานภาคสนามทางเทคนิคการสัตวแพทย 1(0-3-0) (Field Practicum in Veterinary Technology) และรายวิชาของสาขาวิชาอื่นๆ ที่เปดสอนในคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร โดยไดรับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและเปนไปตามตามขอกําหนดของคณะสัตวศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร 3) หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต ใหเลือกศึกษาไดจากทุกรายวิชาที่เปดสอนในมหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษาอื่นที่ไดรับความ เห็นชอบจากคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร ถานักศึกษาเลือกศึกษารายวิชาในกลุมวิชาเฉพาะ ดาน จะตองนําไปคิดคาระดับคะแนนเฉลี่ยในหมวดวิชาเฉพาะดวย เพื่อตรวจสอบเงื่อนไขการสําเร็จ การศึกษา การนับหนวยกิตในแตละหมวดวิชา ใหนับเปนรายวิชา จะแยกนับหนวยกิตรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง ไปไวทั้งสองหมวดวิชาไมได อนึ่งคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร อาจพิจารณาเทียบสาระเนื้อหาและจํานวนหนวย กิต รายวิชาของคณะวิชาหรือของสถาบันการศึกษาอื่นใหเทียบเทากับรายวิชาของคณะสัตวศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตรได 4) การสอบรวบยอดความรูเชิงบูรณาการ การสอบรวบยอดความรูเชิงบูรณาการใหเปนไปตามความเห็นชอบคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเปนไปตามขอกําหนดของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร และ/หรือเปนไปตามขอกําหนด ขององคกรวิชาชีพ เพื่อเปนเงื่อนไขของการสําเร็จการศึกษา
21
17.4 แผนการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคนิคการสัตวแพทย 138 หนวยกิต ทั้งนี้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจมีการปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสม ตามสถานภาพและ แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของวิชาชีพนักเทคนิคการสัตวแพทย และ/หรือตามคําแนะนําขององคกรวิชาชีพ ปที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 1) รหัสวิชา 080 700 700 700 700 700 700
177 180 181 182 185 186 189
ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษ 1 แคลคูลัส เคมีเบื้องตน ปฏิบัติการเคมีเบื้องตน ชีววิทยา 1 ปฏิบัติการชีววิทยา 1 ฟสิกสพื้นฐาน รวมหนวยกิต
จํานวนหนวยกิต 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(0-3-0) 3(3-0-6) 1(0-3-0) 4(4-0-8) 18
ปที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 2) รหัสวิชา 080 080 700 700 700 700 713 ...
176 178 183 184 187 188 101 ...
ชื่อรายวิชา
จํานวนหนวยกิต
ภาษากับการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ 2 เคมีอินทรียเบื้องตน ปฏิบัติการเคมีอินทรียเบื้องตน ชีววิทยา 2 ปฏิบัติการชีววิทยา 2 ความรูเบื้องตนทางเทคนิคการสัตวแพทย วิชาเลือกในกลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร รวมหนวยกิต
3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 1(0-3-0) 3(3-0-6) 1(0-3-0) 1(1-0-2) 3 18
22
ปที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 1) รหัสวิชา 700 201 700 207 713 201 713 202 713 203 713 204 ……
ชื่อรายวิชา จุลชีววิทยาสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร 1 ศัพทวิทยาการสัตวแพทย วิทยาเซลลและมิชญวิทยาทางสัตวแพทย สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย โลหิตวิทยาและวิทยาภูมิคุมกันทางสัตวแพทย วิชาเลือกในกลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร รวมหนวยกิต
จํานวนหนวยกิต 3(2-3-4) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 2(1-2-3) 4(3-4-5) 2(1-2-3) 2 19
ปที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 2) รหัสวิชา 700 203 700 204 700 205 713 205 713 206 713 207 713 208 ……
ชื่อรายวิชา ชีวสถิติเบื้องตน ชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร ปฏิบัติการชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร จุลชีววิทยาทางสัตวแพทย พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย เภสัชวิทยาและพิษวิทยาทางสัตวแพทย โภชนศาสตร อาหารและการใหอาหารสัตว วิชาเลือกในกลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร รวมหนวยกิต
จํานวนหนวยกิต 3(2-3-4) 3(3-0-6) 1(0-3-0) 4(3-4-5) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 3(2-3-4) 2 21
23
ปที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 1) รหัสวิชา 700 700 713 713 713 713 713 ...
302 303 301 302 303 304 305 ...
ชื่อรายวิชา พันธุศาสตรการเกษตร หองสมุดดิจิตอลและสารสนเทศเพื่อการวิจัย ปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางสัตวแพทย การปฏิบัติงานสถานพยาบาลสัตวและวิธีทางคลินิก เทคโนโลยีทางสัตวที่ใชวิจัย การถายภาพรังสีและเครื่องมือวินิจฉัยทางสัตวแพทย การพยาบาลสัตวเล็กและการจัดการสุขภาพ วิชาเลือกในหมวดวิชาเลือกเสรี รวมหนวยกิต
จํานวนหนวยกิต 3(3-0-6) 2(1-3-2) 4(3-4-5) 3(2-3-4) 2(1-2-3) 2(1-2-3) 2(1-2-3) 3 21
ปที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 2) รหัสวิชา 713 306 713 307 713 308 713 309 713 310 713 311 713 312 713 313 ... ...
ชื่อรายวิชา การปรับปรุงพันธุและการสืบพันธุสัตว การพยาบาลสัตว เลี้ยงในฟารมและการจัดการสุขภาพ เทคโนโลยีการวินิจฉัยทางสัตวแพทย 1 เทคโนโลยีการวินิจฉัยทางสัตวแพทย 2 เทคโนโลยีหองปฏิบัติการตรวจอาหารทางสัตวแพทย วิธีการวิจัยและการสื่อสาร การจัดการปฏิบัติงานทางสัตวแพทย สัมมนาทางเทคนิคการสัตวแพทย วิชาเลือกในหมวดวิชาเลือกเสรี รวมหนวยกิต
จํานวนหนวยกิต 3(2-3-4) 2(1-2-3) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 2(1-2-3) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 1(0-3-0) 3 21
24
ปที่ 4 (ภาคการศึกษาที่ 1) รหัสวิชา 713 …
ชื่อรายวิชา
จํานวนหนวยกิต
การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน หรือ สหกิจศึกษาทางเทคนิคการสัตวแพทย รวมหนวยกิต
6 6
ปที่ 4 (ภาคการศึกษาที่ 2) รหัสวิชา
ชื่อรายวิชา
จํานวนหนวยกิต
713 499 713 …
จุลนิพนธ วิชาเลือกในกลุมวิชาเลือกวิชาชีพ การสอบรวบยอดความรูเชิงบูรณาการ รวมหนวยกิต
2(0-6-0) 12 ไมนับหนวยกิต 14
25
17.5 คําอธิบายรายวิชา 080 101
มนุษยกับการสรางสรรค 3(3-0-6) (Man and Creativity) ศึกษาหลักความคิดเกี่ยวกับความสํานึกในตนอันเกิดจากการพิจารณาเอกภาพของโลก ความสัมพันธระหวางปจเจกบุคคลกับเพื่อนมนุษย ระหวางปจเจกบุคคลกับสิ่งแวดลอม การดํารงอยูของ จักรวาลโลกและมวลมนุษย อันเปนปจจัยกอใหเกิดแรงสรางสรรคสวนบุคคลและพลังรวมในการจรรโลง ความเปนมนุษยทั้งที่เปนในรูปของปรัชญา ศาสนา และความเชื่อถือ สภาวะทางจิต สภาวะทางธรรมชาติ และสังคมที่เอื้อตอ การสรางสรรคทางศิลปะ ตลอดจนการประดิษฐคิดคนทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทั้งนี้ใหศึกษาตัวอยางที่สําคัญ ๆ จากกิจกรรมสรางสรรคของมนุษยทั้งในอดีตและปจจุบัน รวมทั้งขอขัดแยง และอุปสรรคที่มีตอการสรางสรรคในการสอน
080 107
ดนตรีวิจักษ 2(2-0-4) (Music Appreciation) ศึกษาองคประกอบของดนตรี เครื่องดนตรีไทยและตางชาติ ผลงานของคีตกวีไทยและ ตางประเทศที่สําคัญ เปรียบเทียบลักษณะของดนตรีชาติตางๆ รวมทั้งดนตรีพื้นบาน ลักษณะเฉพาะของดนตรี ประจําชาติไทย ความสัมพันธระหวางคีตศิลปกับศิลปะแขนงอื่น ทั้งนี้โดยใหนักศึกษาไดฟงดนตรีไทยและ ตางชาติใหมากที่สุดเทาที่จะมากได
080 114
ศิลปวิจักษ 2(2-0-4) (Art Appreciation) ศึกษาลักษณะและความสําคัญของทัศนศิลป โดยมุงสรางรสนิยม ความชื่นชม และความ สํานึก ในคุณคาของงานสรางสรรคทางศิลปะจากตัวอยางศิลปกรรมทั้งในอดีตและปจจุบัน บทบาทของ ทัศนศิลป ในวัฒนธรรมของมนุษยชาติทั้งตะวันออกและตะวันตกโดยเฉพาะอยางยิ่งในการแสดงออก ทั้งนี้ ใหเห็นอิทธิพลโดยตรงของทัศนศิลปที่มีตอการดํารงชีวิตของคนไทย
26
080 127
จิตวิทยาเบื้องตน 2(2-0-4) (Introduction to Psychology) ศึกษาพื้นฐานของวิชาจิตวิทยา ความหมาย ประวัติ และขอบขายของวิชาจิตวิทยา พฤติกรรม และการกอใหเกิดพฤติกรรมของมนุษยในสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ การจูงใจ การรับรู บุคลิกภาพ ความ ขัดแยง การปรับตัว สุขภาพจิต การนําวิชาจิตวิทยาไปใชใหเปนประโยชนในดานตางๆ
080 140
กีฬาศึกษา 2(1-2-3) (Sports Education) ศึกษาความเปนมาของกีฬาแตละประเภท เทคนิคและทักษะของการเลน ระเบียบและกติกา การแขงขัน การปองกันอุบัติเหตุทางการกีฬา เลือกศึกษากีฬาหนึ่งประเภท เชน บาสเกตบอล วอลเลยบอล แบดมินตัน ยูโด ตะกรอ กิจกรรมเขาจังหวะและกีฬาอื่น ๆ ตามความเหมาะสม
080 141
หลักนันทนาการ 1(1-0-2) (Principles of Recreation) ศึกษาความหมาย ประโยชน และขอบขายของกิจกรรมนันทนาการ รวมทั้งแหลง นันทนาการ หลักในการเลือก การจัด และการบริหารกิจกรรมนันทนาการ
080 145
การจัดการทั่วไป 3(3-0-6) (Introduction to Management) ศึกษาจัดการทั่วไป การจัดการองคการ การจัดการธุรกิจ การจัดการในระบบรัฐกิจ เพื่อให นักศึกษามีความรูพื้นฐานดานจัดการรูปแบบขององคการ การแบงสวนงาน หนาที่และความรับผิดชอบใน การจัดการ ระบบจัดการ กลวิธีในการจัดการ การจัดการงานบุคคล พัสดุ และอาคารสถานที่
080 146
มนุษยและสัตวในสังคม 3(3-0-6) (Humans and Animals in Society) ความสัมพันธของมนุษยและสัตวในสังคม ทางดานนิเวศวิทยา สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง สังคม จิตวิทยาและสุขภาพ
27
080 176
ภาษากับการสื่อสาร 3(3-0-6) (Language and Communication) ศึกษาหลักเกณฑและแนวความคิดที่เปนพื้นฐานของการสื่อสาร และการใชภาษาเพื่อการสื่อ ความหมายไปยังผูรับใหสัมฤทธิ์ผล ใหรูจักคิดและลําดับความคิดอยางมีเหตุผลโดยศึกษาหลักและขอบกพรอง ในการใชเหตุผลซึ่งปรากฏในการใชภาษา ฝกการใชถอยคํา สํานวน โวหาร วลี การเตรียมและรวบรวมขอมูล ในการเขียนตามจุดประสงค การใชภาษาในเชิงบรรยาย พรรณนา อธิบาย อภิปรายโดยคํานึงถึงผลสัมฤทธิ์ใน ดานการสื่อสาร การวิเคราะหและวิจารณปญหาในสภาวการณตางๆ
080 177
ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2-5) (English I) ทบทวนทักษะในการใชภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะ คือ การอาน การเขียน การฟง การพูด ซึ่ง นักศึกษาไดเรียนมาแลวในชั้นมัธยม และเพิ่มความรูที่จําเปนเพื่อนําไปประกอบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เนนการอานเพื่อความเขาใจสวนการสอนทักษะอื่นใหมีความสัมพันธกับเอกสารที่ใชอาน
080 178
700 180
ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2-5) (English II) วิชาบังคับกอน : 080 177 ภาษาอังกฤษ 1 ฝกการใชทักษะทั้ง 4 ในระดับที่สูงขึ้นและเนนทักษะการอานโดยฝกอานเอกสารที่ยากขึ้น
แคลคูลัส 3(3-0-6) (Calculus) การหาอนุพันธและการอินทิเกรต อนุกรมเทยเลอรและอนุกรมแมคลอริน สมการเชิง อนุพันธอันดับหนึ่ง การหาคําตอบของระบบสมการเชิงเสน 700 180 Calculus 3(3-0-6) Differentiation and integration. Taylor and MacClaurin series. First-order differential equations. Systems of simultaneous linear equations and solutions.
28
700 181
เคมีเบื้องตน 3(3-0-6) (Fundamental Chemistry) โครงสรางอะตอมและพันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ แกส ของเหลว และสารละลาย สมดุลเคมี กรดและเบส 700 181 Fundamental Chemistry 3(3-0-6) Atomic structure and chemical bonding. Stoichiometry. Gases, liquids and solution. Chemical equilibrium. Acids and base. 700 182
700 183
ปฏิบัติการเคมีเบื้องตน 1(0-3-0) (Fundamental Chemistry Laboratory ) วิชาบังคับกอน: * 700 181 เคมีเบื้องตน *อาจเรียนพรอมกันได การทดลองที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 700 181 เคมีเบื้องตน Prerequisite: * 700 181 Fundamental Chemistry *may be taken concurrently Experiments related to the contents in 700 181 Fundamental Chemistry.
เคมีอินทรียเบื้องตน 3(3-0-6) (Fundamental Organic Chemistry ) วิชาบังคับกอน: 700 181 เคมีเบื้องตน โครงสราง การเรียกชื่อ การสังเคราะหและปฏิกิริยาของสารประกอบไฮโดรคารบอน แอลคิลเฮไลด แอลกอฮอล อีเธอร แอลดีไฮด คีโตน กรดคารบอกซิลิกและเอมีน 700 183 Fundamental Organic Chemistry 3(3-0-6) Prerequisite:700 181 Fundamental Chemistry Structure, nomenclature, synthesis and reactions of hydrocarbons, alkyl halides, alcohols, ethers, aldehydes, ketones, carboxylic acids and amines.
29
700 184
700 184
700 185
ปฏิบัติการเคมีอินทรียเบื้องตน 1(0-3-0) (Fundamental Organic Chemistry Laboratory) วิชาบังคับกอน: 700 182 ปฏิบัติการเคมีเบื้องตน *700 183 เคมีอินทรียเบื้องตน *อาจเรียนพรอมกันได ปฏิบัติการที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 700 183 เคมีอินทรียเบื้องตน Fundamental Organic Chemistry Laboratory 1(0-3-0) Prerequisite:700 182 Fundamental Chemistry Laboratory *700 183 Fundamental Organic Chemistry * may be taken concurrently Experiments related to the contents in 700 183 Fundamental Organic Chemistry.
ชีววิทยา 1 3(3-0-6) (Biology I) หลักการทางชีววิทยา พื้นฐานของชีวิตระดับโมเลกุลโภชนาการพลังงานกับชีวิตเมแทบอลิ ซึม การจัดระบบ โครงสรางและหนาที่ของเซลล เนื้อเยื่อและอวัยวะ ความหลากหลายทางชีวภาพและการจัด จําแนก การประยุกตทางชีววิทยา 700 185 Biology I 3(3-0-6) Principles of biology. Molecular basis of life. Nutrition. Energy and life. Metabolism. Organization, structure and function of cells. Tissue and organs. Biodiversity and classification. Biological application.
30
700 186
700 186
700 187
ปฏิบัติการชีววิทยา 1 (Biology Laboratory I) วิชาบังคับกอน: *700 185 ชีววิทยา 1 *อาจเรียนพรอมกันได ปฏิบัติการที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 700 185 ชีววิทยา 1 Biology Laboratory I Prerequisite: * 700 185 Biology I *may be taken concurrently Experiments related to the contents in 700 185 Biology I.
1(0-3-0)
1(0-3-0)
ชีววิทยา 2 3(3-0-6) (Biology II) วิชาบังคับกอน: 700 185 ชีววิทยา 1 พันธุกรรมและวิวัฒนาการ นิเวศวิทยา ฮอรโมน การสืบพันธุและการพัฒนา การยอยอาหาร การลําเลียง การไหลเวียนและการหายใจ การขับถายและการรักษาสมดุลของรางกาย ระบบประสาท อวัยวะรับ ความรูสึกและพฤติกรรม 700 187 Biology II 3(3-0-6) Prerequisite: 700 185 Biology I Genetics and evolution. Ecology. Hormones. Reproduction and development. Digestion. Transportation. Circulation and respiration. Excretion and maintenance of body equilibrium. The nervous system. Sense organs and behavior.
31
700 188
700 188
700 189
ปฏิบัติการชีววิทยา 2 (Biology Laboratory II) วิชาบังคับกอน: 700 186 ปฏิบัติการชีววิทยา 1 *700 187 ชีววิทยา 2 *อาจเรียนพรอมกันได ปฏิบัติการที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 700 187 ชีววิทยา 2 Biology Laboratory II Prerequisite: 700 186 Biology Laboratory I *700 187 Biology II *may be taken concurrently Experiments related to the contents in 700 187 Biology II.
1(0-3-0)
1(0-3-0)
ฟสิกสพื้นฐาน 4(4-0-8) (Fundamental Physics) กลศาสตรของอนุภาคและวัตถุเกร็ง สมบัติของสสาร กลศาสตรของไหล ทฤษฎีจลนของ แกส เทอรโมไดนามิกส ทัศนศาสตร ไฟฟา แมเหล็กไฟฟา 700 189 Fundamental Physics 4(4-0-8) Mechanics of particles and rigid bodies. Properties of matter. Fluid mechanics. Kinetic theory of gases. Thermodynamics. Optics. Electricity. Electromagnetism.
32
700 201
จุลชีววิทยาสําหรับสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร 3(2-3-4) (Microbiology for Agricultural Science Students) วิชาบังคับกอน : 700 187 ชีววิทยา 2 โครงสรางและสัณฐานวิทยาของจุลินทรีย การจําแนก พันธุศาสตร หลักการควบคุม จุลินทรียและการควบคุมโดยชีวินทรีย การประยุกตใชจุลินทรียที่มีความสําคัญในการผลิตทางการเกษตร เครื่องมือในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา วิธีทําใหปลอดเชื้อ การเพาะเลี้ยง การแยกเชื้อจุลินทรีย การทําเชื้อ บริสุทธิ์ 700 201 Microbiology for Agricultural Science Students 3(2-3-4) Prerequisite: 700 187 Biology II Structure and morphology of microorganisms. Identification. Genetics. Principles of microbial and biological controls. Species of agricultural importance and their application in agricultural production. Microbiological laboratory equipment. Aseptic techniques. Microbial cultivation. Isolation and purification of microorganism. 700 203
ชีวสถิติเบื้องตน
3(2-3-4)
(Basic Biostatistics) การจัดการขอมูลทางชีววิทยา การแจกแจงความนาจะเปน การแจกแจงคาตัวอยาง การ ประมาณคา การทดสอบสมมติฐาน สถิติแบบไมใชพารามิเตอร การวิเคราะหความถดถอย และสหสัมพันธ การวิเคราะหความแปรปรวน 700 203 Basic Biostatistics 3(2-3-4) Quantitative treatments of biological data. Probability distribution. Sampling distribution. Estimation. Hypothesis testing. Non-parametric statistics. Regression and correlation analyses. Analysis of variance.
33
700 204
ชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร 3(3-0-6) (Biochemistry for Agricultural Science Students) วิชาบังคับกอน: 700 183 เคมีอินทรียเบื้องตน 700 187 ชีววิทยา 2 *700 205 ปฏิบัติการชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร *อาจเรียนพรอมกันได เคมีของโมเลกุลที่มีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิตและหนวยพื้นฐานของโมเลกุล ไดแก กรด นิวคลีอิก โปรตีน คารโบไฮเดรตและไขมัน เคมีข องดีเอ็นเอและอารเอ็นเอในสวนที่สัม พันธกับการ สัง เคราะหโปรตีน หมูฟงกชันของกรดอะมิโนซึ่งกําหนดสมบัติทางเคมีและชีววิทยาของโปรตีน เคมีและ บทบาทของเอนไซมในการเรงปฏิกิริยาของสิ่งมีชีวิต เมแทบอลิซึมพื้นฐานที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงชีว โมเลกุล รวมถึงการควบคุมในสิ่งมีชีวิต 700 204 Biochemistry for Agricultural Science Students 3(3-0-6) Prerequisite: 700 183 Fundamental Organic Chemistry 700 187 Biology II *700 205 Biochemistry Laboratory for Agricultural Science Students *may be taken concurrently Chemistry of biologically important molecules and their building blocks, eg. nucleic acids, proteins, carbohydrates and lipids. Chemistry of DNA and RNA in relation to their roles in dictating the synthesis of proteins. Functional groups of amino acids contributing to chemical and biological properties of proteins. Enzymes as biocatalysts. Basic concepts of metabolic conversion of biomolecules and their regulation in life.
34
700 205
การเกษตร 700 205
ปฏิบัติการชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร 1(0-3-0) (Biochemistry Laboratory for Agricultural Science Students) วิชาบังคับกอน: 700 184 ปฏิบัติการเคมีอินทรียเบื้องตน *700 204 ชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร *อาจเรียนพรอมกันได การทดลองที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 700 204 ชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร Biochemistry Laboratory for Agricultural Science Students 1(0-3-0) Prerequisite: 700 184 Fundamental Organic Chemistry Laboratory *700 204 Biochemistry for Agricultural Science Students *may be taken concurrently Experiment related to the contents in 700 204 Biochemistry for Agricultural Science
Students. 700 206
700 206
กฎหมายการเกษตร 2(2-0-4) (Agricultural Laws) กฎหมายและขอบังคับที่เกี่ยวของกับการผลิตและการจัดการทางการเกษตร Agricultural Laws 2(2-0-4) Laws and regulations concerning agricultural production and management.
35
700 207
ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร 1 3(3-0-6) (Scientific English I) วิชาบังคับกอน: 080 177 ภาษาอังกฤษ 1 ฝกอานบทความวิชาการทางวิทยาศาสตร เพื่อใหเขาใจและจับใจความสําคัญของบทความและ เขาใจวัตถุประสงคของผูเขียนตลอดจนฝกเขียนสรุปใจความสําคัญและเขียนรายงานทางวิทยาศาสตร 700 207 Scientific English I 3(3-0-6) Prerequisite: 080 177 English I Practice of reading scientific articles in order to understand and get the main ideas of the articles and of the authors as well as practice of summarizing and writing scientific reports. 700 208
ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร 2 3(3-0-6) (Scientific English II ) วิชาบังคับกอน: 700 207 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร 1 ฝกอานบทความวิชาการทางวิทยาศาสตรที่ซับซอนขึ้น เพื่อใหเขาใจและจับใจความสําคัญ ของบทความ เขาใจวัตถุประสงคของผูเขียนตลอดจนฝกเขียนสรุปใจความสําคัญและเขียนรายงานทาง วิทยาศาสตรเปนภาษาอังกฤษไดคุณภาพสูงขึ้น 700 208 Scientific English II 3(3-0-6) Prerequisite: 700 207 Scientific English I Practice of reading complicated scientific articles in order to understand and get the main ideas of the articles and of the authors as well as practice of summarizing and producing well-written scientific reports in English.
36
700 231
สวัสดิภาพสัตวและจรรยาบรรณการทดลองในสัตว 2(2-0-4) (Animal Welfare and Ethics on Animal Experimentation) การประยุกตหลักพฤติกรรมศาสตรและสรีรวิทยาของสัตวเพื่อปรับปรุงสวัสดิภาพสัตว กฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติในการใชสัตวเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตรและการเกษตรโดยคํานึงถึง จรรยาบรรณในการใชสัตว แนวทางและวิธีปฏิบัติที่พึงยึดถือในงานวิจัย งานทดสอบและงานผลิตชีววัตถุให อยูบนพื้นฐานของจริยธรรมและความแมนยําทางวิชาการ จรรยาบรรณของนักวิจัยและจรรยาบรรณการใช สัตวของสภาวิจัยแหงชาติและองคกรระหวางประเทศ แนวปฏิบัติในการเสนอและทํารายงานโครงการวิจัยที่ ใชสัตว 700 231 Animal Welfare and Ethics on Animal Experimentation 2(2-0-4) Application of principles of animal behavior and physiology to the improvement of the welfare of animal. Regulations and practical guidelines associated with the use of animal for scientific and agricultural research with regard to animal ethics. Guideline and procedure that should be followed in researching, testing and producing biomaterials on the basis of ethics and technical accuracy. Researchers’ ethics and the ethics of animal use as regulated by the National Research Council and international agencies. Practical guidelines in writing research proposal and technical report for project that use animal for the experimentation. 700 271
หลักสหกรณและการสงเสริมการเกษตร 2(2-0-4) (Principles of Cooperatives and Agricultural Extension) หลักสหกรณ กระบวนการจัดตั้งสหกรณการเกษตร กรณีตัวอยาง ปญหาและขอจํากัด ความสําเร็จของสหกรณการเกษตร หลักการเกษตรและสงเสริมศึกษา การถายทอดเทคโนโลยี การยอมรับ เทคโนโลยี การวิเคราะหและการวิจัยทางสงเสริมการเกษตร 700 271 Principles of Cooperatives and Agricultural Extension 2(2-0-4) Principles of cooperatives. Processes of agricultural cooperatives. Case studies. Problems and constraints. Success of agricultural cooperatives. Principles of agricultural and extension education. Technology transfer. Adoption of technology. Agricultural extension analysis and research.
37
700 272
เศรษฐกิจพอเพียง 1(1-0-2) (Self Sufficient Economy) โครงสรางเศรษฐกิจสังคมไทย บทบาทของชุมชนในการพัฒนาเศรษฐกิจ ปญหาและ ขอจํากัด ปญหาความยากจนและความไมเทาเทียมทางสังคม แนวคิดและนโยบายทฤษฎีใหม เกษตร ผสมผสานและสังคมเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแกปญหาความยากจนของชุมชนโดยใชทรัพยากรอยางยั่งยืนและ รักษาสิ่งแวดลอม มีการศึกษานอกสถานที่ 700 272 Self Sufficient Economy 1(1-0-2) Thai socio-economic structures. Roles of communities in economic development. Problems and constraints. Problems associated with poverty and social inequality. Concept and policies of the new theory of self-sufficiency. Integrated agriculture and self-sufficient economic society as a means of solving poverty, through the sustainable utilization of resources and preservation of the environment. Field trips are required. 700 281
ภูมิปญญาไทยทางการเกษตร 2(2-0-4) (Thai Wisdom in Agriculture) การนําภูมิปญญาไทยและองคความรูในระดับรากหญามาใชในการสงเสริมและพัฒนาการ เลี้ยงสัตวและการผลิตพืช การอนุรักษวัฒนธรรมไทยเพื่อการเกษตรยั่งยืน 700 281 Thai Wisdom in Agriculture 2(2-0-4) The use of Thai wisdom and knowledge at the grass roots level to promote and develop animal and plant production. Conservation of Thai culture for sustainable agriculture.
38
700 301
เศรษฐศาสตรการเกษตร 2(2-0-4) (Agricultural Economics) หลักเศรษฐศาสตรเกษตร ฟงกชันการผลิต กฎผลไดลดนอยถอยลง รายไดที่เกี่ยวของกับการ ผลิต ตนทุนการผลิต บัญชีตนทุน การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนทางบัญชีและทางเศรษฐศาสตร กรณีศึกษาบัญชีตนทุนการผลิตทางการเกษตร การประยุกตใชเพื่อการผลิตทางการเกษตร การตลาดและ สินเชื่อการเกษตร 700 301 Agricultural Economics 2(2-0-4) Principles of agricultural economics. Production functions. Laws of diminishing returns. Revenue related to production. Production costs. Cost accounting. Analysis of cost and benefit in accounting and economics. Case studies on cost accountability in Agriculture. Application of economics to agricultural production. Agricultural marketing and credit. 700 302
พันธุศาสตรการเกษตร 3(3-0-6) (Agricultural Genetics) วิชาบังคับกอน : 700 187 ชีววิทยา 2 โครงสรางทางเคมีและคุณสมบัติของสารพันธุกรรม การจําลองดีเอ็นเอในพืชและสัตว การ แสดงออกของยีนและการควบคุม การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ทฤษฎีของเมนเดล การเรียงตัวกันใหม ของยีน การหาตําแหนงยีนบนโครโมโซม การถายทอดพันธุกรรมนอกโครโมโซม การกลายพันธุ พันธุศาสตร เชิงปริมาณ พันธุศาสตรประชากรและวิวัฒนาการ การวิเคราะหลายพิมพดีเอ็นเอ การใหคําปรึกษาทาง พันธุกรรม สิ่งมีชีวิตแปลงพันธุ 700 302 Agricultural Genetics 3(3-0-6) Prerequisite : 700 187 Biology II Chemical structures and properties of genetic materials. DNA replication in plants and animals. Gene expression and regulation. Inheritance of genetic characteristics. Mendel’s law. Genetic recombination. Genetic mapping. Extra chromosomal inheritance. Mutation. Quantitative genetics. Population genetics and evolution. DNA fingerprinting analysis. Genetic counseling. Transgenic organisms.
39
700 303
หองสมุดดิจิตอลและสารสนเทศเพื่อการวิจัย 2(1-3-2) (Digital Library and Information for Research) การคนหาขอมูลผานระบบหองสมุดดิจิตอล การวางแผนงานวิจัย การเขียนโครงรางงานวิจัย และจัดทํารายงาน การนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมาใชในการเสนอผลงานวิจัย 700 303 Digital Library and Information for Research 2(1-3-2) Searching data from the digital libraries. Research planning. Research proposal and report writing. Utilization of computer technology in research presentation. 700 381
การเตรียมความพรอมสําหรับสหกิจศึกษา 2(1-2-3) (Preparation for Co-operative Education) การแนะนําตัวอยางมืออาชีพ การพูดในที่สาธารณะ การจัดการประชุมกลุมยอย การเขียน ประวัติและจดหมายสมัครงาน การฝกสัมภาษณงาน การเขียนโครงการ ทักษะวิชาชีพในการจัดการฟารม การใชคอมพิวเตอรและซอฟทแวรเพื่อการจัดการธุรกิจ ความเทาเทียมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มีการศึกษานอกสถานที่ 700 381 Preparation for Co-operative Education 2(1-2-3) Professional self-introduction, public speaking and coordination of small group discussion. Writing of technical resume and cover letters. Practice for job interview. Project writing. Professional skills for farm management. Use of computer and software for business management. Equality and Profession ethics. Field trips are required.
40
700 471
การตลาดสินคาเกษตรและอาหาร 2(2-0-4) (Food and Agricultural Marketing) ประวัติความเปนมาและทฤษฎีการจัดการตลาดเบื้องตน ระบบเศรษฐศาสตรสินคาเกษตร และอาหาร อุปสงค อุปทานและผลกระทบตอราคา สถาบันและองคกรที่เกี่ยวของกับการตลาดเกษตรและ อาหาร ชองทางการตลาด พอคาคนกลาง ตลาดซื้อขายลวงหนา ขนสงและกระจายสินคา การสงเสริมและ โฆษณาประชาสัมพันธ พฤติกรรมผูบ ริโภค ความสําคัญของตราสิ นคาและบรรจุภัณฑ สิทธิประโยชนและ ลิข สิทธิ์ทรัพยสินทางปญญา การจัดการการตลาด การคาระหวางประเทศ คุณภาพ มาตรฐาน และสุขอนามัย อาหาร คุณคาโภชนาการและความปลอดภัยอาหาร กฎหมายและระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหาร และการคา 700 471 Food and Agricultural Marketing 2(2-0-4) History and basic theory in marketing management. Agricultural commodity and food economic systems. Demand, supply and factors affecting prices. Institutes and organizations pertaining to agricultural and food marketing. Marketing channels. Merchant middle-men. Advanced marketing. Transportation and product distribution. Promotion and advertisement. Consumer behavior. Importance of brands and packaging. Rights and the copyrighting of intellectual property. Marketing management. International marketing. Quality, standard and sanitation of food. Nutrition facts and food safety. Laws and regulations concerning food hygiene and trading. 712 271
ธุรกิจเกษตร 3(3-0-6) (Agribusiness) ระบบธุรกิจเกษตร ปจจัยการผลิตสินคาเกษตร ระบบการแปรรูปและเก็บรักษาสินคาเกษตร ระบบการคา ระบบการกระจายสินคา ระบบการสงออกสินคาเกษตร วิธีการหามูลคาธุรกิจเกษตรของ ประเทศไทย 712 271 Agribusiness 3(3-0-6) Agribusiness systems. Agricultural production factors. Processing and storage of agricultural product systems. Trading, distribution and export systems for agricultural products. Methods for evaluation agribusiness in Thailand.
41
712 382
ลอจิสติกสและหวงโซอุปทาน 3(3-0-6) (Logistics and Supply Chain) การวางแผนและการจัดการกระจายสินคาทางการเกษตรจากผูผลิตถึงผูบริโภค การบริหารหวง โซอุปทานสินคาเกษตร 712 382 ลอจิสติกสและหวงโซอุปทาน 3(3-0-6) (Logistics and Supply Chain) Planning and distribution of agricultural products from producers to consumers, supply chain management of agricultural products.
712 481
การจัดอบรมเพื่อการถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 3(2-3-4) (Training for Agricultural Technology Transfer) วิชาบังคับกอน: 700 303 หองสมุดดิจิตอลและสารสนเทศเพื่อการวิจัย ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการจัดอบรมและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร การวางแผนและ การดําเนินการ โสตทัศนูปกรณ การจัดทําเอกสารสิ่งพิมพ นิเทศศิลป ความสัมพันธระหวางสังคมกับ การเกษตร การยอมรับและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อการสงเสริมและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ของเกษตรกร จิตวิทยาในการถายทอดเทคโนโลยี การประเมินผล 712 481 Training for Agricultural Technology Transfer 3(2-3-4) Prerequisite: 700 303 Digital Library and Information for Research The principles of agricultural training and technology transfer, presentation techniques, the art of communication, the relationship between society and farming. Behavior change benefiting the farmers. Psychology in transferring of agricultural technology. Evaluation.
42
713 101
ความรูเบื้องตนทางเทคนิคการสัตวแพทย 1(1-0-2) (Introduction to Veterinary Technology) ภาพรวมของวิทยาศาสตรการสัตวแพทยและการแนะแนวโอกาสในอาชีพ แนะนําการบํารุง เลี้ยงและการบําบัดสัตวที่พบในงานวิจัย เกษตรอุตสาหกรรม สวนสัตวและเวชปฏิบัติทางสัตวแพทย รวมถึง จรรยาบรรณและกฎหมายที่เกี่ยวของกับนักเทคนิคการสัตวแพทย 713 101 Introduction to Veterinary Technology 1(1-0-2) Overview of veterinary science and an orientation to career Introduces proper maintenance and treatment of animals encountered in research, industry agriculture, zoological gardens, and veterinary practices includes ethics and legal concerns of the veterinary technicians.
713 102
พันธภาพมนุษยและสัตวเลี้ยงเปนเพื่อน 2(2-0-4) (Human- Companion Animal Bond) ภาพรวมของหัวขอปจจุบันในมนุษยและสัตวศึกษา ความสัมพันธระหวางมนุษยและสัตว เลี้ยง คุณคาทางจิตวิทยาและทางสรีรวิทยาของสัตวเลี้ยงเปนเพื่อนและความตระหนักที่เกี่ยวกับสิทธิของสัตว และสวัสดิภาพสัตว 713 102 Human- Companion Animal Bond 2(2-0-4) Overview of current issues in human-animal studies. Human’s relationships with pets, psychological and physiological benefits of companion animals, and concerns for animal rights and animal welfare. 713 201
ศัพทวิทยาการสัตวแพทย 3(3-0-6) (Veterinary Medical Terminology) โครงสรางของคํา คํานําหนา คําเสริมทายและรากคําศัพททางการแพทย คําผสมและอักษร ยอ พื้นฐานรายการคําศัพททางการแพทยของระบบรางกาย ความหมาย การออกเสียง และการสะกดคําศัพท ทางการแพทย การสื่อสารทางการพูดและการเขียน 713 201 Veterinary Medical Terminology 3(3-0-6) Structure of words, prefixes, suffixes, and root words of medical terms. Combining forms and abbreviations. Medical vocabulary based on body systems. Meaning, pronunciation and spelling of medical terms. Verbal and written communications
43
713 202
วิทยาเซลลและมิชญวิทยาทางสัตวแพทย 2(1-2-3) (Veterinary Cytology and Histology) วิชาบังคับกอน: *713 201 ศัพทวิทยาการสัตวแพทย *อาจเรียนพรอมกันได ความรูเกี่ยวกับวิทยาเซลลและมิชญวิทยาเปรียบเทียบของระบบอวัยวะ ความสัมพันธ ระหวางโครงสรางและหนาที่ของเซลล คุณลักษณะทางมิชญวิทยาและหนาที่ของเนื้อเยื่อระบบประสาท ระบบตอมไรทอ ระบบน้ําเหลือง ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบยอยอาหาร ระบบหายใจ ระบบขับถาย ระบบกลามเนื้อและโครงรางและระบบสืบพันธุของสัตว 713 202 Veterinary Cytology and Histology 2(1-2-3) Prerequisite: *713 201 Veterinary Medical Terminology *may be taken concurrently Knowledge of comparative cytology and histology to organ system. The relationships between the cell structure and their functions. Histological characteristic and functions of tissues from the nervous, endocrine, lymphatic, cardiovascular, digestive, respiratory, urinary, musculoskeletal and reproductive systems of animals.
44
713 203
สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย 4(3-4-5) (Veterinary Physiology and Applied Anatomy) วิชาบังคับกอน: *713 202 วิทยาเซลลและมิชญวิทยาทางสัตวแพทย *อาจเรียนพรอมกันได ความรูเกี่ยวกับหนาที่ในแตละระบบที่แตกตางกันและและภาวะธํารงดุล ระบบชีววิทยาตาม สวน ประกอบดวย ระบบหอหุมรางกาย ระบบการหายใจ ระบบการไหลเวียนโลหิต ระบบการยอยอาหาร และการครองธาตุ ระบบการควบคุมอุณหภูมิ ระบบการควบคุมความดัน ระบบการขับถาย ระบบประสาท ระบบกลามเนื้อและโครงราง ระบบสืบพันธุ ระบบฮอรโมน ระบบการรับความรูสึก ระบบน้ําเหลืองและ ระบบตอมไรทอ การประยุกตทางกายวิภาคศาสตรคลินิกสําหรับเทคนิคการสัตวแพทย 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy 4(3-4-5) Prerequisite: *713 202 Veterinary Cytology and Histology *may be taken concurrently Knowledge of functions of different systems and homeostasis. Several biological systems, including integument, respiratory, circulatory, digestive and metabolic, thermoregulatory, osmoregulatory, excretory, nervous, musculoskeletal, reproductive, hormonal, sensory, lymphatic and endocrine systems. Clinical anatomy application in veterinary technology.
45
713 204
โลหิตวิทยาและวิทยาภูมิคุมกันทางสัตวแพทย 2(1-2-3) (Veterinary Hematology and Immunology) วิชาบังคับกอน: *713 202 วิทยาเซลลและมิชญวิทยาทางสัตวแพทย *อาจเรียนพรอมกันได กายสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา และพยาธิวิทยาของเลือด เนนตามลักษณะของชนิดสัตว การจัด หมูเลือดและเนื้อเยื่อ ระบบภูมิคุมกัน ชนิดของภูมิคุมกัน การตอบสนองภูมิคุมกัน โครงสรางและหนาที่ของ สารกอภูมิตานทานและสารภูมิตานทาน ภูมิแพและภาวะภูมิคุมกันไว ความรูเกี่ยวกับธนาคารเลือดและการ ถายเลือดในสัตวอยางสังเขป ภาวะทางคลินิกที่สัมพันธกับโลหิตวิทยาและวิทยาภูมิคุมกัน 713 204 Veterinary Hematology and Immunology 2(1-2-3) Prerequisite: *713 202 Veterinary Cytology and Histology *may be taken concurrently Morphology, physiology, and pathology of blood. Emphasis on animal species variations. Blood groups and tissue typing. Immune system. Types of immunity. Immune response. Structure and function of antigens and antibodies. Allergy and hypersensitivity. Abridged Knowledge of blood bank and transfusion in animals. Clinical conditions associated with hematology and Immunology. 713 205
จุลชีววิทยาทางสัตวแพทย 4(3-4-5) (Veterinary Microbiology) วิชาบังคับกอน: 700 201 จุลชีววิทยาสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรการเกษตร ความรูเกี่ยวกับจุลชีววิทยาคลินิก วิทยาไวรัสและกิณวิทยาทางสัตวแพทย เทคนิคที่ใชทาง จุลชีววิทยา ประกอบดวยการประเมินคาตัวอยาง การแยกจุลชีพกอโรค การระบุจุลชีพกอโรค การทดสอบภูมิ ไวรับยาตานจุลชีพ 713 205 Veterinary Microbiology 4(3-4-5) Prerequisite: 700 201 Microbiology for Agricultural Science Students Knowledge in veterinary clinical microbiology, virology and mycology. Techniques used in microbiology including specimen evaluation, isolation, identification of pathogenic microorganisms. Antimicrobial susceptibility testing.
46
713 206
พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย 3(3-0-6) (Veterinary Pathology) วิชาบังคับกอน: 713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย หลักของโรคและกลไกพื้นฐานสําหรับสถานการณการกอโรค หลักพยาธิวิทยาทั่วไปที่ใช กําหนดพยาธิกําเนิดและการพยากรณโรค พยาธิชีววิทยาของระบบอวัยวะที่สําคัญ โดยเนนกลไกของการ บาดเจ็บ กระสวนของการตอบสนองตอการบาดเจ็บ และสมดุลระหวางความเสียหายและการซอมแซม 713 206 Veterinary Pathology 3(3-0-6) Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy Principles of disease and fundamental mechanisms for creating disease situation. General pathological principles used to determine disease pathogenesis and prognosis. Pathobiology of major organ systems. Emphasis on mechanisms of injury, patterns of response to injury, and balance between damage and repair. 713 207
เภสัชวิทยาและพิษวิทยาทางสัตวแพทย 2(2-0-4) (Veterinary Pharmacology and Toxicology) วิชาบังคับกอน: 713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย หลักเภสัชวิทยาทางสัตวแพทย ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาตอเภสัช จลนศาสตรของยา ผลขางเคียงจากการใชยา กระบวนงานเภสัชกรรมสําหรับเวชปฏิบัติทางสัตวแพทย เวชระเบียนทางเภสัชกรรม การคํานวณทางเภสัชกรรม การอานใบสั่งยา การเขียนฉลากภาชนะบรรจุยา การผสมยา พิษวิทยาทางสัตวแพทยเบื้องตน ภาวะถูกพิษจากสารเคมี พืชและสารพิษเชื้อราในสัตวเลี้ยง พยาธิวิทยาและลักษณะทางคลินิกของสารพิษ 713 207 Veterinary Pharmacology and Toxicology 2(2-0-4) Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy Principles of veterinary pharmacology. Effects of physiological changes on drug pharmacokinetics. Adverse drug reactions. Pharmacy procedures in veterinary practice. Pharmacy record keeping. Pharmacy calculations. Reading prescriptions, labeling drug containers, compounding. Introduction to veterinary toxicology. Chemical, plant and mycotoxin poisonings of domestic animals. Pathological and clinical aspects of toxic substances.
47
713 208
โภชนศาสตร อาหารและการใหอาหารสัตว 3(2-3-4) (Animal Nutrition, Feed and Feeding) วิชาบังคับกอน: 713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย หลักการใหอาหารและโภชนศาสตรสัตว หนาที่และเมแทบอริซึมของสารอาหาร การ จําแนกและลักษณะเฉพาะของวัตถุดิบอาหาร โภชนศาสตรทางสัตวแพทยเบื้องตน สาเหตุสําคัญของโรคที่ เกิดจากโภชนาการ 713 208 Animal Nutrition, Feed and Feeding 3(2-3-4) Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy Principles of animal feeding and nutrition. Functions and metabolism of nutrients. Feedstuff classification and characteristics. Introduction to veterinary nutrition. Important nutritionally caused diseases 713 209
กฎหมาย สิทธิและการคุมครองสัตว 2(2-0-4) (Animal Laws, Rights and Protections) กฎหมายที่เกี่ยวกับสัตว หลักแนวคิดในการยอมรับของมนุษยตอสิทธิของสัตว วิวัฒนาการ ของสิทธิ การสูญเสียความเปนมิตร ทุเวชปฏิบัติทางสัตวแพทย การบาดเจ็บที่มีสาเหตุมาจากสัตว สถานภาพ การตอตานการทารุณกรรมตอสัตว การปองกันทางกฎหมายของทั้งสัตวเลี้ยงและสัตวปา 713 209 Animal Laws, Rights and Protections 2(2-0-4) Animal Law. Conceptual principles for human acceptance of animal rights. Evolution of rights. Loss of companionship. Veterinary malpractice. Injuries caused by animals. Anti-cruelty statutes. Legal protections of both domestic and wild animals.
48
713 301
ปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางสัตวแพทย 4(3-4-5) (Veterinary Parasitology and Entomology) วิชาบังคับกอน: 713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย ลักษณะทางชีววิทยาและทางคลินิกของปรสิตและสาเหตุของโรคสัตว ประกอบดวย หนอนพยาธิ สัตวเซลลเดียว ริกเกตเซีย สัตวขอปลองและเห็บไร วิธีการเก็บตัวอยาง การจัดเก็บและขนสง ตัวอยางทางคลินิกที่เหมาะสม วิธีสําหรับการปองกันและการรักษา 713 301 Veterinary Parasitology and Entomology 4(3-4-5) Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy Biological and clinical aspects of parasites and resulting diseases in animals, including helminthes, protozoa, rickettsia, arthropods and acari. Appropriate methods of collection, handle and transportation of clinical specimens. Methods of prevention and treatment. 713 302
การปฏิบัติงานสถานพยาบาลสัตวและวิธีทางคลินิก 3(2-3-4) (Veterinary Hospital Procedures and Clinical Methods) วิชาบังคับกอน: 713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย ทักษะทางคลินิกเบื้องตน หัวขอประกอบดวยการตรวจรางกาย การควบคุมและจับบังคับ การบริหารยา การบริบาลภาวะฉุกเฉินและวิกฤติ การเจาะเลือด การใหสารน้ํา การพันแผล เทคนิคการทําให ปราศจากเชื้อ การเปนผูชวยวิสัญญีและศัลยกรรม การพยาบาลกอนและหลังการผาตัด และทักษะทาง พยาบาลอื่นๆ ในสัตวเลี้ยง การใหความรูลูกคา มีการศึกษานอกสถานที่ 713 302 Veterinary Hospital Procedures and Clinical Methods 3(2-3-4) Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy Introduction to clinical skill. Topics include physical examinations, restraint/handling, medication administration, emergency and critical care, venipuncture, fluid therapy, bandaging, aseptic techniques, anesthesia and surgical assisting, pre-operative and post-operative nursing and other clinical nursing skills of domestic animals, and client education. Field trip are required.
49
713 303
เทคโนโลยีทางสัตวที่ใชวิจัย 1 3(2-3-4) (Research Animal Technology I) วิชาบังคับกอน: 713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย พื้นฐานกายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยา การควบคุมและการจับบังคับ การจัดการดานอาหาร การบํารุงเลี้ยงและเวชบริบาลในสัตวทดลอง โดยเนนหนูขาวใหญ หนูถีบจักร แฮมสเตอร หนูตะเภา กระตาย และสัตวฟนแทะอื่นๆ กระบวนงานที่ใชในงานวิจัยทางชีวเวช การออกแบบโครงการวิจัยที่ใชสัตวทดลอง มีการศึกษานอกสถานที่ 713 303 Research Animal Technology I 3(2-3-4) Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy Fundamental laboratory animal anatomy and physiology, restraint and handling, nutrition management, husbandry and medical care with emphasis on the laboratory rat, mouse, hamster, Guinea pig, rabbit and others laboratory rodents . Procedures used in biomedical research. Design of research project using laboratory animals. Field trip are required.
50
713 304
การถายภาพรังสีและเครื่องมือวินิจฉัยทางสัตวแพทย 2(1-2-3) (Veterinary Radiography and Diagnostic Instruments) วิชาบังคับกอน: 713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย ทฤษฎีและหลักการผลิตรังสีเอ็กซ การเปดรับรังสี การกําหนดตําแหนงและการจับบังคับ สําหรับในแตละกายวิภาคทรรศน หลักการและวิธีปองกันอันตรายจากรังสี หลักพื้นฐานทางอัลตราซาวน การสอบเทียบและมาตราสวนของเครื่องมือทางหองปฏิบัติการ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน เครื่องมือสําหรับ หองปฏิบัติการทางสัตวแพทยและสถานพยาบาลสัตว มีการศึกษานอกสถานที่ 713 304 Veterinary Radiography and Diagnostic Instruments 2(1-2-3) Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy Theory and principles of x-ray production. Radiological exposure. Positioning and restraint for various anatomical views. Principles and procedures of radiation protection. Ultrasound basic principles . Laboratory instruments scales and calibration. Elementary electronics. Instruments for veterinary laboratories and hospitals. Field trip are required. 713 305
การพยาบาลสัตวเล็กและการจัดการสุขภาพ 3(2-3-4) (Small Animal Nursing and Health Management) วิชาบังคับกอน: 713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย พื้นฐานการพยาบาลสัตวเล็ก สายพันธุสัตวเล็ก เทคนิคที่ใชในการพยาบาลสัตวเล็ก เทคนิค พื้นฐานที่เกี่ยวกับโภชนการ การสืบพันธุ การบริบาลลูกสัตวและลูกสัตวแรกเกิด พื้นฐานการบริบาลภาวะ วิกฤติ การจัดการทางการพยาบาลโรคทั่วไปในสัตวเล็ก กรณียธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มีการศึกษานอกสถานที่ 713 305 Small Animal Nursing and Health Management 3(2-3-4) Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy Basics of small animal nursing care. Small animal breeds. Techniques used in small animal nursing care. Fundamental techniques involved with nutrition, reproduction, neonatal and pediatrics care. Basics of critical nursing care. Nursing aspects of managing common small animal diseases. Deontology and professional ethics. Field trip are required.
51
713 306
การปรับปรุงพันธุและการสืบพันธุสัตว 3(2-3-4) (Animal Breeding and Reproduction) วิชาบังคับกอน: 713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย พันธุศาสตรทางสัตวแพทย หลักพันธุศาสตรของระบบการคัดเลือกสําหรับการปรับปรุง สัตว ชีววิทยาการเจริญเติบโตและการพัฒนาของสัตว ชีววิทยาการสืบพันธุของสัตวเลี้ยง เทคนิคทาง หองปฏิบัติการที่สัมพันธกับความผิดปรกติทางระบบสืบพันธุ โรคหรือลักษณะสืบสายพันธุที่เปน คุณลักษณะของยีนหรือการชํารุดของยีน 713 306 Animal Breeding and Reproduction 3(2-3-4) Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy Veterinary genetics. Genetic principles of selection systems for animal improvement. Growth and development biology of animals. Reproductive biology of domestic animals. Laboratory techniques regarding reproductive anomalies. Diseases or traits attributed to genes or gene defects. 713 307
การพยาบาลสัตวเลี้ยงในฟารมและการจัดการสุขภาพ 3(2-3-4) (Farm Animal Nursing and Health Management) วิชาบังคับกอน: 713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตรประยุกตทางสัตวแพทย หลักพื้นฐานของการจับบังคับ โภชนาการ กายวิภาคและการระบุสายพันธุของสัตวเลี้ยงใน ฟารม โรคของสัตวเลี้ยงในฟารมและสัตวตางถิ่นอื่นๆ พื้นฐานการรักษาและการวินิจฉัย การทําวัคซีน แนวคิดดานความปลอดภัยอาหาร ระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของกับสุขภาพสัตว พฤติกรรมปกติและผิดปกติที่ สัมพันธกับสุขภาพของสัตว มีการศึกษานอกสถานที่ 713 307 Farm Animal Nursing and Health Management 3(2-3- 4) Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy Basic principles of farm animal restraint, nutrition, anatomy and breed identification. Diseases of farm animals and selected exotic animals. Basic therapeutic and diagnostic approaches. Vaccinations. Concepts of food safety. Regulatory issues as they apply to animal health. Normal and abnormal behavior as it relates to health of the animal. Field trip are required.
52
713 308
เทคโนโลยีการวินิจฉัยทางสัตวแพทย 1 3(2-3-4) (Diagnostic Technology in Veterinary Medicine I) วิชาบังคับกอน: 713 206 พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย หัวขอทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการ ความปลอดภัย การควบคุมคุณภาพและประเด็นทาง กฎหมายของหองปฏิบัติการ หลักการและการปฏิบัติการสําหรับเครื่องมือทางหองปฏิบัติการ พื้นฐานเทคนิค ทางหองปฏิบัติการ การเก็บตัวอยาง การจัดการและการเตรียมตัวอยาง การตรวจทางหองปฏิบัติการของสิ่งสง ตรวจแตละชนิดประกอบดวย เลือด ปสสาวะ อุจจาระ สารน้ําในรางกายและตัวอยางอื่นๆ 713 308 Diagnostic Technology in Veterinary Medicine I 3(2-3-4) Prerequisite: 713 206 Veterinary Pathology General topics of laboratory management, safety, quality control and legal aspects. Principles and procedures for laboratory instruments. Basic laboratory techniques. Specimen collection, handling and preparation. Laboratory evaluation of various diagnostic samples including blood, urine, feces, body fluids and others specimens
53
713 309
เทคโนโลยีการวินิจฉัยทางสัตวแพทย 2 3(2-3-4) (Diagnostic Technology in Veterinary Medicine II) วิชาบังคับกอน: 713 206 พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย เทคนิคการตรวจที่ใชในการปฏิบัติงานในสถานพยาบาลสัตว ประกอบดวยโลหิตวิทยา การ วิเคราะหปสสาวะ จุลชีววิทยา ปรสิตวิทยา วิทยาเซลล วิทยาภูมิคุมกัน โลหิตวิทยาภูมิคุมกัน เคมีคลินิก วิทยาเซรุม วิทยาเอนไซม และการชันสูตรซาก โดยเนนการใชกลองจุลทรรศน เครื่องมือวินิจฉัยอัตโนมัติ และกระบวนงานวินิจฉัยที่ทันสมัย แนวคิดเรื่องความปลอดภัยในที่ปฏิบัติงาน โรครับจากสัตวและพิษจาก สิ่งแวดลอม และหัวขอการปฏิบัติงานทางหองปฏิบัติการอื่นๆ มีการศึกษานอกสถานที่ 713 309 Diagnostic Technology in Veterinary Medicine II 3(2-3-4) Prerequisite: 713 206 Veterinary Pathology Surveys techniques used in the veterinary hospital laboratory. Includes hematology, urinalysis, microbiology, parasitology, cytology, immunology, immunohaematology, clinical chemistry, serology, enzymology and necropsy. Emphasizes the use of microscope, automated laboratory equipment, and modern diagnostic procedures. concepts of workplace safety issues. zoonotic diseases and environmental toxins and other practical aspects of laboratory operations. Field trip are required.
54
713 310
เทคโนโลยีหองปฏิบัติการทางการตรวจอาหารทางสัตวแพทย 2(1-2-3) (Laboratory Technology in Veterinary Food Inspection) วิชาบังคับกอน: 713 206 พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย หลักและการปฏิบัติทางความปลอดภัยของอาหาร โดยเนนอาหารที่มีตนกําเนิดมาจากสัตว การตรวจเนื้อสัตวสําหรับการติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัสและปรสิตในซากสัตว การตรวจหาสารตกคางใน เนื้อสัตวและเนื้อสัตวปก และการตรวจประเมินเนื้อสัตวสําหรับการบริโภคของมนุษย สุขลักษณะของน้ํานม ประกอบดวยคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของน้ํานมที่ปลอมปน การประเมินคุณภาพน้ํานม แหลง ปนเปอน การใหความรอน โรครับจากสัตวที่ติดตอผานทางผลิตภัณฑนมและเนื้อสัตว มีการศึกษานอกสถานที่ 713 310 Laboratory Technology in Veterinary Food Inspection 2(1-2-3) Prerequisite: 713 206 Veterinary Pathology Principles and practice of food safety with emphasis on foods of animal origin. Meat inspection for bacterial, viral, and parasitic infections of slaughtered animals. Detection of chemical residues in meat and poultry, and judgement of the meat for human consumption. Milk hygiene including physical and chemical properties of adulteration, quality evaluation of milk, sources of contamination, heat treatment, zoonotic diseases transmitted through milk and meat products. Field trip are required.
55
713 311
วิธีการวิจัยและการสื่อสาร 2(2-0-4) (Methods in Research and Communication) วิชาบังคับกอน: 700 203 ชีวสถิติเบื้องตน ระเบียบวิธีวิทยาการวิจัยเบื้องตน การออกแบบและการปรับใชสถิติในการวิจัยทาง ประกอบดวยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การกําหนดโจทยการวิจัยและการจําแนกปญหาการวิจัย วิธีการเก็บขอมูล กรอบการสุม ชนิดของการวิเคราะหขอมูล การแปลผลขอมูลอยางเหมาะสม การเตรียม รายงานการวิจัย การเขียนเชิงวิทยาศาสตร ทักษะการสื่อสาร การทบทวนเรื่องคัดเฉพาะทางเทคนิคการสัตว แพทยและการวิจัยที่เปนปจจุบันดวยการนําเสนอและการอภิปราย 713 311 Methods in Research and Communication 2(2-0-4) Prerequisite: 700 203 Basic Biostatistics Introduction to research methodology. Design and statistical applications in research, including qualitative and quantitative research methods. Formulate a research question and define a research problem. Data collection methods. Sampling frame. Types of data analyses. Interpreting data appropriately. Prepare a research report. Scientific writing. Communication skills. Select review a topic of veterinary technology and recent research with presentation and discussion. 713 312
การจัดการปฏิบัติงานทางสัตวแพทย 2(2-0-4) (Veterinary Practice Management) หลักและเทคนิคสําหรับการจัดการบริภัณฑ วัสดุ ความปลอดภัย การเงิน ขอมูลและ ทรัพยากร วิธีปฏิบัติงานสํานักงานที่ใชสําหรับการจัดการสถานพยาบาลสัตว หลักธุรกิจพื้นฐาน ประกอบดวยการบัญชีและการจัดการการเงิน มนุษยสัมพันธทั้งกับลูกคาและเจาหนาที่ การรายงานทาง การแพทยและเวชระเบียน การปรับใชคอมพิวเตอรทางสัตวแพทยและการใชสวนชุดคําสั่งทางสัตวแพทย มีการศึกษานอกสถานที่ 713 312 Veterinary Practice Management 2(2-0-4) Principles and techniques for management of equipment, materials, safety, finances, data and resources. Office procedures used in veterinary hospital management. Basic business principles including accounting and money management. Human relations with clients and staff. Medical reports and record keeping. Veterinary computer applications and use of veterinary software. Field trip are required.
56
713 313
สัมมนาทางเทคนิคการสัตวแพทย 1(0-3-0) Seminar in Veterinary Technology การวิเคราะหบทความ รายงานวิจัย รายงานสั้น หรือรายงานสัตวปวย จากวารสารทาง สัตวแพทยที่เปนปจจุบัน การสังเคราะหรายงานเชิงวิทยาศาสตรจากการทบทวนบทความทางเทคนิคการ สัตวแพทย มีการรายงานดวยวาจาทุกสัปดาห ผูเขารวมสัมมนาตองมีสวนรวมสงเสริมบรรยากาศในการ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแสดงความเห็นแยงเชิงสรางสรรค 713 313 Seminar in Veterinary Technology 1(0-3-0) Literature analysis of articles, research paper, short report or case report from current veterinary journal. Synthesis of a scientific report by reviewing articles in veterinary technology. An oral report is presented at a weekly seminar. All participants are encouraged to foster an atmosphere in which discussion, exchange of ideas, and the airing of controversial opinions might flourish. 713 401
เทคโนโลยีและการจัดการสัตวใหนมและผลผลิต 3(2-3-4) (Technology and Management of Dairy Animals and Products) ประวัติและการพัฒนาอุตสาหกรรมนม ระบบเตานม การขับน้ํานมและการหลั่งน้ํานม การ คัดเลือกและการจัดการการเพาะขยายพันธุสัตวใหนม การจัดการสุขภาพสัตวและการสุขาภิบาล การจัดการ ฟารม เทคนิคการผลิต ผลิตภัณฑนม คุณภาพน้ํานม เครื่องรีดน้ํานม กลยุทธการตลาด เศรษฐกิจและแนวโนม ผูบริโภค มีการศึกษานอกสถานที่ 713 401 Technology and Management of Dairy Animals and Products 3(2-3-4) History and development of dairy industry. Mammary system. Milk secretion and ejection. Selection and management of dairy animals breeding. Animal health management and sanitation. Farm management. Production techniques. Dairy products. Milk quality. Milking machines. Marketing strategies, economics and consumer trends. Field trip are required.
57
713 402
เทคโนโลยีและการจัดการสัตวใหเนื้อและผลผลิต 3(2-3-4) (Technology and Management of Meat Animals and Products) การผลิตสัตวประเภทใหเนื้อ การเพาะขยายพันธุ การใหอาหาร การคัดเลือกและการจัดการ โครงสรางและองคประกอบของกลามเนื้อและเนื้อเยื่ออื่นๆ กระบวนการผลิตผลิตภัณฑเนื้อสัตว การ เปลี่ยนแปลงของกลามเนื้อหลังตาย องคประกอบทางเคมีและคุณลักษณะทางกายภาพของซากและผลิตภัณฑ เนื้อสัตว คุณภาพและความปลอดภัยของเนื้อสัตว ชั้นคุณภาพของปศุสัตวและซาก แนวโนมตลาด ปจจุบันสําหรับผลิตภัณฑเนื้อสัตว มีการศึกษานอกสถานที่ 713 402 Technology and Management of Meat Animals and Products 3(2-3-4) Production of meat animals. Breeding, feeding, selection and management. Structure and composition of muscle and associated tissues. Processing of meat products. Postmortem muscle changes. Chemical composition and physical characteristics of carcasses and meat products. Meat quality and safety. Livestock and carcass grades. Current market trends for meat products. Field trip are required. 713 403
เทคโนโลยีและการจัดการสัตวปกและผลผลิต 3(2-3-4) (Technology and Management of Avian and Products) การผลิตเนื้อจากสัตวปกและการผลิตไขเชิงพาณิชย ประกอบดวยการคัดเลือก สาเหตุของ ปญหาการเพาะขยายพันธุและปญหาพันธุกรรมในการผลิตจํานวนมาก สมรรถนะทางการสืบพันธุ ระบบให แสงสวาง สุขภาพและโปรแกรมวัคซีน โภชนาการ การควบคุมสิ่งแวดลอม การรวบรวมและการจัดการไข การบันทึกขอมูลคอมพิวเตอร แนวโนมตลาดปจจุบันสําหรับผลิตภัณฑไกและไข มีการศึกษานอกสถานที่ 713 403 Technology and Management of Avian and Products 3(2-3-4) Meat production from poultry and commercial egg production such as selection, breeding and genetic problems caused in high production, reproductive performance, lighting systems, health and vaccination programs, nutrition, environmental control, egg gathering and handling, computer record keeping. Current market trends for poultry and egg products. Field trip are required.
58
713 404
เทคโนโลยีและการจัดการสัตวใหขนและผลผลิต 3(2-3-4) (Technology and Management of Fur Animals and Products) สายพันธุสัตวใหขนและหนังที่สําคัญ คุณลักษณะทั่วไป โรงเรือนและการบํารุงเลี้ยง การ สืบพันธุ การใหอาหาร พฤติกรรม กระบวนการผลิตขนและหนัง การตลาด สุขอนามัย แนวโนมตลาด ปจจุบัน มีการศึกษานอกสถานที่ 713 404 Technology and Management of Fur Animals and Products 3(2-3-4) Importance of breeding of feather and fur animals, general characters, housing and husbandry conditions, reproduction, feeding, behavior, feather and fur production processing, marketing, hygiene. Current market trends. Field trip are required. 713 405
เทคโนโลยีและการจัดการสัตวน้ําและผลผลิต 3(2-3-4) (Technology and Management of Aquatic Animals and Products) การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําและการเพาะเลี้ยงสัตวทะเล การทําประมงและการเก็บเกี่ยวจาก ธรรมชาติ ผลิตภัณฑประมงและอาหารทะเล องคประกอบทางเคมี การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและจุลชีววิทยา หลังการตาย หลักการเก็บถนอม การตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพ แนวโนมการตลาดในปจจุบัน มีการศึกษานอกสถานที่ 713 405 Technology and Management of Aquatic Animal and Products 3(2-3-4) Aquaculture and mariculture. Fisheries and wild harvest. Fisheries products and seafood. Chemical composition, biochemical and microbiological changes in post-mortem. Principles of preservation. Inspection and quality control. Current market trends. Field trip are required.
59
713 406
เทคโนโลยีและการจัดการผึ้งและผลผลิต 3(2-3-4) (Technology and Management of Bee and Products) การศึกษาหลักและวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการพัฒนาและการจัดการฟารมผึ้งและการเลี้ยง ผึ้งสําหรับการผลิตน้ําผึ้งเชิงพาณิชย การจัดการสุขาภิบาลและการจัดการสุขภาพของผึ้งและการผลิตน้ําผึ้ง การตรวจสอบและควบคุมภาพน้ําผึ้ง แนวโนมการตลาดในปจจุบัน มีการศึกษานอกสถานที่ 713 406 Technology and Management of Bee and Products 3(2-3-4) Study of the principles and practices involved in the development and management of apiaries and apiculture for commercial production of honey. Hygienic and health management of bees and honey productions. Honey inspection and quality control. Current market trends. Field trip are required. 713 407
เทคโนโลยีและการจัดการโรงฆาสัตว 3(2-3-4) (Technology and Management of Slaughterhouses) หลักการมาตรฐานการฆาปศุสัตวเชิงเปรียบเทียบ การขนสงและการพักสัตว การออกแบบ โรงฆาสัตวและกระบวนงานการฆาสัตว เครื่องมือและอุปกรณฆาสัตว การจัดการหองเย็น หลักของ สุขาภิบาล การตรวจและการแบงเกรดซาก การจัดการซาก การจัดการซากกอนตัดแตง การตัดแตงซากและ การจัดการของเสีย มีการศึกษานอกสถานที่ 713 407 Technology and Management of Slaughterhouses 3(2-3-4) Principles of comparative livestock slaughtering standards. Animal transportation and resting. Abattoir design and slaughtering procedure. Equipment and utensils. Refrigerated room management. Hygienic principles, carcass inspection and grading. Carcass management prior to meat cutting. Meat cutting and waste management. Field trip are required.
60
713 408
เทคโนโลยีและการจัดการโรงฟก 3(2-3-4) (Technology and Management of Hatchery) การจัดการฟารมพอแมพันธุไกเนื้อและไกไข การผลิตไขฟก พัฒนาการของตัวออน การ จัดการไขฟก การใหความอบอุนลูกไกและการจัดการโรงฟก มีการศึกษานอกสถานที่ 713 408 Technology and Management of Hatchery 3(2-3-4) Broiler and layer breeder farm management. Hatching egg production. Embryo growth and development. Hatching egg management, incubation and hatchery management. Field trips required. 713 409
เทคโนโลยีการสืบพันธุและการเพาะขยายพันธุเทียม 3(2-3-4) (Reproductive Technology and Artificial Breeding) วิชาบังคับกอน: 713 306 การปรับปรุงพันธุและการสืบพันธุสัตว หลักการปรับปรุงพันธุสัตวและพันธุศาสตรของสัตว วิทยาศาสตรของรอบการเปนสัดและ วิทยาน้ําเชื้อ ธนาคารยีนและเทคโนโลยีธนาคารยีน เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุ ประกอบดวยการ ผสมเทียม การคุมกําเนิด การเหนี่ยวนําการเปนสัดพรอมกัน การตกไขจํานวนมาก การยายฝากตัวออน การ ปฏิสนธิในหลอดแกว การคัดเพศอสุจิและตัวออน การตัดแบงตัวออน สัตวแปลงพันธุ และเทคโนยีชีวภาพ การทําใหเกิดตามแมแบบ 713 409 Reproductive Technology and Artificial Breeding 3(2-3-4) Prerequisite: 713 306 Animal Breeding and Reproduction Principles of breeding and genetics in animals. Science of estrous cycle and seminology. Gene banks and gene bank technology. Reproduction-related biotechnologies including artificial insemination, birth control, estrus synchronization, superovulation, embryo transfer, in vitro fertilization, sperm and embryo sexing, embryo splitting, transgenic animals, and cloning biotechnology.
61
713 410
เทคโนโลยีหองปฏิบัติการทางโภชนศาสตรประยุกต 3(2-3-4) (Laboratory Technology in Applied Nutrition) วิชาบังคับกอน: 713 208 โภชนศาสตร อาหารและการใหอาหารสัตว แนวคิดพื้นฐานของโภชนะในอาหาร หลักและทฤษฎีการวิเคราะหอาหาร การประเมินคา โภชนะ เทคนิคการวิเคราะหการประเมินคาอาหาร การจัดการหองปฏิบัติการอาหาร การปรับใชคอมพิวเตอร ทางโภชนศาสตรและอุตสาหกรรมอาหาร 713 410 Laboratory Technology in Applied Nutrition 3(2-3-4) Prerequisite: 713 208 Animal Nutrition, Feed and Feeding Basic concepts of feed nutrients. Principles and theories of feed analysis. Dietary assessment. Analytical techniques in feed evaluation. Management of nutrition laboratories. Computer applications in nutrition science and the food industry. 713 411
เทคโนโลยีหองปฏิบัติการทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) (Laboratory Technology in Pharmaceutics) วิชาบังคับกอน: 713 207 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาทางสัตวแพทย การกระจายและคุณสมบัติของสารเคมีบําบัดจากธรรมชาติ กระบวนการสกัดสาร ออกฤทธิ์ พืชที่ใชเปนยาที่สําคัญในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต เภสัชจลนศาสตรและเภสัช พลศาสตรของยา การจําแนกผลและฤทธิ์ของยา เทคนิคทางเภสัชวิทยาโมเลกุล หลักและทฤษฎีของ โครมาโทกราฟ การพิจารณากําหนดความไวของยา 713 411 Laboratory Technology in Pharmaceutics 3(2-3-4) Prerequisite: 713 207 Veterinary Pharmacology and Toxicology Distribution and properties of natural chemotherapeutic agents. Extraction processing of active agents. Important medicinal plants in Thailand and South East Asia. Pharmacokinetics and pharmacodynamics of drugs. Classification efficacy and potency of drugs. Molecular pharmacological techniques. Principles and theory of chromatography. Drug sensitivity determination.
62
713 412
เทคโนโลยีหองปฏิบัติการทางพิษวิทยาสิ่งแวดลอม 3(2-3-4) (Laboratory Technology in Environmental Toxicology) วิชาบังคับกอน: 713 207 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาทางสัตวแพทย การวิเคราะหดินและน้ํา คุณสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีววิทยาของดิน เทคนิคทาง พิษวิทยาและที่เกี่ยวเนื่องกับมลพิษทางนิเวศวิทยา การใชสารฆาสัตวรังควานและสารตกคาง สารฆาเห็บไร สารฆาวัชพืชและสารฆาแมลง สารพิษธรรมชาติ การควบคุมการเจริญเติบโตของพืช มลพิษสิ่งแวดลอม สุขศาสตรสิ่งแวดลอมขั้นมูลฐาน น้ํา อากาศและสิ่งปลูกสราง 713 412 Laboratory Technology in Environmental Toxicology 3(2-3-4) Prerequisite: 713 207 Veterinary Pharmacology and Toxicology Soil and water analyses. Physical, chemical and biological properties of soil. Toxicological techniques and relevant eco-pollutants. Pesticides use and residues. Ixodicides. Herbicides and insecticides. Natural toxicants. Plant growth regulators, environmental pollution. Elements of environmental sanitation, water, air and buildings.
63
713 413
การจัดการและมาตรฐานหองปฏิบัติการทางสัตวแพทย 3(3-0-6) (Veterinary Laboratory Management and Standardizations) วิชาบังคับกอน: 713 312 การจัดการปฏิบัติงานทางสัตวแพทย การจัดองคกรหองปฏิบัติการ การออกแบบหองปฏิบัติการ หลักการจัดการและการ จัดการขอมูลทางหองปฏิบัติการ การดําเนินการหองปฏิบัติการ การประกันคุณภาพหองปฏิบัติการ ความปลอดภัยและการบํารุงรักษาหองปฏิบัติการ จรรยาบรรณหองปฏิบัติการ หลักการดําเนินการและ การเทียบมาตรฐานสําหรับอุปกรณชนิดพิเศษ การวินิจฉัยปญหาของเครื่องมือ การบํารุงรักษาเครื่องมือ อัตโนมัติ การจัดการคุณภาพโดยองครวมและมาตรฐานขององคการระหวางประเทศวาดวยการมาตรฐาน มีการศึกษานอกสถานที่ 713 413 Veterinary Laboratory Management and Standardizations 3(3-0-6) Prerequisite: 713 312 Veterinary Practice Management Laboratory organization. Laboratory design. Principles of management and laboratory data management. Laboratory operations. Laboratory quality assurance. Laboratory safety and maintenance. Ethics in laboratories. Principles of operation and calibration of specialized equipment. Instrumentation problem diagnosis. Maintenance of automated equipment. Total Quality Management (TQM) and standards of International Organization for Standardization. (ISO) Field trip are required.
64
713 414
เทคโนโลยีทางสัตวที่ใชวิจัย 2 3(2-3-4) (Research Animal Technology II) วิชาบังคับกอน: 713 303 เทคโนโลยีทางสัตวที่ใชวิจัย 1 พื้นฐานกายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยา โรงเรือน การดูแลสัตว พันธุกรรมและการควบคุม คุณภาพทางจุลชีววิทยา การระงับความรูสึกและการระงับความเจ็บปวด การใหอาหาร เทคนิคการทดลองใน สัตวทดลอง โดยเนนสุนัข แมว ไพรเมท ปศุสัตว สัตวน้ําและสัตวทดลองชนิดอื่นๆ มีการศึกษานอกสถานที่ 713 414 Research Animal Technology II 3(2-3-4) Prerequisite: 713 303 Research Animal Technology I Fundamental laboratory animal anatomy and physiology, housing, caretaking, genetic and microbial quality control, anesthesia and analgesia, feeding, experimental techniques with emphasis on the laboratory dogs, cats, non-human primates, livestock animals, aquatic animals and other laboratory animal species. Field trip are required. 713 481
713 481
713 482
713 482
เรื่องคัดเฉพาะทางเทคนิคการสัตวแพทย 1 3(2-3-4) (Selected Topics in Veterinary Technology II) เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร เรื่องปจจุบันที่นาสนใจทางเทคนิคการสัตวแพทย Selected Topics in Veterinary Technology I 3(2-3-4) Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology Topics of current interest in veterinary technology เรื่องคัดเฉพาะทางเทคนิคการสัตวแพทย 2 3(2-3-4) (Selected Topics in Veterinary Technology II) เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร เรื่องปจจุบันที่นาสนใจทางเทคนิคการสัตวแพทย Selected Topics in Veterinary Technology II 3(2-3-4) Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology Topics of current interest in veterinary technology
65
713 491
การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 1 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation I) เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร การฝกประสบการณโดยการปฏิบัติงานทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน ทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแตละโอกาส 713 491 Veterinary Technology Internship Rotation I 1(0-3-0) Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus opportunities. 713 492
การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 2 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation II) เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร การฝกประสบการณโดยการปฏิบัติงานทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน ทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแตละโอกาส 713 492 Veterinary Technology Internship Rotation II 1(0-3-0) Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus opportunities. 713 493
การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 3 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation III) เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร การฝกประสบการณโดยการปฏิบัติงานทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน ทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแตละโอกาส 713 493 Veterinary Technology Internship Rotation III 1(0-3-0) Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus opportunities.
66
713 494
การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 4 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation IV) เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร การฝกประสบการณโดยการปฏิบัติงานทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน ทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแตละโอกาส 713 494 Veterinary Technology Internship Rotation IV 1(0-3-0) Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus opportunities. 713 495
การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 5 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation V) เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร การฝกประสบการณโดยการปฏิบัติงานทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน ทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแตละโอกาส 713 495 Veterinary Technology Internship Rotation V 1(0-3-0) Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus opportunities. 713 496
การฝกปฏิบัติทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน 6 1(0-3-0) (Veterinary Technology Internship Rotation VI) เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร การฝกประสบการณโดยการปฏิบัติงานทางเทคนิคการสัตวแพทยแบบหมุนเวียน ทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแตละโอกาส 713 496 Veterinary Technology Internship Rotation VI 1(0-3-0) Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus opportunities.
67
713 497
การฝกงานภาคสนามทางเทคนิคการสัตวแพทย 1(0-3-0) (Field Practicum in Veterinary Technology) เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร นักศึกษาแตละคนตองมีชั่วโมงการฝกงาน 180 ชั่วโมง โดยฝกปฏิบัติงานดานสัตวเล็ก หรือ สัตวใหญ หรือทั้งสองชนิด ทั้งนี้เพื่อเสริมสรางประสบการณในชุมชน หรือหองปฏิบัติการ หรือสถาน ประกอบการทางสัตวแพทยโดยทั่วไป 713 497 Field Practicum in Veterinary Technology 1(0-3-0) Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology Each student spends 180 hours in a small animal or large animal or mixed animal veterinary practice to gain practical experience in the community or laboratory or general veterinary facility operations. 713 498
สหกิจศึกษาทางเทคนิคการสัตวแพทย 6(0-18-0) (Cooperative Education in Veterinary Technology) เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร การฝกประสบการณโดยการปฏิบัติงานทางเทคนิคการสัตวแพทยและการวิจัยอยางนอย 1 ภาคการศึกษา ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยตามแตละโอกาส 713 498 Cooperative Education in Veterinary Technology 6(0-18-0) Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology A minimum of one semester on-the-job experience in veterinary technology or research. On- and off-campus opportunities.
68
713 499
สัตวอื่นๆ 713 499
technology.
จุลนิพนธ 2(0-6-0) (Senior Project) วิชาบังคับกอน: 713 311 วิธีการวิจัยและการสื่อสาร เงื่อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร วิจัยในหัวขอที่นาสนใจทางเทคนิคการสัตวแพทยและ/หรือวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดาน Senior Project 2(0-6-0) Prerequisite: 713 311 Methods in Research and communication Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology Research on topics of interest in veterinary technology and/or others animal sciences &
69
18. การประกันคุณภาพหลักสูตร การประกันคุณภาพสําหรับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทยจะยึดถือ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 และเปนไป ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยจะมีกิจกรรมตาง ๆ ของสาขาวิชาฯ ดังตอไปนี้ 18.1 การบริหารหลักสูตร 1.
2.
3.
เปาหมาย เพื่อจัดการเรียนการสอนในแต ละวิชาใหตรงกับความตองการ ของผูใชบัณฑิต เพื่อกระตุนใหผูเรียนสามารถ คิดอยางมีระบบในการ แกปญหาและการริเริ่ม สรางสรรค เพื่อสงเสริมใหผูเรียนสามารถ พัฒนาการเรียนรูจาก ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และ นํามาประยุกตใชในการ ประกอบวิชาชีพตอไป
1. 2.
3. 4.
5. 6.
การดําเนินการ จัดระบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปน 1. ศูนยกลาง รวมทั้งในสวนของจุลนิพนธ จัดอุปกรณการเรียนการสอนที่ทันตอ ความกาวหนาทางเทคโนโลยีการชันสูตรและการ วินิจฉัยทางสัตวแพทย จัดหาแหลงขอมูลทางวิชาการที่ทันสมัยให 2. นักศึกษาไดคนควาประกอบการศึกษา ปรับปรุงเนื้อหาวิชาการที่สอนใน 3. หลักสูตรใหทันตอความเจริญทางวิชาการ และ เปดรายวิชาที่นําไปใชในการประกอบวิชาชีพได กําหนดมาตรฐานในการวัดผลและการสําเร็จ การศึกษาที่ชัดเจน กําหนดขอบเขตของรายวิชา โดยเฉพาะรายวิชา จุลนิพนธใหเหมาะกับบุคลากร สภาพปญหา และอุปกรณที่มีอยู
การประเมินผล ทําแบบประเมินเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา และเทคนิควิธีการสอนของอาจารย เพื่อนําไปปรับเปลี่ยนตามความ เหมาะสมและตรงตามความตองการ ของนักศึกษาในแตละภาคการศึกษา มีการจัดสอบกลางและปลายภาค พรอมทั้งทํารายงานในภาคปฏิบัติของ วิชาตางๆ ในสาขาวิชาฯ นักศึกษาในหลักสูตรควรสําเร็จ การศึกษาตามเวลาที่ระบุไวใน หลักสูตรไมนอยกวา 80%
70
18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1.
2.
3.
4.
เปาหมาย เพื่อใหการจัดการดานการเรียนการ สอน และวัสดุอุปกรณกาวทันกับ เทคโนโลยีใหม โดยจัดหาทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนอยาง เหมาะสมและเพียงพอ สงเสริมใหนักศึกษาเขาถึงทรัพยากร และใชทรัพยากรเปน โดยเฉพาะสื่อ การสอนอิเล็กทรอนิกส สงเสริมใหนักศึกษามีความเชี่ยวชาญ ทั้งทางดานทฤษฎีและปฏิบัติในเรื่อง ที่ทําจุลนิพนธสามารถวางแผน และ กําหนดเปาหมายของโครงงานไดดวย ตนเอง สนับสนุนนักศึกษาในการฝก ประสบการณวิชาชีพตามระบบสห กิจศึกษากับหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนเพื่อให เกิดทักษะ ความชํานาญและกระตุน ใหเกิดการเรียนรูตามสภาพจริง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
การดําเนินการ สงเสริมใหอาจารยและนักศึกษามี การใชเครือขายสื่อสารทาง อินเทอรเน็ต เพื่อใหไดทราบถึง ทฤษฎีและเทคโนโลยีใหม จัดหาหนังสือ วารสาร ตําราใหมๆ ที่เกี่ยวของกับรายวิชาในหลักสูตร เพื่อใหนักศึกษาและคณาจารย สามารถใชไดอยางสะดวก จัดการโสตทัศนูปกรณและ ครุภัณฑที่จําเปนสําหรับการเรียน การสอนใหทันตอความกาวหนา ทางวิชาการ จะมีการจัดการสัมมนาภายใน สาขาวิชาสําหรับนักศึกษาและ คณาจารยของสาขาวิชาฯ สงเสริมอาจารยประจําหลักสูตรให ไปสัมมนาและประชุมทางวิชาการ ในระดับชาติและระดับนานาชาติ สงเสริมใหอาจารยไดศึกษาตอขั้น สูง รวมถึงการศึกษาเพื่อเปน ผูเชี่ยวชาญทางวิชาชีพเฉพาะดาน สงเสริมใหคณาจารยผลิตตํารา เอกสารประกอบการสอน สื่อการ สอนอิเล็กทรอนิกส กําหนดใหนักศึกษาเสนอรางจุล นิพนธตออาจารยที่ปรึกษาและ อาจารยที่ปรึกษารวม เพื่อพิจารณา รวมกันและใหขอเสนอแนะ นักศึกษาจะใชเวลาในทําจุลนิพนธ 1 ภาคการศึกษา ในภาคปลาย สงเสริมใหนักศึกษาไดเผยแพร ผลงาน ในการประชุมวิชาการ หรือ งานสัมมนาตางๆ กําหนดใหนักศึกษาเขารับการฝก ประสบการณวิชาชีพตามระบบสห กิจศึกษา ในภาคตน
1.
2.
3.
4.
การประเมินผล ประเมินผลการผลิตสื่อการสอนสอนทั้ง ดานปริมาณและคุณภาพ รวมถึงการใช ประโยชนของนักศึกษา ประเมินผลความกาวหนาของโครงราง จุลนิพนธกอนปฏิบัติการ และสอบจุล นิพนธ ในภาคปลายของปการศึกษา สุดทาย ประเมินผลโดยการสอบจุลนิพนธ ซึ่งมี กรรมการสอบอยางนอย 3 คน ตาม ขอกําหนดของสาขาวิชาฯ ประเมินผลการฝกประสบการณวิชาชีพ ตามระบบสหกิจศึกษาทั้งสองฝาย (สถานศึกษาและสถานประกอบการ) ตามขอกําหนดของสาขาวิชาฯ
71
18.3 การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา 1.
เปาหมาย เพื่อใหนักศึกษาไดรับความเอาใจใส 2. ดูแลจากอาจารยที่ปรึกษาทาง วิชาการอยางดีที่สุด ไดรับการ ประคับประคองใหเกิดการ พัฒนาการเรียนรูอยางเปนระบบ และสามารถเขาใจสภาพอุปสรรคที่ นักศึกษาไดรับ โดยสามารถทราบ ถึงอุปสรรคตางๆไดอยางรวดเร็ว และสามารถแกไขปรับปรุงหรือ 3. เปลี่ยนแลงไปในทางที่ดีไดอยาง รวดเร็ว นําพานักศึกษาไปใน ทิศทางที่ถูกตองและเหมาะสมตาม ศักยภาพของนักศึกษาและเปนไป ตามเปาหมายของหลักสูตร 4.
การดําเนินการ ใหนักศึกษาหรือบัณฑิตกรอก แบบสอบถาม เพื่อประเมินทัศนคติตอ เนื้อหาวิชาและเทคนิคการสอนของ อาจารย และวิธีการวัดผล เพื่อการ ปรับปรุงวิธีการสอนและเนื้อหาของ วิชาตามความเหมาะสมและตรงตอการ นําไปใชงานของบัณฑิต และเพื่อการ พิจารณาปรับปรุงหลักสูตร จะมีการประเมินความตองการบัณฑิต จากสถานประกอบการ หรือหนวยงาน ตางๆ รวมทั้งประเมินโดยผูเชี่ยวชาญใน สาขาวิชาเพื่อพิจารณาปรับปรุง หลักสูตรใหดียิ่งขึ้น ทั้งในดานคุณภาพ และประสิทธิภาพ มีการประเมินหลักสูตรตามระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลัยศิลปากร ภายในระยะเวลา 5 ป
การประเมินผล มีการประเมินในรายละเอียด และโดย ภาพรวมของหลักสูตรดังนี้ 1. ผลที่ไดจากแบบสอบถาม จะนํามา พิจารณาในสาขาวิชาฯ เพื่อปรับปรุง ตามที่สมควร 2. ผลจากการประเมินโดยนักวิชาการ และผูเชี่ยวชาญจะนํามาวิเคราะหเพื่อ เปนแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตร ใหเหมาะสมตรงกับสถานการณที่ เปนไปในปจจุบัน 3. ผลจากการประเมินหลักสูตรตาม ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อนํามา ปรับปรุงใหเหมาะสมและสอดคลอง กับสถานการณปจจุบัน
18.4 ความตองการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต 1.
เปาหมาย การดําเนินการ เพื่อใหเห็นจุดออนและจุดแข็งของ 1. ใหบัณฑิตกรอกแบบสอบถาม เพื่อ หลักสูตรโดยรวมในแตละป ประเมินทัศนคติตอเนื้อหาวิชาและเทคนิค การศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนใหทันกับ การสอนของอาจารย และวิธีการวัดผล ความกาวหนาทางวิทยาการและตรง เพื่อการปรับปรุงวิธีการสอนและเนื้อหา ตามความตองการทางอุตสาหกรรม ของวิชาตามความเหมาะสมและตรงตอ การนําไปใชงานของบัณฑิต และเพื่อการ พิจารณาปรับปรุงหลักสูตร 2. จะมีการประเมินความตองการบัณฑิต จากสถานประกอบการ หรือหนวยงาน ตางๆ รวมทั้งประเมินโดยผูเชี่ยวชาญใน สาขาวิชาเพื่อพิจารณาปรับปรุงหลักสูตร ใหดียิ่งขึ้น ทั้งในดานคุณภาพ และ ประสิทธิภาพ 3. มีการประเมินหลักสูตรตามระบบประกัน คุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย ศิลปากร ภายในระยะเวลา 5 ป
การประเมินผล มีการประเมินในรายละเอียด และโดย ภาพรวมของหลักสูตรดังนี้ - ผลที่ไดจากแบบสอบถาม จะนํามา พิจารณาในสาขาวิชาฯ เพื่อปรับปรุงตามที่ สมควร - ผลจากการประเมินโดยนักวิชาการ และ ผูเชี่ยวชาญจะนํามาวิเคราะหเพื่อเปน แนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรให เหมาะสมตรงกับสถานการณที่เปนไปใน ปจจุบัน - ผลจากการประเมินหลักสูตรตามระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย ศิลปากร เพื่อนํามาปรับปรุงใหเหมาะสม และสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน
72
19. การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรสําหรับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคสัตวแพทยจะยึดถือตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 1.
เปาหมาย เพื่อใหมีการพัฒนาหลักสูตรให ทันสมัยและมีการประเมินเพื่อ พัฒนาหลักสูตรอยางตอเนื่อง
การดําเนินการ 1. ใหบัณฑิตกรอกแบบสอบถาม เพื่อ ประเมินทัศนคติตอหลักสูตรตามความ เหมาะสมและตรงตอการนําไปใชงานของ บัณฑิต และเพื่อการพิจารณาปรับปรุง หลักสูตร 2. จะมีการประเมินคุณลักษณะบัณฑิตที่ เหมาะสม จากสถานประกอบการ หรือ หนวยงานตางๆ รวมทั้ง 3. จะมีการประเมินคุณลักษณะบัณฑิตที่ เหมาะสม โดยผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาเพื่อ พิจารณาปรับปรุงหลักสูตรใหดียิ่งขึ้น ทั้ง ในดานคุณภาพ และประสิทธิภาพ
การประเมินผล มีการประเมินในรายละเอียด และโดย ภาพรวมของหลักสูตรดังนี้ - ผลที่ไดจากแบบสอบถาม จะนํามา พิจารณาในสาขาวิชาฯ เพื่อปรับปรุงพัฒนา หลักสูตรตามที่สมควร - ผลจากการประเมินโดยผูประกอบการ นักวิชาการ และผูเชี่ยวชาญจะนํามา วิเคราะหเพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรใหเหมาะสมตรงกับ สถานการณที่เปนไปในปจจุบัน และ สอดคลองการความตองการบัณฑิต