วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
" iC T
1ปืกี่ 3 ฉบบที่ 1 qaiกบ 2558 - กันยายน 2559 / S iffiS
พัฌนาร^บบสารสนเทศข้อมูลทาVด้านสารารณสุข า7หวัดร้อยเอ็ด NemoCare 1สังเวียน อ้วนกันยา,2วีชาญ เอี่ยมรัศมีกุล, และคณะ โรงพยาบาลพนมไพร อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด
บทกัดย่อ การวิจัยนี้มุ่งเน้นไปที่การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศข้อมูลทาง ด้านสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อจัดทำระบบรายงานกลางทั้งจังหวัดโดยระบบ ทำการเชื่อ มต่อ ข้อ มูล งานประจำวัน จากฐานข้อ มูล HIS ในโรงพยาบาลทุก ที่ เข้าสู่ฐานข้อมูลกลาง จากนั้นน่าข้อมูลมาวิเคราะห์และน่าเสนอข้อมูลผ่านทาง Web Application ภายใต้โปรแกรม NemoCare มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบรายงาน ทางด้านสาธารณสุฃฃองจังหวัดร้อยเอ็ด ดำเนินการในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2557 จนถึงปิจจุบันเครื่องมือที่ใข้ในการวิจัยดือ โปรแกรม NEMOCARE ซึ่งแบบออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ส่วนโปรแกรม NemoCare เป็นส่วนอ่านคำสั่ง SQL เวลาที่ Server มีดำสั่ง SQL เพื่อ ร้อ งขอข้อ มูล ไปเก็บ ไว้ส ่วนกลาง และส่วนที่ 2 ดือ ส่วนของ Webได้พัฒนามาจากภาษา PEHP และฐานข้อมูล Mysql ซึ่งอยู่ในรูปแบบ Web Application (เว็บแอพพลิเคซั่น) เพราะ Web Application สามารถตอบ สนองปัญ หาข้างต้น ได้เป็น อย่างดืและสามารถแทนที่ Desktop Application ที่เป็น Client-Server Application ได้เป็น อย่า งดีต ัว ,โ ปรแกรมของ Web Application จะถูกติดตั้งไว้ที่ Server คอยให้บริการกับ Client และที่ Client ก็ไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมเพิ่มเติมสามารถใช้โปรแกรมประเภท Brower ที่ติดมากับ OS ใช้งานได้ทันทีอย่าง Internet Explorer หรือโปรแกรมฟรีได้แก่ FireFox, 2 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลพนมไพร e-mail: csmanservice@gmaiLcom 93
T iC T I วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
1,ปืกี่ 3 ฉบบที่ 1 qaifUJ 2558 - กินยไยน 2559 /
Google Chrome ซึ่งกำลังเป็น ที่นิยมเป็น อย่างมากด้วยความสามารถของ Brower ที่หลากหลายท0าใหไม่จำกัดว่าเครื่องที่ใซ้เป็น OS อะไรหรืออุปกรณ์ อะไร อย่างอุปกรณ์ TouchPad หรือ Smartphone ก็สามารถเรียกใช้งานได้ ลดข้อจำกัดเรื่องสถานที่ใช้งานอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่า จากระบบเดิมที่ฃอรายงานจาก Data Center สาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ดล่าช้าไม1ทันเวลาทำให้สาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ต้องขอรายงานต่างๆ มายังหน่วยบริการซึ่งยิ่งทำให้ข้อมูลล่าช้าและไม่เป็นรูปแบบ เดียวกัน ทีมงานสารสนเทศจึงเกิดแนวคิดพัฒนาการรวบรวมข้อมูลที่เรียบง่าย สะดวก รวดเร็วไม่เป็นภาระของบุคลากรระดับพื้นที่ สามารถน่าข้อมูลไปประมวล ผลจัดทำรายงานให้เป็นสารสนเทศทางด้านสาธารณสุขได้ เซ่น ระบบตัวขี้'รัด, ระบบ R506, ตรวจสอบการส่งข้อมูล, ระบบ clinic มะเร็ง, Refer Center, ระบบ จัดการผู้เสียชีวิต (Death), EMR, ระบบรายงานกลาง, ตรวจสอบ 43 แฟ้ม online, สรุปการให้บริการทั้งจังหวัด เป็นต้น เมื่อมีการปรับระบบโปรแกรม NemoCare ทำให้เกิดการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระบบโรงพยาบาลไปสู่ ระบบ รพ.สต.โดยโปรแกรม NemoCare สามารถติดตั้งได้ทุกหน่วย หน่วยบริการ สาธารณสุขใด โดยติดตังในเครือง server ซึงเป็น intranet server แล้ว server จะทำงานส่งต่อข้อมูลเฉพาะที่ร้องขอโดยอัตโนมัติ ไปยัง internet server เพื่อ แสดงผลรายงานแบบ real tim e ซึ่งข้อ มูลที่ดีงเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล จะถูก เข้ารหัสจากตันทางไม1ให้ส ามารถอ่า นข้อ มูล ผู้ป ่วยได้จ นบัน ทึก ลงฐานข้อ มูล โดยที่ไม1มีก ารรบกวนการทำงานของระบบและไม1เพิ่ม ภาระงานใดๆ ให้ก ับ หน่วยบริการ แต่ในทางตรงข้ามบริการที่เข้าร่วมกลับได้รับผลงาน เซ่น รายงาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลการรับบริการที่คนในพื้นที่ไปรับบริการที่หน่วยบริการ อื่นระบบส่งต่อระบบระบาดวิทยาระบบรายงานกลาง ฯลฯในแบบ realtim e นอกจากนั้น ระบบนี้ย ังมีเครื่อ งมือ ให้ห น่ว ยบริก ารสามารถได้รายงานอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อระบบจัดการข้อมูลสุขภาพ คำสำคัญ: ระบบรายงาน, โปรแกรม NemoCare 94
วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
\ " jC T
1ปืกี่ 3 ฉบบที่ 1 qaiกบ 2558 - กันยายน 2559 / S iffiS
ความเบนมา และความสำคัญของฮญหา ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทและมีความ สำคัญกับงานทางด้านสาธารณสุขเป็นอย่างมากในการทำงานของโปรแกรมต่างๆ เพื่อ ประยุก ต์ใ ช้ก ับ การดำเนิน งานที่ม ีก ารแข้ง ขัน สูง การนำเอาเทคโนโลยี สารสนเทศเข้ามาใช้งาน เพื่อเป็นการเก็บบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวกับกิจกรรมและ ผลที่เกิดจากการทำกิจกรรมขององค์กรในอนาคตนำมาใช้ในการหาแนวทางใน การดำเนิน กิจ กรรมขององค์ก รในอนาคตส่ง ผลให้ข ้อ มูล และสารสนเทศ ถูก จัด เก็บ ในรูป แบบอิเล็กทรอนิกส์ ตัวอย่างเซ่น โรงพยาบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Hospital) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) สารเทศเพื่อการพัฒนา ด้านการศึกษา (e-Education) เป็นต้น จากแนวความคิดและปัญ หาที่พบส่งผลให้เกิดการนำเอาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ตามโรงพยาบาลต่างๆ ในรูป แบบโรงพยาบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Hospital) ซึ่งมีการนำโปรแกรมสำเร็จรูปมาให้บริการกับประซาซนที่มาใช้ บริการตามแผนกต่างๆ เรียกว่า ระบบสารสนเทศบริการสุขภาพโดยระบบมีการ จัด เก็บ ข้อมูล กิจกรรมประจำจัน ในฐานข้อ มูลที่เรียกว่า ฐานข้อมูลระบบงาน กิจกรรมประจำวัน (Operational Database System:ODS) แต่ปัญหาที่พบคือ มีการบันทึกข้อมูลลงคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของแต่ละโรงพยาบาล (Server) และ อีก ส่ว นส่ง ข้อ มูล จัด เก็บ ไปยังส่ว นกลาง (Data Center) ซึ่งทางสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ดทำระบบรายงานแต่ล ะครั้งจากระบบข้อมูล กลาง (Data Center) ประสบปัญหาล่าข้า ไม1ทันเวลาจากระบบดังกล่าวทำให้ทาง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ต้องขอรายงานต่างๆมายังหน่วยบริการ ยิ่งทำให้ข้อมูลล่าข้าและไม่เป็นไปตามรูปแบบเดียวกัน ดังนั้นจึงได้เกิดแนวความ คิดในการพัฒนาซอฟต์แวร์โดยประยุกต์สถาปัตยกรรม Database triggerให้ซื่อ ว่า NemoCare เพื่อให้!ด้ข้อมูลรายงานสรุปต่างๆ ในการติดตามกำกับตัวซี้วัด และผลงาน เซ่น ระบบ 43 แฟ้มตัวขี้'รัด หญิงตั้งครรภ์ได้รับ การฝากครรภ์ 95
T iC T I วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
1,ปืที่ 3 ฉบบที่ 1 qaifUJ 2558 - กินยไยน 2559 /
ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์, ความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูก, นัก เรีย นประถมศึก ษาปีท ี่ 1 ได้ร ับ การตรวจซ่อ งปาก เป็น ต้น โดยรายงานที่ไ ด้จ ะถูก จัด เป็น ระเบีย บโดยทำการสรุป หรือ ทำการประมวล ตามความต้องการและการน่าเสนอในรูปแบบที่เข้าใจง่าย
วัตถุประศงค์ เพื่อพัฒนาระบบรายงานทางด้านสาธารณสุฃฃองจังหวัดร้อยเอ็ด
กรอบแนวคิดในการศึกษา จากนโยบายการติดตามข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพเพื่อน่ามาใช้ ในการติดตามวางแผนดำเนินงานสาธารณสุข ระบบรายงานแต่ละครั้งจากระบบ ข้อมูลกลาง (Data Center) ประสบบีญหาล่าข้าไม่ทันเวลาจากระบบด้งกล่าว ทำให้ท างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ต้องขอรายงานต่างๆ มายัง หน่วยบริการยิ่งทำให้ข้อมูลล่าข้าและไม่เป็นไปตามรูปแบบเดียวกัน
วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยนี้มุ่งเน้นไปที่การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศข้อมูล ทางด้านสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อจัดทำระบบรายงานกลางทั้งจังหวัด โดยระบบทำการเชื่อมต่อข้อมูลงานประจำวัน จากฐานข้อมูล HIS ในโรงพยาบาล ทุก ที่เข้าสู่ฐ านข้อ มูล กลาง จากนั้น น่าข้อ มูล มาวิเคราะห์แ ละน่าเสนอข้อ มูล ผ่านทาง Web Application ภายใต้โปรแกรม NemoCare
วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
\ " jC T
1ปืกี่ 3 ฉบบที่ 1 qaiกบ 2558 - กันยายน 2559 / S iffiS
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใข้ในการรวบรวมข้อมูลมีดังนี้ โปรแกรมการ NemoCare ที่คณะผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบด้วย ระบบการติด ตามข้อ มูล ดัง นี้ ระบบระบาดวิท ยา (R506) ระบบทะเบีย น โรคเรื้อรังที่ส นใจ ทะเบียนมะเร็งหรือทะเบียนโรคที่ต้องการศึกษาการบัน ทึก ข้อมูลเดิม ๆ ซํ้าๆ และรายงานซํ้า ซ้อ นตรวจสอบการส่งข้อ มูล Electronic Medical Record (EMR) และ Refer Center
เนตอบการดำเนินการ 1. ประชุมทึมงานสารสนเทศและทึมงานเกี่ยวกับการพัฒนาโปรแกรม NemoCare เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 2. ศึกษากระบวนการเดิมอุปสรรคและบีญ หาที่พบจากการใช้ข้อมูล สารสนเทศ รวมถึง ระบบการติด ตามข้อ มูล และรายงานทาง ด้านสาธารณสุขต่างๆ ที่ใข้ในระดับโรงพยาบาล รพ.สต. และระบบ รายงานกลาง 3. ประชุม ตัว แทนเจ้า หน้า ที่จ ากหน่ว ยงานในโรงพยาบาลเพื่อ ขอ ข้อคิดเห็นในการใช้ระบบข้อมูลระบบรายงานและการติดตาม 4. พัฒนาระบบโปรแกรม NemoCare - ออกแบบระบบฐานข้อมูลมีข้อมูลที่เกี่ยวข้อง - ขั้นตอนการพัฒนาผู้วิจัยได้สร้างโครงสร้างฐานข้อมูลอันประกอบ ด้วยข้อมูลที่จำเปีนเพื่อสนับสนุนระบบสารสนเทศ - ขั้นตอนการน่าไปใช้หลังจากที่มีการพัฒนาโปรแกรมจนมีความ สมบูรณ์แล้ว ได้น่าระบบโปรแกรมให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบและ ปรับปรุงตาม
T iC T I วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
1,ปืที่ 3 ฉบบที่ 1 qaiFUJ 2558 - กินยไยน 2559 /
ข้อเสนอแนะ - ขั้นตอนการประเมินผลและติดตามเพื่อพัฒนาระบบ ว ิธ ีการวิเคราะห์ข้อมูล การศึก ษานี้ใซ้สถิติเซิงพรรณนาเพื่อสรุปข้อมูลจากการพัฒ นาระบบ โปรแกรม เซ่น ความรวดเร็ว ครบถ้วน ถูกต้องของระบบข้อมูลและรายงาน
ผลการศึกษา การศึก ษาครั้งนี้เป็น การศึก ษาผลของการพัฒ นาโปรแกรม NEMO มาใข้ในการดำเนิน งานตามระบบการติดตามข้อมูลและสารสนเทศสารณสุข ที่ใข้ในการปฏิบ ัต ิง าน โดยสามารถสรุป ผลเปรีย บเทีย บระบบงานเดิม และ ระบบงานที่พัฒนาจากการใช้โปรแกรม Nemocare ดังนี้ งาน - ระบบระบาดวิทยา
98
ระบบเดม
ระบบงานใหม่ (Nemocare)
- การสอบสวนโรคต้องมา ขอประวัติการรักษาที่สถาน พยาบาลที่ทำการรักษาและ หน่วยงานมีระบบการส่ง ข้อมูลทาง email ซึ่งทำให้ การประมวลผลแลรายงาน ผลส่าข้า - การส1งข้อ มูล ล1าซ้า เนื่องจากผู้รับผิดขอบติด ประขุมสัมมนา
- ผู้รับผิดขอบงานระบาด ประจำสถานพยาบาล สามารถตรวจสอบประวัติ การรักษา ผลการรักษา ของผู้ป่วยที่ได้ทันที โดย ผ่าน WEB Nemo และ ผู้รับผิดขอบระดับอำเภอ สามารถติดตามรายงาน โรคระบาดในระดับอำเภอ ได้ตลอดเวลา
วารสารวิช าการเทคโนโลยีa is a u in n a u n 11*1 \
ปืที 3 นิบันที 1 qลาทบ 2358 - กันยายน 2559
งาน
ระบบเดิม
ระบบงานใหม่ (Nemocare)
- ในกรณีที่ต้องส่งข้อมูล ให้จ ังหวัด ผู้รับ ผิด ชอบ สามารถส่งข้อมูลได้ทุกที่ ที่มี Internet และสามารถ ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนทันเวลาไต้เลย - ระบบทะเบียนโรคเรื้อรัง - ม ีก ารรายงาน โรค - มีการรายงานโรคที่ไม1 ที่ซํ้า'ซ้อน ซํ้าซ้อนโดยยึดจากจันที่ ที่สนใจ - เมื่อผู้ป่วยคนเดียวกันไป วินิจฉัยวันแรกเป็นหลัก รับบริการหลายๆโรงพยาบาล ไม1ว่า Pt จะรับบริการที่ใด ในจังหวัด - ผลชันสูตรที่น่าสนใจ ตรวจสอบได้แค1ภายใน สถานพยาบาล เซ่น นํ้าหนัก, BMI, bun, bholesterol, creatinine, ckd, egfr, fbs, bp, hbalc เป็นต้น - ไม1สามารถตรวจสอบ ประวัติการให้ยาจากสถาน พยาบาลอื่น - ไม1สามารถตรวจสอบไต้ ว1า Pt ไปรับบริการจาก สถานพยาบาลใด จาก สาเหตุอ ะไรในกรณีท ี่ ต้องการดูแลรักษาต่อเนื่อง
- สามารถตรวจสอบ นํ้าหนัก, BMI, bun, bholesterol, creatinine, ckd, egfr, fbs, bp, hbalc ผู้ป่วยทุกคนว่าเคยไปรับ บริก ารที่ไ หนผลเป็น อย1างไรได้ย้อนหลัง 20 visit - สามารถตรวจสอบ รายการยาและวิธีการใช้ จากสถานพยาบาลอื่น - สามารถตรวจสอบได้ว่า Pt ไปรับบริการจากสถาน พยาบาลใดบ้างด้วยสาเหตุ หรือโรคใดและสถานพยาล อื่น ดูแลรักษาอย1างไร 99
iC T
S9G S
jC T
BSBB
01ร ส !ร ว ิช !ก 1รเทคโนโลยีส ารสนเทคสุขภ™ ปืกี 3 นับบท 1 ตุล1คม 2558 - ทนยไยน 2559
งาน
ระบบเดิม
- ทะเบีย นมะเร็ง หรือ ทะเบีย นโรคที่ต ้อ งการ ศึกษา
- ไม่สามารถรวบรวมฐาน ข้อ มูล ของกลุ1มโรคที่ ต้องการศึกษาได้อย่างทัน ใช้และข้อมูลที่ได้มีการซํ้า ซ้อน
- การบันทึกข้อมูลเดิมๆ - ปัจ จุบ ัน มีโ ปรแกรม ซํ้าๆ และรายงานซํ้าซ้อน สำเร็จรูปจำนวนมากที่ส่วน กลางได้ออกแบบมาให้ผู้ใข้ งานบันทึกข้อมูล ที่มีอยู่ใน ระบบของสถานพยาบาล อยู่แล้ว อีกทั้งผ่าน App ผ่าน WEB ทำให้เกิดภาระ งานเพิ่มและผู้บันทึกและ ส1วนกลางไม1ได้มีกลไก ในการนำข้อมูลที่บันทึกมา ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ ดูแลรักษาผู้ป่วย และยังมี การทวงสถิติรายงานจาก หน่วยบริการอีกครั้งทั้งที่ บันทึกผ่านระบบไปแล้ว เซ1น สถิติรายงานราย 3 เดือนพอสิ้นบี ก็ร ้อ งขอ มายัง หน่ว ยบริก ารอีก หรือรายงานรายบีทุกๆปี 100
ระบบงานใหม่ (Nemocare) เพื่อดูแลรักษาได้อย่าง ต่อเนื่อง - สามารถรวบ รวม ทะเบีย นโรคที่ส นใจได้ ทันทีที่แพทย์วินิจฉัยโรค และประมวลผลจาก CID และรันแรกที่มีการวินิจฉัย ทำให้ทราบว่า Pt เป็นโรค นั้นๆ ตั้งแต่เมื่อไหร่ - รวบรวมสถิติรายงาน หรือข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ใน ระบบอยู่แล้ว เพื่อจัดทำ ฐานข้อมูลกลาง Data Center และให้หน่วย บริการสามารถตรวจสอบ ข้อมูล และแกิไขข้อมูลของ ตัวเองไดืโดยไม'มีข้อจำกัด ด้านระยะเวลา และบันทึก ข้อมูลที่เดียวเฉพาะใน HIS ของหน่วยบริการ ระบบ โปรแกรมจะรวบรวบผล งานไปส1วนกลางเอง อัตโนมัติ และเอาข้อมูล แต่ละหน่วยบริการมาคืน ข้อมูลให้เพื่อน่าข้อมูลไป ดูแลรักษาผู้ป่วยต่อเนื่อง เซ1น รายการแพ'ยา การตรวจ LAB ที่สำคัญ
วารสารวิช าการเทคโนโลยีa is a u in n a u n 11*1 \
ปืที 3 นิบันที 1 qลาทบ 2358 - กันยายน 2559
งาน
ระบบเดิม ก็จะขอย้อนหลังอีก 3 ปี เซ่นเดิม
ตรวจสอบ 43 แฟ้ม
- ระบบเดิมทั้งจังหวัดไม1 สามารถตรวจสอบและ ติดตามข้อมูล 43 แฟัม ได้เนื่องจากถูกส1งเข้าสู1 ระบบข้อมูลกลางและทราบ เมื่อมีการายงานผลกลับ - Electronic Medical - ไม1สามารถตรวจสอบ การรักษาพยาบาลข้าม Record (EMR) สถานพยาบาลได้ หรือ ได้แต่ข้า
ระบบงานใหม่ (Nemocare) ข้อมูลการรับยาในอดีต ข้อมูลการส่งต่อ การขึ้น ทะเบียนโรคเรื้อรัง การฉีด วัคซีน การฝากครรภ์ การคลอด สาเหตุการ เสียชีวิต หรือตาม KPI ที่ส่วนกลางกำหนด หรือ ที่หน่วยบริการต้องการ เพื่อเอาข้อมูลไปประกอบ การดูแลรักษาผู้ป่วย - Nemocare ซ่วยให้ สามารถตรวจสอบข้อมูล กํอนส่งเข้าสู1ระบบกลาง ทำให้สามารถตรวจสอบ และปรับปรุงข้อมูลให้ถูก ต้องสมบูรณ์ได้ - สามารถตรวจสอบ ประวัติการรักษา Pt จาก สถานยาบาลอื่นได้ โดย ต้องเป็นสมาซิกที่ผ่านการ ยืนยันตัวบุคคลกํอนเพื่อ เชื่อมโยงข้อมูลการรักษา พยาบาลไวิให้ผู้ให้บริการ ได้มีไว้ตัดสินใจในการดูแล รักษาที่ต่อเนื่องยิ่งขึ้น
101
iC T
S9G S
iC T
วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
เ ร แ ส ิ 1,ปืที่ 3 ฉบบที่ 1 qaifUJ 2558 - กินยไยน 2559
งาน Refer Center
ระบบเดิม - ระบบเดิมใช้รายงาน ตอบกลับการส1งต1อเป็น กระดาษทั้งจาก รพซ. ถึง รพท. และ รพ.สต. ทำให้ ข้อมูลล่าช้าและไม่ครบถ้วน
ระบบงานใหม่ (Nemocare) - มีร ะบ บ คืน ช้อ ม ูล online โดยสถานบริการที่ ส1งต1อ สามารถเรียกดู ข้อมูลการตอบกลับล่งต่อ จากระบบ Refer Center ใน Nemocare โดยการ ค้นจาก เลขที่บัตรประซาซน ซึ่งส1งผลให้เกิด ความ รวดเร็ว และครบถวน หน1วยบริก ารสามารถ ติดตามข้อมูลผู้ป่วยได้ง่าย
ตัวอย่างระบบโปรแกรมเพื่อการใช้งาน โปรแกรมการแสดงผล
คำอธิบาย
ข้อมูลการให้บรการรายวัน
102
วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
\
ปืกี่ 3 ฉบับที 1 qaiคม 2558 - กันยายน 2559 /
โปรแกรมการแสดงผล
คำอธิบาย
ค^^ ทญํงก]ค::ริไริทิ!ทา:ฝากร::ริท:]น:กก่ราเทาอเท่'
2,772.0»
1,445.00
06/06/2559,01:01
หญ่งกงกทริไริ?บกา;ฝากก;;ริก:น 5 รเงก]ฆ™
2,940.00
1,375.00
06/06/2559,01:02
1,518.0»
09/03/2559,06:33
352,135.00
06/06/2559,01:05
4,539,732.00 311,507.00
22/02/2559,14:02
พ้น!:ทฟ ;:ทนศํกนาไเท 1ไร่?บกา!ก!™ ช่ทงปาก เทนทะป::ซาซนทานท'ฬ a 35ปีขนไป'ไร่!นกา;Hf
าะกาานร่าเไททํก 0.00
กั«ส่1า|กา:ไ«น?กา:ทาเน่ายน?กา:ปรน®»aam;1iiu?m;1:งพทนาก
ระบบตัวขึวัด
&เทาคา!ร้น'น?กแ-1ไนโร™ทานากร่ว0ไ:แห่* ทัก:าคา;!ขไา!กนาไแโ!]พยาบาท ร่านโ!กเนาาทาขทนํทาาะเ
โปรแกรมการแสดงผล
พญิง$0ดรรภ์ใด้&]ภารฝากดรรภ'ด?งแรกก่อนหรั๋aเห่า/ft] 12 สืปดาห'
ง :2558-10ผ ่2559-06 ซมัเท: 11ญุ่]ก]ก::ริไร่?บกา:ฝากก::ริก:]น:กกอนพ:ทเทากัน 12 ร้ปการ่ เยาทมาย
ผกงาน
ๆ^
40
ฃทนนก่น
0.00
0.00
0.00
□
9.00
6.00
66.67
2
-« -™ รอรเอั๋ท
2,233.00 1,21300
54.32
3
กาฟ้ร่ข4
10.00
5.00
50.00
so " 25
,
III
■---------^
-------5^7*----------•
ระบบตัวขี้วัด
รรเอียดรงพร(เนยกรายเทอื น
2558-10
192.00
2558-11
176.00
2558-
12
2559-
01
2559-02
คำอธิบาย
186.00 147.00
103
iC T
S iffiS
a ไรสาร๐ ชาทารเทท!น!ลยีส ารสนเทคสุข ภาท
ปืท 3 ฉบบท 1 ตฺลๅคม 2558 - กินร'เยน 2559
โป รแ ก รม ก า รแ ส ด งผ ล
คำอธิบ าย
งะฒรฒทน R506 ฒท™™ไฒาโเ™า!ทแ อำเภอพนมไพรวันฟ้: C
I ยอนกรับ
i ส่ง ออก R506
i ยก!ริก การส่งออก
ทราฟนสทงนนททานรหัสสทาน!เปีามาร
รรายป้อ ฬํ่ส ่ง ออก
พ ่ท ฬ O' Of 2539 - 06/06 2330
รอส่ง = 19 fill ส่งออกนส่า = 16 คน รน้ส่
สถานพยาบาล
05145
บานนาชม ฅ่าบลนสนสุข
1
05146
แสนสุข บานคอนนคง พ ุ่ท ึ๋ 13
2
05147
บานกุดนาใส ตำบลกุดนาใส
1
05148
บานทนองทัพไทย ด่าบลทนองทัพไทย
3
05153
บานโพธชัย ค่าบฝ็โพธชัย
1
05154
นานวล บานนานาล ฒ ุ่ท ึ่ 12
1
05155
ฅ ่ไ ฮ บานค่าไส พ ู่ท ี๋ 01
3
05156
สระแกว บานสระแกว ฒ ู่ท ึ๋ 03
1
05158
ชานุว รรณ บานดาลา ทมู่ฬี 04
2
11065
พนมไพร
19
104
ส่า !ทน
05145 05146 ■ 05147 I 05148 ^■ ■ 3 05155
โ
ะบบระบาดวิทยา
105
106
วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
\
ปืกี่ 3 ฉบับที 1 qaiคม 2558 - กันยายน 2559 /
กาพแศดงแผนผังภาพรวมกระบวนการทำงานของระบบโปรแกรม NEMO
ภาพที่ 9 ภาพแสดงแผนผังภาพรวมกระบวนการทำงานของระบบโปรแกรม NEMO
ผลของประสิทธิภาพจากโปรแกรมโดยการประเมินข้อมูลในระบบ โปรแกรม NemoCare ทำให้เกิดการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระบบโรงพยาบาลไปสู่ระบบ รพ.สต. ซึ่งช่วยให้การรวบรวมและการติดตามข้อมูล และระบบรายงานมีความสะดวกง่าย และรวดเร็วไม่เป็นภาระของบุคลากรระดับ พื้น ที่ ซึ่ง โปรแกรมสามารถน่า ข้อ มูล ไปประมวลผลจัด ทำรายงานให้เป็น สารสนเทศทางด้านสาธารณสุฃที่ต้องการใข้ประโยซน่ได้ เช่น ระบบตัวขี้'รัด, ระบบ R506, ตรวจสอบการส่งข้อมูล, ระบบ clinic มะเร็ง, Refer Center, ระบบจัดการผู้เสียชีวิต(Death), EMR, ระบบรายงานกลาง, ตรวจสอบ 43 แฟ้ม online,สรุปการให้บริการทั้งจังหวัด เป็นต้น โปรแกรม NemoCare สามารถติดตั้งได้ทุกหน่วยบริการสาธารณสุขใด โดยติดตั้งในเครื่อง server ซึ่งเป็น intranet server แล้ว server จะทำงาน ส่งต่อข้อมูลเฉพาะที่ร้องขอโดยอัตโนมัติไปยัง internet server เพื่อแสดงผล รายงานแบบ real tim e ซึ่งข้อ มูล ที่ด ึงเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล จะถูก เข้ารหัส 107
iC T
S iffiS
T iC T I วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
1,ปืกี่ 3 ฉบบที่ 1 qaiFUJ 2558 - กินยไยน 2559 /
จากต้นทางไม่ให้สามารถอ่านข้อมูลผู้ป่วยได้จนบันทึกลงฐานข้อมูล โดยที่ไม่มี การรบกวนการทำงานของระบบ และไม่เพิ่มภาระงานใดๆ ให้กับหน่วยบริการ แต่ในทางตรงข้าม หน่วยบริการที่เข้าร่วมกลับ ได้รับ ผลงาน เซ่น รายงานผล การวิเคราะห์ข้อมูลผลการรับบริการที่คนในพื้นที่ไปรับบริการที่หน่วยบริการอื่น ระบบส่งต่อ ระบบระบาดวิท ยาระบบรายงานกลางฯลฯ ในแบบ real tim e นอกจากนั้น ระบบนี้ ยังมีเครื่อ งมือ ให้ห น่ว ยบริก ารสามารถได้รายงานอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อระบบจัดการข้อมูลสุขภาพ
อภิปรายผลการวิจัย โปรแกรม NemoCare สามารถติดตั้งได้ทุกหน่วยบริการสาธารณสุขใด โดยติดตั้งในเครื่อง server ซึ่งเป็น intranet server แล้ว server จะทำงาน ส่งต่อข้อมูลเฉพาะที่ร้องขอโดยอัตโนมัติไปยัง internet server เพื่อแสดงผล รายงานแบบ real tim e ซึ่งไม1มีก ารรบกวนการทำงานของระบบ และ ไม1เพิ่มภาระงานใดๆ ให้กับ หน่วยบริการมีความสะดวกในการติดตามข้อมูล ที่จำเป็นต่อระบบระบบงานสาธารณสุข
สรุปผลการวิจัย 1. การพัฒ นาระบบโปรแกรม NemoCare สามารถเป็นเครื่องมือ ช่วยเพิ่มความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ช่วยในการติดตามผลการ ดำเนินงาน พร้อมทั้งยังใช้ข้อมูลสารสนเทศที่ได้ในการตัดสินใจและวางแผนงาน ให้สามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. การพัฒ นาโปรแกรม NEMO เพื่อสะท้อนผลการปฏิบัติงานตาม นโยบายสาธารณสุขด้านต่างๆ เช่น ตรวจสอบ 43 แฟ้ม online, สรุปการให้ บริก ารทั้ง จัง หวัด โดยผู้บ ริห ารสามารถเข้า ถึง ข้อ มูล และตรวจสอบได้แ บบ real time 108
วารสารวิช าการเทคโนโลยีส ารสนเทศสุข ภาพ
\ " jC T
1ปืกี่ 3 ฉบบที่ 1 qaiกบ 2558 - กันยายน 2559 / S iffiS
ข้อเสนอแนะ?นการนำระบบโปรแกรม?ป?ข้ 1. สามารถใช้เป็น โปรแกรมติด ตามข้อ มูล และรายงานทางด้า น สาธารณสุข แก่บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับทั้งใน รพ.สต. รพซ. และ รพท. รวม ทั้งผู้กำกับติดตามผลงานในระดับจังหวัด 2. ฃ้อดีของโปรแกรมที่ได้พัฒ นาฃึ้นนี้และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ ข้อมูล สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ร่วมกันในการบริหารจัดการและวางแผน พัฒนางานสาธารณสุข
109