Zen And The Art Of Seeing

  • Uploaded by: นายกะเหรี่ยง
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Zen And The Art Of Seeing as PDF for free.

More details

  • Words: 1,416
  • Pages: 13
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

User Name

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ > RPST-Digital School > Digital ClassRoom +++ Zen and The Art of Seeing +++ Register

FAQ

กระทูเกา

Members List

Remember Me?

User Name

Password

Calendar

Page 1 of 13

Log in

Today's Posts

Search

Page 1 of 2 1 2 > Thread Tools

Search this Thread

20-10-2004, 05:49

#1 Join Date: Oct 2004 Location: 2,300 Metres above Sea Level Posts: 82

Super Angulon

Member

+++ Zen and The Art of Seeing +++

ศิลปะการถายภาพแบบเซน “All that photography’s program of realism actually implies is the belief that reality is hidden. And, being hidden, is something to be unveiled.” Susan Sontag, On Photography Ansel Adams เคยกลาวไววา ตนเองรูสึกพอใจแลวหากวาสามารถสรางภาพที่ดีไดปละ 12 ภาพ ตัวเลข จํานวนนี้ดูเหมือนจะเปนการถอมตัวมากสําหรับผูที่ไดชื่อวาเปนศิลปนภาพขาวดําที่ยิ่งใหญที่สุดคนหนึ่ง แต อยาลืมวาพวกเราสวนมากมักจะผิดหวังกับภาพถายของตัวเองอยูเสมอ โลกภายนอกชางงดงามแตภาพถาย นั้นกลับตรงกันขาม มีเหตุผลที่ดีพอที่จะอธิบายความลมเหลวอันนี้ได โดยทั่วไปเราจะถายภาพซับเจ็คที่เปน 3 มิติ และเคลื่อน ไหวได และเรามองภาพโดยวิธีกวาดสายตาไปมามากกวาจองมองที่จุดใดจุดหนึ่งนิ่งๆ แตสิ่งที่เลนสถายภาพ สามารถบันทึกไดนั้นเปนเพียงภาพ 2 มิติ ที่ถูกบันทึกในเสี้ยวนาทีหนึ่งดวยฟลมชนิดหนึ่ง ฟลมและตาของ เราจึงมองภาพไดไมเหมือนกัน การคาดคะเน(Pre-Visualization)ในสิ่งที่ฟลมมองเห็นนั้นไมใชเรื่องงาย และ ที่ยากกวานั้นก็คือสิ่งที่ Susan Sontag ไดกลาวไว นั่นคือ “ความเปนจริง” ถูกซอนเรนจากสายตาของเรา ตั้งแตแรกเริ่ม ทําไมการมองเห็นอยางถองแทนั้นชางยากเย็นนัก สาเหตุมาจากความจริงที่วา เรามองสิ่งตางๆรอบตัวเรา ดวย “สมอง” มากกวาดวย “สายตา” และเพื่อใหเขาใจเรื่องการมองเห็นเราตองมาทําความเขาใจเรื่องการทํา งานของสมองเสียกอน สมองของคนเราแบงเปน 2 ซีก คือสมองซีกซายและสมองซีกขวา โดยทั้งสองซีกถูกเชื่อมตอกันดวยโครง

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

Page 2 of 13

ขายเสนประสาทที่เรียกวา “Corpus Callosum” ซึ่งทําใหสมองทั้งสองซีกสามารถติดตอสื่อสารกันได สมอง ทั้งสองจะทํางานเปนอิสระตอกัน มีวิธีการคิดและประมวลผลขอมูลแตกตางกันอยางสิ้นเชิง สมองซีกซาย (L-Mode) จะทําหนาที่เกี่ยวกับภาษาถอยคํา การวิเคราะหคํานวณ การคิด และควบคุมการ เคลื่อนไหวของรางกายซีกขวา ตอไปนี้เราจะเรียกมันวา “สมองดานเทคนิค” เพราะเราใชสมองซีกนี้จัดการ ทางดานเทคนิคตางๆที่ใชในการถายภาพ เชนคํานวณคาแสง หาเวลาลางฟลมที่เหมาะสม สวนสมองซีกขวา (R-Mode) ประมวลผลขอมูลทางดานองครวม การรับรู สัญชาตญาณ จินตนาการ ความ คิดสรางสรรค และควบคุมการเคลื่อนไหวของรางกายซีกซาย เราจะเรียกมันวา “สมองดานสรางสรรค” เพราะมุมมองที่สรางสรรคนั้นเกิดจากสมองซีกนี้ โดยสวนมากสมองทั้งสองซีกจะทํางานแทรกแซงซึ่งกันและกันมากกวาที่จะทํางานเสริมกัน สมองซีกหนึ่งมัก จะโดดเดนกวาอีกซีกหนึ่งเสมอ และสวนใหญสมองดานเทคนิคจะโดดเดนกวาดานสรางสรรค ซึ่งเปนผลมา จากวัฒนธรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลแผขยายไปทั่วโลก (หมายถึงทัศนคติแบบไอแซค นิวตัน ซึ่งเปนแนวคิด แบบแยกสวน เปนกลไก และเปนรากฐานของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ผูสนใจสามารถอานเพิ่มเติมไดจาก หนังสือชื่อ “จุดเปลี่ยนแหงศตวรรษ” โดย ฟริตจอฟ คาปรา สํานักพิมพโกมล คีมทอง เปนผูพิมพฉบับภาษา ไทย – ผูเรียบเรียง) Attached Images

20-10-2004, 05:54

Super Angulon http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

#2 Join Date: Oct 2004 Location: 2,300 Metres above Sea Level

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

Member

Page 3 of 13

Posts: 82

สังคมตะวันตกจะใหความสําคัญกับระบบเหตุผล และการวิเคราะหคํานวณมากกวาสัญชาตญาณ ความรูสึก นึกคิด และเรื่องทางจิตวิญญาณ นักวิทยาศาสตรจะสนใจเฉพาะสิ่งที่สามารถวัดออกมาเปนปริมาณไดเทานั้น เรื่องราวทางดานอารมณ ความรูสึกนึกคิด และจิตวิญญาณจึงถือวาไมเปนวิทยาศาสตรเพราะไมสามารถวัด ปริมาณออกมาไดและเปนเรื่องที่ไมแนนอนซึ่งขึ้นอยูกับประสบการณของแตละบุคคล หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือสังคมตะวันตกจะใหความสําคัญกับสมองดานเทคนิคมากกวาดานสรางสรรค นั่นเปนเรื่องนาเศราเพราะมี บอยครั้งที่สมองดานสรางสรรคสามารถแกปญหาที่ซับซอนไดดีกวาสมองดานเทคนิค มีเรื่องราวมากมาย เกี่ยวกับการที่นักวิทยาศาสตรสามารถแกปญหาหรือสมการทางคณิตศาสตรในขณะกําลังฝน ทําสมาธิ หรือ เดินเลนตามชายหาด คําตอบมักจะเขามาในหัวของเขาเองโดยที่เขาไมไดคิดถึงปญหานั้นๆเลยดวยซ้ํา และดวยเหตุวาสังคมไทยไดละทิ้งภูมิปญญาตะวันออก และหันไปตามกนฝรั่งกันหมด จึงทําใหวิธีคิดแบบ ตะวันตกดังกลาวแทรกซึมอยูในตัวเรา โดยแมกระทั่งตัวเราเองก็อาจจะไมรูที่มาที่ไป ระบบการศึกษาใน โรงเรียน(ซึ่งเปนผลมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมเชนกัน)ก็ไมไดสงเสริมใหมีการแกไขปญหาอยางสราง สรรคเลย นักวิทยาศาสตรคนพบวาสมองดานเทคนิคนั้นมักจะตีตราสิ่งตางๆออกมาเปนถอยคําเสมอ (“ชอน”, “โตะ”, “ปากกา”) ในขณะที่สมองดานสรางสรรคจะไมสามารถบอกชื่อของสิ่งตางๆได แตสามารถบงบอกลักษณะ รายละเอียดของสิ่งตางๆได ตัวอยางการทํางานของสมองทั้งสองดานก็เชน ในโรงเรียนเราเรียนวิชาพฤกษศาสตร เรียนการจําแนกแยก แยะพืชตางๆโดยดูจากลักษณะพื้นฐานของพืชนั้นๆแลวใหชื่อมันตามสกุล ตามวงศ นั่นคือเราพากันตั้งชื่อให พืชตางๆแลวก็ลืม “ความเปนพืช” ชนิดนั้นไป สมองดานเทคนิคไมไดสนใจวาพืชชนิดนั้นมีรูปรางหนาตาหรือ ลักษณะเดนเปนอยางไร เพราะมันรูจักพืชชนิดนั้นแลว(โดยการตั้งชื่อ - มันสามารถเรียกชื่อพืชชนิดนั้นถูก ตองก็แสดงวามันรูจักพืชชนิดนั้นแลว) สวนสมองดานสรางสรรคนั้นจะรูถึงลักษณะรายละเอียดของพืชชนิด ตางๆดี แตมันก็ถูกสมองดานเทคนิคครอบงําเอาเสีย จึงทํางานไดไมเต็มที่ การถายภาพ การวาดภาพ และดนตรี จะเกี่ยวของอยูกับการรับรู ความคิดสรางสรรค และการจัดการทางดาน รูปแบบเพื่อใหผลลัพธที่ไดสามารถตอบสนองอารมณความรูสึกของศิลปนได นั่นคือศิลปะเปนเรื่องราวของ สมองดานสรางสรรคเสียสวนมาก โดยใชสมองดานเทคนิคเพียงเล็กนอย เปนที่นาสังเกตวาศิลปนถายภาพ ดังๆ หลายทานก็มีพื้นฐานทางดานดนตรีมากอน ไมวาจะเปน Ansel Adams หรือ Ernst Haas สาเหตุที่พวกเราสวนมากไมเคยเขาถึง “ความเปนจริง” ตามที่ Susan Sontag ไดกลาวไว สามารถแจกแจง ไดดังนี้ 1. เรา “มอง” ดวยสมอง(ดานเทคนิค)มากกวาดวยสายตา 2. สิ่งที่เราคาดหวังวาจะไดเห็นถูกใหความสําคัญมากกวาลักษณะของซับเจ็คที่เปนอยูจริงๆ 3. เรามักจะคิดวาเรารูจักบางสิ่งบางอยางในทันทีที่เราตั้งชื่อใหกับมัน Kozloski บอกวา “ภาษานั้นแยก มนุษยออกจากความเปนจริง” Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

20-10-2004, 05:58

Super Angulon

Member

Page 4 of 13

#3 Join Date: Oct 2004 Location: 2,300 Metres above Sea Level Posts: 82

เราจะทําใหสมองดานสรางสรรคโดดเดนขึ้นมาไดอยางไร? เราจะเขาถึง “ความเปนจริง” ไดอยางไร? เราจะ สามารถเลือกใชสมองทั้งสองดานตามที่ตองการไดหรือไม? เราลองมาฟงคําแนะนําของบุคคลที่ไดชื่อวามี ความคิดสรางสรรคยอดเยี่ยมกันกอน #Andrew Wyeth: “ผมอยากใหตัวเองสามารถวาดภาพไดโดยไมมีตัวผมอยู ใหมีแตมือของผมอยูตรงนั้น ก็พอ” #Minor White: “จิตใจของชางภาพขณะที่กําลังถายภาพนั้นตองวางเปลา คุณตองดําดิ่งเขาไปอยูในทุก สิ่งทุกอยางที่คุณเห็นเพื่อที่คุณจะไดรูจักและเขาถึงสิ่งนั้นอยางแทจริง” #Richard Hittleman: “จะไมมีสิ่งที่ถูกเห็นและผูที่มองเห็นมัน ทั้งสองสิ่งนี้เปนหนึ่งเดียวกัน” # Susan Sontag: “Cartier-Bresson มักคิดวาตัวเองเปนนักยิงธนูแบบเซนผูซึ่งจะตองทําตัวเปนเปาเพื่อ จะยิงใหถูกเปา คุณตองคิดกอนหรือหลังจากที่คุณกําลังถายภาพ ไมใชคิดขณะถายภาพ” #Henri Cartier-Bresson: “ผมพบวาคุณตองทําตัวใหพลิ้วเหมือนปลาในน้ํา คุณตองลืมตัวเองเสีย แน

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

Page 5 of 13

นอนวามันตองใชเวลา การวาดภาพนั้นทําไดชา แตมันก็เหมือนกับการทําสมาธิในแงที่วาคุณตองเรียนรูที่จะ ทําอยางชาๆเพื่อที่จะไปอยางรวดเร็ว ความชาอาจหมายถึงความยิ่งใหญได” #Wynn Bullock: “ผมไมตองการบอกวาตนไมมีลักษณะเชนไร ผมตองการใหมันบอกบางสิ่งแกผม และ ใหมันแสดงถึงความหมายของมันในธรรมชาติผานทางตัวผม” #Ernst Haas: “I am not interested in shooting new things – I am interested to see things new. ” #Paul Strand: “สําหรับคนที่สามารถมองเห็นไดอยางแทจริงแลว ภาพถายของเขาก็เปรียบเหมือนบันทึก ชีวิตของตัวเขาเอง คุณอาจจะมองเห็นหรือไดรับอิทธิพลจากผูอื่น หรือแมกระทั่งอาศัยผูอื่นในการคนหาตัว เอง แตถึงที่สุดแลวคุณก็ตองเปนอิสระจากคนเหลานั้น เหมือนกับที่ Nietzscheไดพูดวา “ผมไดอานหนังสือ ของ Schopenhauer จบแลว และถึงเวลาแลวที่ผมตองกําจัดเขาออกไป” เขารูดีถึงอันตรายที่แฝงอยูใน ความคิดเห็นของผูอื่นโดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่มีประสบการณที่ลึกซึ้งถาคุณปลอยใหเขาเหลานั้นมาคั่นกลาง ระหวางตัวคุณและมุมมองของคุณ ” Attached Images

20-10-2004, 06:01

Super Angulon

Member

#4 Join Date: Oct 2004 Location: 2,300 Metres above Sea Level Posts: 82

แลวก็มาถึงปญหาที่ยากกวานั่นคือ เราจะเอาเทคนิคและความคิดสรางสรรคในการถายภาพมารวมกันได อยางไร ผมพบวาวิธีที่ดีที่สุดคือ การทําความเขาใจเทคนิคการถายภาพใหถองแท เพื่อวาเราจะไดไมตอง อาศัยสมองดานเทคนิคขณะถายภาพมากนัก ผมขอเสนอวิธีการดังนี้

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

Page 6 of 13

1. อยาพูดคุยขณะถายภาพ ถาเปนไปไดใหออกถายภาพคนเดียวตามลําพัง 2. มองฉากหลังของภาพใหเปนรูปรางที่อยูรอบๆซับเจ็ค และใหความสนใจกับรูปรางของเงาใน ภาพเปนพิเศษ สมองดานเทคนิคจะเบื่อกับการมองเชนนี้ และจะปลอยใหคุณอยูกับสมองดานสราง สรรคตามลําพัง 3. อยาคิดในขณะถายภาพ ปลอยใหจิตใจของคุณวางเปลาและซึมซับกับซับเจ็คของคุณใหมากที่ สุด 4. และเพราะวาสมองดานสรางสรรคควบคุมการเคลื่อนไหวของรางกายซีกซาย ฉะนั้นพยายามถือ กลองหรือสายลั่นชัตเตอรดวยมือซาย 5. สมองดานเทคนิคจะรูสึกสับสนกับภาพสะทอน เชนภาพสะทอนผิวน้ําหรือสะทอนกระจก เพราะ ฉะนั้นถาเปนไปไดใชภาพสะทอนเหลานี้ใหเปนประโยชน 6. ฝกทําสมาธิเพื่อทําใหจิตใจสงบและทําใหจิตใจแนวแน 7. พยายามศึกษาและชมภาพวาดหรือภาพถายของศิลปนที่คุณชื่นชอบหรือที่มีชื่อเสียง โดย เฉพาะผูที่มีสมองซีกขวาทํางานไดยอดเยี่ยม (สมองดานความคิดสรางสรรค) 8. พยายามใชการอุปมาอุปไมยในการสื่อความหมาย เชน การเลียนแบบกิริยาทาทางของมนุษย ในสัตวบางประเภท การใชดอกทานตะวันแทนพระอาทิตยขึ้น (Edward Weston ชํานาญมากใน การถายภาพลักษณะนี้) 9. ตองมีความอดทน ในขณะที่คุณขับรถหรือนั่งในรถคุณจะพลาดภาพที่ดีไปมาก แตถาคุณเดิน คุณจะมีโอกาสพบภาพที่ดีมากกวา 10. พยายามฝกฝนเรื่องทางดานเทคนิคตางๆใหคุณคุนเคยกับมันจนกระทั่งสามารถทํามันไดอยาง รวดเร็ว ทําทุกอยางดวยวิธีการเดียวกันตามลําดับขั้นตอนที่แนนอน และฝกจนคุณสามารถทํามัน ไดโดยไมตองใชความคิด ตัวอยางเชน ผมจะวัดแสง, ขึ้นชัตเตอร, ตั้งคารูรับแสงและความเร็ว ชัตเตอร, ใสโฮลเดอรฟลม, ดึงแผนสไลดกั้นแสงออก, กดชัตเตอร, ใสแผนสไลดกลับที่เดิม ทํา เชนนี้ทุกครั้งจนกลายเปนเรื่องอัตโนมัติ และเมื่อถึงเวลาที่ตองใชความคิดสรางสรรคคุณก็จะจดจอ อยูกับมันมากกวาที่จะมัวคิดเรื่องวิธีการใชอุปกรณ 11. ใชกลองวิวถายภาพ การมองเห็นภาพหัวกลับนั้นชวยคุณไดจริงๆ เพราะมันจะทําใหสมองดาน เทคนิคทํางานไดไมดี (Ansel Adams เคยกลาวถึงขอดีขอนี้ของกลองวิวดวย และHenry Cartier Bresson ไดใชปริซึมติดเพิ่มเขาไปในกลอง35mm เพื่อจะไดมองเปนภาพหัวกลับ) 12. ถายภาพใหชาลง ทําทุกอยางที่จําเปนเพื่อใหสมองดานสรางสรรคทํางานไดดีขึ้น มองภาพที่ คุณจะถายในรูปของ Tone Shape และ Space 13. ปลอยใหสมองดานสรางสรรคทํางานจนกระทั่งรูสึกวาภาพนั้นจัดองคประกอบดีแลว ตัวคุณจะรู เองวาภาพนั้นดีพอหรือยัง และความเรนลับก็จะเกิดขึ้นเมื่อทุกสิ่งทุกอยางมาบรรจบกัน มันเปนเรื่อง ทางจิตวิญญาณมากกวาที่จะบรรยายออกมาเปนภาษาได 14. หลังจากนั้นก็ไมใชเรื่องยาก เปลี่ยนมาใชสมองดานเทคนิคชั่วคราว วัดแสง, ขึ้นชัตเตอร, ตั้ง คารูรับแสงและความเร็วชัตเตอร, ใสโฮลเดอรฟลม, ดึงแผนสไลดกั้นแสงออก, กดชัตเตอร สําหรับผูใชกลอง 35mm นาจะสังเกตเอาไววา เดี๋ยวนี้บรรดามืออาชีพหันมาใชกลองที่มีระบบบันทึกภาพ แบบอัตโนมัติมากขึ้น เพราะทําใหเขาไมจําเปนตองคิดมากเรื่องคาแสง เขาปลอยใหกลองจัดการกับเรื่อง เทคนิคตางๆเพื่อตัวเองจะไดมีเวลาสนใจกับภาพมากขึ้น ผมเชื่อเหลือเกินวา การทําใหสมองซีกขวาใชงานไดดีขึ้นจะเปนการเปดมิติใหมๆในการถายภาพของคุณ และถาคุณโชคดีและมีพรสวรรคเพียงพอ ความคิดสรางสรรคจะชวยเชื่อมโยงระหวางจิตใจ ความรูสึก

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

Page 7 of 13

ประสบการณ และความมีเอกลักษณเฉพาะตัวของคุณใหปรากฏออกมาในภาพถายดวย Attached Images

20-10-2004, 06:05

Super Angulon

Member

Join Date: Oct 2004 Location: 2,300 Metres above Posts: 82

+++เพิ่มเติม+++

รายชื่อศิลปนที่ถนัดมือซาย(ซึ่งเขาใจวาเปนผูที่สมองซีกขวาทํางานไดดี) เชน Chalie Chaplin, Albert Einstein, Paul McC Cole Porter, Benjamin Franklin

มีอีกความสามารถหนึ่งที่แสดงใหเห็นถึงความสามารถของสมองซีกขวาคือ การเขียนอักษรแบบที่เรียกวา Mirror Writing เขียนแบบกลับซาย-ขวา และเริ่มเขียนจาก ขวาไปซาย ซึ่งหากเอากระจกเงาสะทอนตัวหนังสือเหลานี้แลวจึงจะมองเห็นแบบ เราคุนเคยกัน (ดูภาพประกอบ) และที่นาสนใจคือ ศิลปนที่มีชื่อเสียงทางดานการเขียนตัวหนังสือแบบ Mirror Writing Leonardo Da Vinci และอีกคนที่มีชื่อเสียงเหมือนกันก็คือ Lewis Carroll ผูแตงเรื่อง Alice’s Adventures in Wonderland วิธีการตรวจสอบวาคุณรูจักอุปกรณถายภาพของคุณดีพอจนกระทั่งสามารถสั่งงานมันไดดวยสัญชาตญาณหรือยัง ตัวคุณเองดวยคําถามเหลานี้… 1. 2. 3. 4. 5.

เลนสที่คุณใชอยูมีทิศทางการปรับโฟกัสไปทางใด ทวนเข็มหรือตามเข็มนาฬิกา วงแหวนปรับรูรับแสงและความเร็วชัตเตอร หมุนไปในทิศทางใด หากตองการใหภาพอันเดอรลง ในกรณีที่เปนกลองฟลม ระบบการวัดแสงของคุณโอเวอรหรืออันเดอรกวาที่ควรจะเปนเทาไร คุณสามารถปรับปุมตางๆในกลองไดคลองขนาดไหน ตองใชสายตาดูมันทุกครั้งหรือไม คุณใชเวลานานเทาไรในการกางขาตั้งกลองใหไดระดับ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

Page 8 of 13

6. คุณวางอุปกรณตางๆ ในกระเปากลองในตําแหนงเดิมทุกครั้งหรือไม หรือคุณใชเวลาคนหาฟลเตอรโพลาไรซที่ซุกอยูขาง เพียงใด คุณตอบคําถามเหลานี้ไดโดยไมตองใชเวลาคิดนานหรือเปลา นี่เปนเรื่องทางเทคนิคที่คุณตองไมเสียเวลากับมันมาก ดานสรางสรรคทํางานไดเต็มที่

มีการทดลองหนึ่งเกี่ยวกับภาพหัวกลับที่ทําใหสมองซีกซายงงไปเลย คือ Betty Edwards ไดใหนักศึกษามหาวิทยาลัยคนห วาดภาพลายเสนผลงานของปกัสโซ โดยวันแรกวางภาพตนฉบับตามปกติแลวนักศึกษาวาดตาม สวนวันตอมาเปลี่ยนการวาง ฉบับเปนกลับหัวแทนแลวใหนักศึกษาคนเดิมวาดอีก ผลที่ไดดูตามรูปประกอบไดเลย ทดลองกับตัวเองก็ไดครับ Attached Images

20-10-2004, 06:09

Super Angulon

Member

#6 Join Date: Oct 2004 Location: 2,300 Metres above Sea Level Posts: 82

+++ขอมูลประกอบการเขียนบทความ+++ 1. “Zen And The Art Of Seeing” โดย Roy Bishop, นิตยสาร Photographic ฉบับ September 1992 2. “Drawing On The Right Side Of The Brain” โดย Bruce Barlow, Zone VI Newsletter No.48

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

3. 4. 5. 6. 7.

Page 9 of 13

“The New Drawing On The Right Side Of The Brain” โดย Betty Edwards “Tao of Photography” โดย Philippe L. Gross “God Is At Eye Level” โดย Jan Phillips “On Being A Photographer” โดย David Hurn/Magnum and Bill Jay “On Photography” โดย Susan Sontag

บทความชิ้นนี้ ผมเรียบเรียงขึ้นเมื่อประมาณปพ .ศ. 2538 เขียนลงพิมพในนิตยสารถายภาพฉบับหนึ่ง และมา แกไขเพิ่มเติมอีกครั้งในปพ.ศ. 2547 มีบทความในรูปแบบไฟล PDF ผูสนใจสามารถติดตอไดที่พี่โกะ Attached Images

20-10-2004, 08:59

Mr.Auto

#7 Join Date: Sep 2004 Posts: 2,782

Senior Member

เยี่ยมมากเลย อานแลวนึกถึงตัวเอง รูวายังขาดอะไรไปอีกหลายอยาง ตองปรับปรุงโดยดวน เห็นรูปของ Edword Weston ที่ไร ฮือๆๆๆๆๆๆๆ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

Page 10 of 13

ทําไมมันสวยอยางนี้ฟะ สงสัยเวลาถายภาพมาโคร ตองเชิญวิญญาณ Edword Weston มาสิงรางสักหนอย จะไดถายรูปไดสวยๆ แบบนั้นบาง ขอบคุณมากคราบบบบบบ

20-10-2004, 10:56

หนุม Young Zone Senior Member

#8 Join Date: Sep 2004 Posts: 1,052

เปนบทความที่ดีมากๆ เลยครับ ขอบคุณที่สรรหามาใหพวกเราไดอานกัน

20-10-2004, 11:03

ลําดวน Member

#9 Join Date: Sep 2004 Posts: 832

เยี่ยมจิงๆ คา

20-10-2004, 11:23

salapao

Senior Member

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

#10 Join Date: Oct 2004 Posts: 122

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ 20-10-2004, 20:10

Page 11 of 13 #11

Join Date: Sep 2004 Location: ณ ถนนพระอาทิตย Posts: 434

Killer Queen Senior Member

หนูเคยไดรับบทความนี้จากพี่ super angulon กอนหนานี้หลายปแลวคะ อานทีไร ก็มีอะไรใหม ๆ ใหกับตัวเองทุกที ขอบคุณที่เอามาแบงปนอีกครั้ง

20-10-2004, 22:59

#12 Join Date: Sep 2004 Location: ใตสมุด Posts: 661

ChuVeeDoo Senior Member

ถูกใจ เจง ผมเองก็ ชอบ อานชอบฟง ที่สอน ใหคิด ฝกสมาธิ นะครับ สงสัยตองฝกลากเมาส มือซาย หรือ วาดรูป สองมือใหมัน สมมาตร กัน อะ ปาวคับ

20-10-2004, 23:50

kobee

#13 Join Date: Sep 2004 Posts: 1,687

Senior Member

สุดยอด

21-10-2004, 07:13

Super Angulon

Member

#14 Join Date: Oct 2004 Location: 2,300 Metres above Sea Level Posts: 82

Quote:

สงสัยเวลาถายภาพมาโคร ตองเชิญวิญญาณ Edword Weston มาสิงรางสักหนอย จะไดถายรูปได สวยๆ แบบนั้นบาง

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

Page 12 of 13

Edward Weston เสียชีวิตเมื่อป 1958 ดวยโรค Parkinson โดยชีวิตสวนตัวเปนคนเจาชูมาก ซึ่งเดาวาหาก แกเลือกได คงอยากสิงสถิตอยูในรางของคุณ Killer Queen มากกวา

21-10-2004, 09:48

#15 Join Date: Sep 2004 Posts: 2,782

Mr.Auto Senior Member

Quote:

Originally Posted by Super Angulon Edward Weston เสียชีวิตเมื่อป 1958 ดวยโรค Parkinson โดยชีวิตสวนตัวเปนคนเจาชูมาก ซึ่ง

เดาวาหากแกเลือกได คงอยากสิงสถิตอยูในรางของคุณ Killer Queen มากกวา

งั้นเหมาะกับเจาชุมมากกวาจริงๆ กากๆๆๆๆๆ มีใครตายคาอกแลวถายภาพเกงๆ บางมะ จะเชิญวิญญาณมาเขาสิงเวลาถายภาพ ฮิฮิฮิ

Page 1 of 2 1 2 > « Previous Thread | Next Thread »

Posting Rules You You You You

may may may may

post new threads post replies not post attachments not edit your posts

vB code is On Smilies are On [IMG] code is On HTML code is Off

Forum Jump Digital ClassRoom

Go

All times are GMT +7. The time now is 10:09.

Contact Us - The Royal Photographic Society of Thailand under The Royal Patronage of H.M. The King Archive - Top

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++

Page 13 of 13

Powered by: vBulletin Version 3.0.3 Copyright ©2000 - 2005, Jelsoft Enterprises Ltd.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

17/12/2548

Related Documents